From this page you can:
Home |
วารสารสภาการพยาบาล / สภาการพยาบาล กระทรวงสาธารณสุข . Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59Published date : 07/25/2017 |
Available articles
Add the result to your basketผลของการนวดกดจุดสะท้อนที่ฝ่าเท้าต่อความรู้สึกปวดและความรู้สึก ทุกข์ทรมานจากความปวดในผู้ป่วยโรคมะเร็ง / อุไร ยอดแก้ว in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 ([07/25/2017])
[article]
Title : ผลของการนวดกดจุดสะท้อนที่ฝ่าเท้าต่อความรู้สึกปวดและความรู้สึก ทุกข์ทรมานจากความปวดในผู้ป่วยโรคมะเร็ง Original title : Reflexology and its impact on cancer patients perception of pain and suffering from the perception of pain Material Type: printed text Authors: อุไร ยอดแก้ว, Author ; วงจันทร์ เพชรพิเชฐเชียร, Author ; วิมลรัตน์ จงเจริญ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.5-19 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.5-19Keywords: ผู้ป่วยโรคมะเร็ง.การนวด.การกดจุด.ฝ่าเท้า. Abstract: เพื่อวัดซ้ำถึงประสิทธิผลของกำรนวดกดจุดสะท้อนที่ฝ่าเท้าต่อระดับความรู้สึกปวดและความรู้สึกทุกข์ทรมานจากความปวดในผู้ป่วยโรคมะเร็ง
การออกแบบการวิจัย: เป็นกำรวิจัยเชิงทดลองกลุ่มเดี่ยว แบบวัดก่อนและหลังการทดลอง
การดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่ำงเป็นผู้ป่วยโรคมะเร็งที่มีความปวดและไม่อยู่ในระยะลุกลามที่เข้ารับการรักษาที่ศูนย์มะเร็งสุราษฎร์ธานีจำนวน 30 ราย โดยกลุ่มตัวอย่างจะได้รับการสุ่มเพื่อทำการ
นวดฝ่าเท้า 3 แบบ (three-arm randomized, crossover design) คือ การนวดแบบติดต่อกัน 3 วัน
การนวดแบบวันเว้นวัน และการนวดหลอก โดยเว้นช่วงห่าง 3 วันเพื่อศึกษาเปรียบเทียบระดับ
ความรู้สึกปวดและระดับความรู้สึกทุกข์ทรมานจากความปวดของผู้ป่วยโรคมะเร็งก่อนและหลัง
การนวด 3 แบบ วัดตัวแปรที่ศึกษา 7 ครั้ง คือ ก่อนการนวด หลังนวดทันที หลังการนวด 24, 48, 72, 96 และ 120 ชั่วโมง เก็บข้อมูลโดยวิธีปกปิดทางเดียว (single–blind technique) ใช้สถิติบรรยาย ในการรวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปโดยวิธีแจกแจงความถี่และร้อยละ ใช้คะแนนจำกค่ามัธยฐาน ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ ร่วมกับค่าเฉลี่ยของลำดับในกำรวิเครำะห์ข้อมูลระดับความรู้สึกปวด และข้อมูลระดับความรู้สึกทุกข์ทรมานจากความปวด และใช้สถิติไฟรด์แมน (Friedman’s test) ในการเปรียบเทียบระดับคะแนนความรู้สึกปวด และระดับคะแนนความรู้สึกทุกข์ทรมานจากความปวดก่อน และหลังการนวด ณ เวลาต่าง ๆ
ผลการวิจัย พบว่า ภายหลังได้รับการนวดฝ่าเท้าทั้ง 3 แบบ ระดับคะแนนความรู้สึกปวด และระดับ
คะแนนความรู้สึกทุกข์ทรมานจากความปวดลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) และภายหลังการนวดทันที หลังกำรนวด 24, 48, 72, 96 และ 120 ชั่วโมง การนวดแบบติดต่อกัน 3 วัน มีคะแนนระดับความรู้สึกปวดต่ำกว่าการนวดหลอก และการนวดแบบวันเว้นวัน ตามลำดับอย่ำงมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05)
ข้อเสนอแนะ: ในทำงปฏิบัติควรนวดแบบวันเว้นวันไปเรื่อย ๆ และควรนวดกับผู้เชี่ยวชาญด้านการนวดเพื่อคงไว้ซึ่งประสิทธิผลของการนวด และป้องกันผลข้างเคียงจากการนวดLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26788 [article] ผลของการนวดกดจุดสะท้อนที่ฝ่าเท้าต่อความรู้สึกปวดและความรู้สึก ทุกข์ทรมานจากความปวดในผู้ป่วยโรคมะเร็ง = Reflexology and its impact on cancer patients perception of pain and suffering from the perception of pain [printed text] / อุไร ยอดแก้ว, Author ; วงจันทร์ เพชรพิเชฐเชียร, Author ; วิมลรัตน์ จงเจริญ, Author . - 2017 . - p.5-19.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.5-19Keywords: ผู้ป่วยโรคมะเร็ง.การนวด.การกดจุด.ฝ่าเท้า. Abstract: เพื่อวัดซ้ำถึงประสิทธิผลของกำรนวดกดจุดสะท้อนที่ฝ่าเท้าต่อระดับความรู้สึกปวดและความรู้สึกทุกข์ทรมานจากความปวดในผู้ป่วยโรคมะเร็ง
การออกแบบการวิจัย: เป็นกำรวิจัยเชิงทดลองกลุ่มเดี่ยว แบบวัดก่อนและหลังการทดลอง
การดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่ำงเป็นผู้ป่วยโรคมะเร็งที่มีความปวดและไม่อยู่ในระยะลุกลามที่เข้ารับการรักษาที่ศูนย์มะเร็งสุราษฎร์ธานีจำนวน 30 ราย โดยกลุ่มตัวอย่างจะได้รับการสุ่มเพื่อทำการ
นวดฝ่าเท้า 3 แบบ (three-arm randomized, crossover design) คือ การนวดแบบติดต่อกัน 3 วัน
การนวดแบบวันเว้นวัน และการนวดหลอก โดยเว้นช่วงห่าง 3 วันเพื่อศึกษาเปรียบเทียบระดับ
ความรู้สึกปวดและระดับความรู้สึกทุกข์ทรมานจากความปวดของผู้ป่วยโรคมะเร็งก่อนและหลัง
การนวด 3 แบบ วัดตัวแปรที่ศึกษา 7 ครั้ง คือ ก่อนการนวด หลังนวดทันที หลังการนวด 24, 48, 72, 96 และ 120 ชั่วโมง เก็บข้อมูลโดยวิธีปกปิดทางเดียว (single–blind technique) ใช้สถิติบรรยาย ในการรวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปโดยวิธีแจกแจงความถี่และร้อยละ ใช้คะแนนจำกค่ามัธยฐาน ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ ร่วมกับค่าเฉลี่ยของลำดับในกำรวิเครำะห์ข้อมูลระดับความรู้สึกปวด และข้อมูลระดับความรู้สึกทุกข์ทรมานจากความปวด และใช้สถิติไฟรด์แมน (Friedman’s test) ในการเปรียบเทียบระดับคะแนนความรู้สึกปวด และระดับคะแนนความรู้สึกทุกข์ทรมานจากความปวดก่อน และหลังการนวด ณ เวลาต่าง ๆ
ผลการวิจัย พบว่า ภายหลังได้รับการนวดฝ่าเท้าทั้ง 3 แบบ ระดับคะแนนความรู้สึกปวด และระดับ
คะแนนความรู้สึกทุกข์ทรมานจากความปวดลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) และภายหลังการนวดทันที หลังกำรนวด 24, 48, 72, 96 และ 120 ชั่วโมง การนวดแบบติดต่อกัน 3 วัน มีคะแนนระดับความรู้สึกปวดต่ำกว่าการนวดหลอก และการนวดแบบวันเว้นวัน ตามลำดับอย่ำงมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05)
ข้อเสนอแนะ: ในทำงปฏิบัติควรนวดแบบวันเว้นวันไปเรื่อย ๆ และควรนวดกับผู้เชี่ยวชาญด้านการนวดเพื่อคงไว้ซึ่งประสิทธิผลของการนวด และป้องกันผลข้างเคียงจากการนวดLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26788 สถานการณ์คุณภาพการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง งานการพยาบาลผู้ป่วยอายุรศาสตร์โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 ([07/25/2017])
[article]
Title : สถานการณ์คุณภาพการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง งานการพยาบาลผู้ป่วยอายุรศาสตร์โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม Original title : Situation of the perfomance quality of advanced practice nurses in the medical care section, Maharaj Nakorn Chiang Mai hospital Material Type: printed text Publication Date: 2017 Article on page: p.20-37 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.20-37Keywords: ผู้ป่วยอายุรศาสตร์.คุณภาพการปฏิบัติงาน.การพยาบาลขั้นสูง. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์: เพื่ออธิบายสถานการณ์คุณภาพการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงงานการพยาบาลผู้ป่วยอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
การออกแบบการวิจัย: การศึกษาเชิงพรรณนา (descriptive study)
วิธีดำเนินการวิจัย:กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้เลือกแบบเจาะจง ประกอบด้วย ผู้บริหารทางการพยาบาล 2 คน หัวหน้าหอผู้ป่วย/หัวหน้าหน่วย 8 คน ผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง 15 คน บุคลากรด้านสุขภาพที่ปฏิบัติงานร่วมกับผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง 4 คน ผู้ป่วย 2 คน และเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติกำรพยาบาลขั้นสูง กรอบแนวคิดในการศึกษาครั้งนี้ ใช้กรอบแนวคิดคุณภาพการดูแลสุขภาพของโดนาบีเดียน เครื่องมือที่ใช้ในกำรรวบรวมข้อมูลใช้แนวคำถามแบบกึ่งโครงสร้างในการสัมภาษณ์รายบุคคลและการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนำและวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย: 1. ด้านโครงสร้าง พบว่าฝ่ายการพยาบาลมีนโยบายการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง แต่กำหนดนโยบายลงสู่การปฏิบัติในแต่ละหอผู้ป่วยมีความแตกต่างกันขึ้นอยู่กับการมอบหมายงาน บันไดความก้าวหน้ายังไม่ชัดเจน การกระจายอัตรากำลังของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงไม่เหมาะสม รูปแบบการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงมีสามรูปแบบได้แก่ ปฏิบัติงานในบทบาทเต็มเวลา ใช้เวลาบางส่วนในการปฏิบัติบทบาท และใช้เวลาส่วนตัวในการปฏิบัติบทบาท สถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงมีไม่เพียงพอ การนิเทศการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงไม่มีแนวปฏิบัติที่ชัดเจน และไม่ได้กำหนดผู้รับผิดชอบในกำรนิเทศ ค่าตอบแทนไม่เหมาะสมกับความรู้ ความสามารถ และภาระงาน 2. ด้านกระบวนการ พบว่า ผู้ปฏิบัติการพยาบาบขั้นสูงให้การดูแลผู้ป่วยตามสมรรถนะทั้ง 9 ตามที่สภาการพยาบาลกำหนด แต่จะปฏิบัติได้มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับลักษณะของผู้ป่วยที่เป็นประชากรกลุ่มเป้าหมาย และการมอบหมายงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย 3. ด้านผลลัพธ์ พบว่า การปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงทำให้เกิด ผลลัพธ์ที่ดีต่อผู้ใช้บริการ/ผู้ป่วย ต่อผู้ให้บริกำร และต่อองค์กร แต่แนวปฏิบัติในกำรติดตำมผลลัพธ์ยังไม่ชัดเจน
ข้อเสนอแนะ: สำหรับผู้บริหารทางการพยาบาล ควรกำหนดผู้รับผิดชอบดูแลผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร กำหนดบทบาทหน้าที่และความก้าวหน้าของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงแต่ละระดับให้มีความชัดเจน ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงได้ปฏิบัติบทบาทตามสมรรถนะที่สภาการพยาบาลกำหนด จัดหาปัจจัยสนับสนุนในการปฏิบัติงานและการสร้างผลงานทางวิชชาการของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง นำผลลัพธ์ที่ได้ มาใช้ในการพัฒนาคุณภาพการบริหารหรือปรับเปลี่ยนนโยบายตามความเหมาะสมLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26789 [article] สถานการณ์คุณภาพการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง งานการพยาบาลผู้ป่วยอายุรศาสตร์โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม = Situation of the perfomance quality of advanced practice nurses in the medical care section, Maharaj Nakorn Chiang Mai hospital [printed text] . - 2017 . - p.20-37.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.20-37Keywords: ผู้ป่วยอายุรศาสตร์.คุณภาพการปฏิบัติงาน.การพยาบาลขั้นสูง. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์: เพื่ออธิบายสถานการณ์คุณภาพการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงงานการพยาบาลผู้ป่วยอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
การออกแบบการวิจัย: การศึกษาเชิงพรรณนา (descriptive study)
วิธีดำเนินการวิจัย:กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้เลือกแบบเจาะจง ประกอบด้วย ผู้บริหารทางการพยาบาล 2 คน หัวหน้าหอผู้ป่วย/หัวหน้าหน่วย 8 คน ผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง 15 คน บุคลากรด้านสุขภาพที่ปฏิบัติงานร่วมกับผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง 4 คน ผู้ป่วย 2 คน และเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติกำรพยาบาลขั้นสูง กรอบแนวคิดในการศึกษาครั้งนี้ ใช้กรอบแนวคิดคุณภาพการดูแลสุขภาพของโดนาบีเดียน เครื่องมือที่ใช้ในกำรรวบรวมข้อมูลใช้แนวคำถามแบบกึ่งโครงสร้างในการสัมภาษณ์รายบุคคลและการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนำและวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย: 1. ด้านโครงสร้าง พบว่าฝ่ายการพยาบาลมีนโยบายการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง แต่กำหนดนโยบายลงสู่การปฏิบัติในแต่ละหอผู้ป่วยมีความแตกต่างกันขึ้นอยู่กับการมอบหมายงาน บันไดความก้าวหน้ายังไม่ชัดเจน การกระจายอัตรากำลังของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงไม่เหมาะสม รูปแบบการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงมีสามรูปแบบได้แก่ ปฏิบัติงานในบทบาทเต็มเวลา ใช้เวลาบางส่วนในการปฏิบัติบทบาท และใช้เวลาส่วนตัวในการปฏิบัติบทบาท สถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงมีไม่เพียงพอ การนิเทศการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงไม่มีแนวปฏิบัติที่ชัดเจน และไม่ได้กำหนดผู้รับผิดชอบในกำรนิเทศ ค่าตอบแทนไม่เหมาะสมกับความรู้ ความสามารถ และภาระงาน 2. ด้านกระบวนการ พบว่า ผู้ปฏิบัติการพยาบาบขั้นสูงให้การดูแลผู้ป่วยตามสมรรถนะทั้ง 9 ตามที่สภาการพยาบาลกำหนด แต่จะปฏิบัติได้มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับลักษณะของผู้ป่วยที่เป็นประชากรกลุ่มเป้าหมาย และการมอบหมายงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย 3. ด้านผลลัพธ์ พบว่า การปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงทำให้เกิด ผลลัพธ์ที่ดีต่อผู้ใช้บริการ/ผู้ป่วย ต่อผู้ให้บริกำร และต่อองค์กร แต่แนวปฏิบัติในกำรติดตำมผลลัพธ์ยังไม่ชัดเจน
ข้อเสนอแนะ: สำหรับผู้บริหารทางการพยาบาล ควรกำหนดผู้รับผิดชอบดูแลผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร กำหนดบทบาทหน้าที่และความก้าวหน้าของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงแต่ละระดับให้มีความชัดเจน ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงได้ปฏิบัติบทบาทตามสมรรถนะที่สภาการพยาบาลกำหนด จัดหาปัจจัยสนับสนุนในการปฏิบัติงานและการสร้างผลงานทางวิชชาการของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง นำผลลัพธ์ที่ได้ มาใช้ในการพัฒนาคุณภาพการบริหารหรือปรับเปลี่ยนนโยบายตามความเหมาะสมLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26789 ผลของโยคะนิทราต่อความเหนื่อยล้าในมารดาหลังคลอด / เยาวเรศ สมทรัพย์ in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 ([07/25/2017])
[article]
Title : ผลของโยคะนิทราต่อความเหนื่อยล้าในมารดาหลังคลอด Original title : Impact of Yoga Nidra Practice on Postpartum Women’s Fatigue Material Type: printed text Authors: เยาวเรศ สมทรัพย์, Author ; ธารางรัตน์ หาญประเสริฐพงษ์, Author ; วัชรี จงไพบูลย์พัฒนะ, Author ; กุสม พฤกษ์ภัทรานนต์, Author ; วัลภา จุทอง, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.38-49 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.38-49Keywords: โยคะนิทรา. ความเหนื่อยล้า. มารดาหลังคลอด 24 ชม. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อ (1) เปรียบเทียบระดับความเหนื่อยล้าของมารดาหลังคลอด ระหว่างก่อนและหลังปฏิบัติโยคะนิทรา และ (2) เปรียบเทียบระดับความเหนื่อยล้าของมารดาหลังคลอด ระหว่างกลุ่มที่ปฏิบัติโยคะนิทรากับกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ
การออกแบบวิจัย: วิจัยกึ่งทดลองแบบ 2 กลุ่ม วัดก่อนและหลังกำรทดลอง
วิธีดำเนินการวิจัย:กลุ่มตัวอย่างเป็นมารดาหลังคลอดในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในภาคใต้จำนวน 124 ราย แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 62 ราย เก็บข้อมูลระหว่างเดือนตุลาคม 2557 ถึงเดือนมกราคม 2558 กลุ่มทดลองจะได้รับการปฏิบัติโยคะนิทราเป็นเวลา 20 นาทีในระยะ 2 ชั่วโมงแรกหลังคลอด ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือวิจัย ได้แก่ (1) แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล และข้อมูลทำงสูติศาสตร์(2) เสียงบันทึกและคู่มือกำรปฏิบัติโยคะนิทรา ที่ผ่านการตรวจความตรงทางเนื้อหา และ (3)แบบสอบถามความเหนื่อยล้ำ มีค่าสัมประสิทธิ์ความเที่ยงของครอนบัค 0.91 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่ำเฉลี่ย ค่ำเบี่ยงเบนมาตรฐาน ไคว์สแควร์ ค่าทีคู่ และค่าทีอิสระ
ผลการวิจัย: พบว่ามารดาหลังคลอดกลุ่มที่ปฏิบัติโยคะนิทรา มีความเหนื่อยล้าหลังคลอด น้อยกว่ากลุ่มที่ไม่ได้ปฏิบัติโยคะนิทราอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 18.67, p < 0.001). และมารดาหลังคลอดกลุ่มที่ปฏิบักติโยคะนิทรามีความเหนื่อยล้าหลังปฏิบัติน้อยกว่าก่อนปฏิบัติ
(t = 6.94, p < 0.001)ซึ่งผลวิจัยครั้งนี้สะท้อนว่าการปฏิบัติโยคะนิทราช่วง 2 ชั่วโมงแรกหลังคลอด ช่วยลดความเหนื่อยล้าในมารดาหลังคลอดได้
ข้อเสนอแนะ: ควรส่งเสริมมารดาหลังคลอดปกติทุกรายปฏิบัติโยคะนิทรา เพื่อช่วยลดความเหนื่อยล้ำ และฟื้นฟูสภาพ.Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27048 [article] ผลของโยคะนิทราต่อความเหนื่อยล้าในมารดาหลังคลอด = Impact of Yoga Nidra Practice on Postpartum Women’s Fatigue [printed text] / เยาวเรศ สมทรัพย์, Author ; ธารางรัตน์ หาญประเสริฐพงษ์, Author ; วัชรี จงไพบูลย์พัฒนะ, Author ; กุสม พฤกษ์ภัทรานนต์, Author ; วัลภา จุทอง, Author . - 2017 . - p.38-49.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.38-49Keywords: โยคะนิทรา. ความเหนื่อยล้า. มารดาหลังคลอด 24 ชม. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อ (1) เปรียบเทียบระดับความเหนื่อยล้าของมารดาหลังคลอด ระหว่างก่อนและหลังปฏิบัติโยคะนิทรา และ (2) เปรียบเทียบระดับความเหนื่อยล้าของมารดาหลังคลอด ระหว่างกลุ่มที่ปฏิบัติโยคะนิทรากับกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ
การออกแบบวิจัย: วิจัยกึ่งทดลองแบบ 2 กลุ่ม วัดก่อนและหลังกำรทดลอง
วิธีดำเนินการวิจัย:กลุ่มตัวอย่างเป็นมารดาหลังคลอดในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในภาคใต้จำนวน 124 ราย แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 62 ราย เก็บข้อมูลระหว่างเดือนตุลาคม 2557 ถึงเดือนมกราคม 2558 กลุ่มทดลองจะได้รับการปฏิบัติโยคะนิทราเป็นเวลา 20 นาทีในระยะ 2 ชั่วโมงแรกหลังคลอด ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือวิจัย ได้แก่ (1) แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล และข้อมูลทำงสูติศาสตร์(2) เสียงบันทึกและคู่มือกำรปฏิบัติโยคะนิทรา ที่ผ่านการตรวจความตรงทางเนื้อหา และ (3)แบบสอบถามความเหนื่อยล้ำ มีค่าสัมประสิทธิ์ความเที่ยงของครอนบัค 0.91 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่ำเฉลี่ย ค่ำเบี่ยงเบนมาตรฐาน ไคว์สแควร์ ค่าทีคู่ และค่าทีอิสระ
ผลการวิจัย: พบว่ามารดาหลังคลอดกลุ่มที่ปฏิบัติโยคะนิทรา มีความเหนื่อยล้าหลังคลอด น้อยกว่ากลุ่มที่ไม่ได้ปฏิบัติโยคะนิทราอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 18.67, p < 0.001). และมารดาหลังคลอดกลุ่มที่ปฏิบักติโยคะนิทรามีความเหนื่อยล้าหลังปฏิบัติน้อยกว่าก่อนปฏิบัติ
(t = 6.94, p < 0.001)ซึ่งผลวิจัยครั้งนี้สะท้อนว่าการปฏิบัติโยคะนิทราช่วง 2 ชั่วโมงแรกหลังคลอด ช่วยลดความเหนื่อยล้าในมารดาหลังคลอดได้
ข้อเสนอแนะ: ควรส่งเสริมมารดาหลังคลอดปกติทุกรายปฏิบัติโยคะนิทรา เพื่อช่วยลดความเหนื่อยล้ำ และฟื้นฟูสภาพ.Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27048 ผลของโปรแกรมการให้ความรู้ในการใช้ยาต่อความฉลาดทางสุขภาพด้าน / ปิยมนต์ รัตนผ่องใส in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 ([07/25/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการให้ความรู้ในการใช้ยาต่อความฉลาดทางสุขภาพด้าน : การใช้ยาและความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ทีี่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ Original title : Impact of a medication literacy programme on uncontrolled type 2 diabetic patients's health literacy on medication and medication Material Type: printed text Authors: ปิยมนต์ รัตนผ่องใส, Author ; สุนีย์ ละกำปั่น, Author ; ปาหนัน พิชยภิญโญ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.50-62 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.50-62Keywords: ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2. โปรแกรมการให้การศึกษาในการใช้ยา.ความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยา. ความร่วมมือในการใช้ยา. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์การวิจัย: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมกำรให้การศึกษาในการใช้ยาต่อ
ความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยาและความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้
การออกแบบการวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง
การดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มารับบริการที่เครือข่ายบริการสุขภาพของโรงพยาบาลหนองเสือ 4 แห่ง กลุ่มทดลองจำนวน 29 คนได้รับโปรแกรมการให้การศึกษาในการใช้ยาจำนวน 2 ครั้ง กลุ่มควบคุมจำนวน 29 คนได้รับการดูแลตามปกติจากคลินิกโรคเรื้อรัง วิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลด้วยสถิติพรรณนำ และทดสอบสมมติฐานด้วย repeated measure ANOVA, Bonferroni และ independent t-test,
ผลการวิจัย: หลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยาดีกว่าก่อนการทดลองและดีกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value <.05) ที่ระยะติดตามผล กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยาลดลงจากหลังการทดลองแต่มากกว่าก่อนการทดลอง และไม่แตกต่างจากกลุ่มควบคุม ภายหลังการทดลองกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความร่วมมือในการใช้ยาดีกว่าก่อนการทดลอง (p-value <.05) แต่ไม่แตกต่างจากกลุ่มควบคุม ที่ระยะติดตามผล กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความร่วมมือในการใช้ยาไม่ต่างจากหลังการทดลองแต่ดีกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value <.05) แต่ไม่แตกต่างกับกลุ่มควบคุม
ข้อเสนอแนะ: พยาบาลสามารถนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้เพื่อเสริมสร้างความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยาและความร่วมมือในการใช้ยาCurricular : BNS Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27049 [article] ผลของโปรแกรมการให้ความรู้ในการใช้ยาต่อความฉลาดทางสุขภาพด้าน = Impact of a medication literacy programme on uncontrolled type 2 diabetic patients's health literacy on medication and medication : การใช้ยาและความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ทีี่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ [printed text] / ปิยมนต์ รัตนผ่องใส, Author ; สุนีย์ ละกำปั่น, Author ; ปาหนัน พิชยภิญโญ, Author . - 2017 . - p.50-62.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.50-62Keywords: ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2. โปรแกรมการให้การศึกษาในการใช้ยา.ความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยา. ความร่วมมือในการใช้ยา. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์การวิจัย: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมกำรให้การศึกษาในการใช้ยาต่อ
ความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยาและความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้
การออกแบบการวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง
การดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มารับบริการที่เครือข่ายบริการสุขภาพของโรงพยาบาลหนองเสือ 4 แห่ง กลุ่มทดลองจำนวน 29 คนได้รับโปรแกรมการให้การศึกษาในการใช้ยาจำนวน 2 ครั้ง กลุ่มควบคุมจำนวน 29 คนได้รับการดูแลตามปกติจากคลินิกโรคเรื้อรัง วิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลด้วยสถิติพรรณนำ และทดสอบสมมติฐานด้วย repeated measure ANOVA, Bonferroni และ independent t-test,
ผลการวิจัย: หลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยาดีกว่าก่อนการทดลองและดีกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value <.05) ที่ระยะติดตามผล กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยาลดลงจากหลังการทดลองแต่มากกว่าก่อนการทดลอง และไม่แตกต่างจากกลุ่มควบคุม ภายหลังการทดลองกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความร่วมมือในการใช้ยาดีกว่าก่อนการทดลอง (p-value <.05) แต่ไม่แตกต่างจากกลุ่มควบคุม ที่ระยะติดตามผล กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความร่วมมือในการใช้ยาไม่ต่างจากหลังการทดลองแต่ดีกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value <.05) แต่ไม่แตกต่างกับกลุ่มควบคุม
ข้อเสนอแนะ: พยาบาลสามารถนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้เพื่อเสริมสร้างความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยาและความร่วมมือในการใช้ยาCurricular : BNS Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27049 ผลของโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ต่อความเชื่อด้านสุขภาพ / ปิยมนต์ รัตนผ่องใส in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 ([07/25/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ต่อความเชื่อด้านสุขภาพ : พฤติกรรมสุขภาพ ปริมาณโซเดียมที่ได้รับ และระดับความดันโลหิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน Original title : Impact of a blood pressure regulating programme on health beliefs health behavior amount of sodium intake and hypertension leveld in community members with hypertension Material Type: printed text Authors: ปิยมนต์ รัตนผ่องใส, Author ; สุนีย์ ละกำปั่น, Author ; ปาหนัน พิชยภิญโญ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.63-75 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.63-75Keywords: โปรแกรมควบคุมความด้นโลหิต. ความเชื่อด้านสุขภาพ. พฤติกรรมสุขภาพ. โรคความดันโลหิตสูง. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ต่อความเชื่อด้านสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพ ปริมาณโซเดียมที่ได้รับ และระดับความดันโลหิตของผู้เป็นโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน
การออกแบบงานวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง ศึกษาสองกลุ่ม วัดผลก่อนและหลังการทดลอง
การดำเนินการวิจัย: คัดเลือกตัวอย่างตามเกณฑ์คัดเข้า จำนวน 64 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง
34 คน และกลุ่มควบคุม 30 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ประกอบด้วยการรให้ความรู้โดยใช้วิดีทัศน์ และแบบจำลองจำนวนจานอาหารสุขภาพ พร้อมแจกคู่มือกำรบริโภคอาหารจานเดียวและแผ่นพับเรื่องอาหารแลกเปลี่ยน ร่วมกับการติดตามเยี่ยมบ้าน 3 ครั้ง กลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ความเชื่อด้านสุขภาพพฤติกรรมสุขภาพเพื่อควบคุมความดันโลหิต และแบบบันทึกการรับประทานอาหารย้อนหลัง 24 ชั่วโมง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย paired t-test และ independent t-test
ผลการวิจัย: พบว่า กลุ่มทดลองภายหลังได้รับโปรแกรม มีคะแนนความเชื่อด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น
กว่าก่อนทดลอง และมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.001) มีพฤติกรรมสุขภาพดีขึ้น (p<.01) และมีค่ำเฉลี่ยของระดับความดันโลหิต น้อยกว่าก่อนได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) รวมถึงมีปริมาณโซเดียมที่ได้รับน้อยกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05)
ข้อเสนอแนะ: นำโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ไปใช้กับผู้เป็นโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน เพื่อควบคุมโรคและป้องกันกำรเกิดภาวะแทรกซ้อนLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27050 [article] ผลของโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ต่อความเชื่อด้านสุขภาพ = Impact of a blood pressure regulating programme on health beliefs health behavior amount of sodium intake and hypertension leveld in community members with hypertension : พฤติกรรมสุขภาพ ปริมาณโซเดียมที่ได้รับ และระดับความดันโลหิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน [printed text] / ปิยมนต์ รัตนผ่องใส, Author ; สุนีย์ ละกำปั่น, Author ; ปาหนัน พิชยภิญโญ, Author . - 2017 . - p.63-75.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.63-75Keywords: โปรแกรมควบคุมความด้นโลหิต. ความเชื่อด้านสุขภาพ. พฤติกรรมสุขภาพ. โรคความดันโลหิตสูง. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ต่อความเชื่อด้านสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพ ปริมาณโซเดียมที่ได้รับ และระดับความดันโลหิตของผู้เป็นโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน
การออกแบบงานวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง ศึกษาสองกลุ่ม วัดผลก่อนและหลังการทดลอง
การดำเนินการวิจัย: คัดเลือกตัวอย่างตามเกณฑ์คัดเข้า จำนวน 64 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง
34 คน และกลุ่มควบคุม 30 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ประกอบด้วยการรให้ความรู้โดยใช้วิดีทัศน์ และแบบจำลองจำนวนจานอาหารสุขภาพ พร้อมแจกคู่มือกำรบริโภคอาหารจานเดียวและแผ่นพับเรื่องอาหารแลกเปลี่ยน ร่วมกับการติดตามเยี่ยมบ้าน 3 ครั้ง กลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ความเชื่อด้านสุขภาพพฤติกรรมสุขภาพเพื่อควบคุมความดันโลหิต และแบบบันทึกการรับประทานอาหารย้อนหลัง 24 ชั่วโมง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย paired t-test และ independent t-test
ผลการวิจัย: พบว่า กลุ่มทดลองภายหลังได้รับโปรแกรม มีคะแนนความเชื่อด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น
กว่าก่อนทดลอง และมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.001) มีพฤติกรรมสุขภาพดีขึ้น (p<.01) และมีค่ำเฉลี่ยของระดับความดันโลหิต น้อยกว่าก่อนได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) รวมถึงมีปริมาณโซเดียมที่ได้รับน้อยกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05)
ข้อเสนอแนะ: นำโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ไปใช้กับผู้เป็นโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน เพื่อควบคุมโรคและป้องกันกำรเกิดภาวะแทรกซ้อนLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27050 การพัฒนารูปแบบการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุที่ต้องเข้ารับการผ่าตัด ช่องท้องแบบฉุกเฉินภายใต้การระงับความรู้สึกแบบทั่วร่างกาย in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 ([07/25/2017])
[article]
Title : การพัฒนารูปแบบการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุที่ต้องเข้ารับการผ่าตัด ช่องท้องแบบฉุกเฉินภายใต้การระงับความรู้สึกแบบทั่วร่างกาย : โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ Material Type: printed text Authors: นฐธิกานตร์ จริญรัตนเดชะกูล, Author ; พนิตตา พลาศรี, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.76-90 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.76-90Keywords: รูปแบบการพยาบาล.ผู้ป่วยอุบัติเหตุ.การผ่าตัดชอ่งท้องแบบฉุกเฉิน.การระงับความรู้สึกแบบทั่วร่างกาย. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อพัฒนารูปแบบการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุที่ต้องเข้ารับการผ่าตัดช่องท้องแบบฉุกเฉินภายใต้การระงับความรู้สึกแบบทั่วร่างกาย
การออกแบบวิจัย: การวิจัยและพัฒนา
การดำเนินการวิจัย: แบ่งการวิจัยออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ค้นหาและวิเคราะห์ปัญหา ระยะที่ 2 การพัฒนารูปแบบการพยาบาล โดยใช้กระบวนกำรปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่องด้วยแนวคิดของเดมมิ่ง กลุ่มตัวอย่ำง ได้มาจากการคัดเลือกแบบเจาะจงจำนวน 32 คน ได้แก่ พยาบาลวิสัญญีทีมพัฒนา 6 คน และพยาบาลวิสัญญีทีมผู้ทดลองใช้รูปแบบการพยาบาล 26 คน เครื่องมือวิจัย ได้แก่ 1) แนวคำถามปัญหาและอุปสรรคการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุที่เข้ารับการผ่าตัดช่องท้องแบบฉุกเฉิน 2) รูปแบบการพยาบาล และ3) แบบประเมินความคิดเห็นของทีมผู้ทดลองใช้ต่อการนำไปใช้จริง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยายและการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย: รูปแบบกำรพยาบาลที่พัฒนาขึ้น ประกอบด้วย ลำดับขั้นตอนกระบวนการพยาบาลตั้งแต่แรกรับจนถึงการติดตามตรวจเยี่ยมหลังผ่าตัด บทบาทวิชาชีพพยาบาลวิสัญญี และกิจกรรม การพยาบาล และผลความคิดเห็นภาพรวมต่อการนำไปใช้จริง พบว่า 1) รูปแบบการพยาบาลใช้ได้ผลดี ในการดูแลผู้ป่วย 2) มีความเป็นไปได้ในการนำไปสู่กำรปฏิบัติ และ 3) พึงพอใจในการนำไปใช้อยู่ในระดับมาก ร้อยละ 88.46, 61.54 และ 69.23 ตำมลำดับ นอกจากนี้ผู้ป่วย 5 รายที่ใช้รูปแบบการพยาบาล ไม่พบอุบัติการณ์ภาวะหัวใจหยุดเต้นแบบเฉียบพลันและเสียชีวิตระหว่างการให้ยาระงับความรู้สึก
ข้อเสนอแนะ: รูปแบบการพยาบาลสามารถนำมาใช้ดูแลผู้ป่วยอุบัติเหตุที่เข้ารับการผ่าตัดช่องท้องแบบฉุกเฉินภายใต้การระงับความรู้สึกแบบทั่วร่างกาย อย่างไรก็ตามยังต้องการการประเมินประสิทธิผลก่อนกำการนำไปใช้ต่อไปLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27051 [article] การพัฒนารูปแบบการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุที่ต้องเข้ารับการผ่าตัด ช่องท้องแบบฉุกเฉินภายใต้การระงับความรู้สึกแบบทั่วร่างกาย : โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ [printed text] / นฐธิกานตร์ จริญรัตนเดชะกูล, Author ; พนิตตา พลาศรี, Author . - 2017 . - p.76-90.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.76-90Keywords: รูปแบบการพยาบาล.ผู้ป่วยอุบัติเหตุ.การผ่าตัดชอ่งท้องแบบฉุกเฉิน.การระงับความรู้สึกแบบทั่วร่างกาย. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อพัฒนารูปแบบการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุที่ต้องเข้ารับการผ่าตัดช่องท้องแบบฉุกเฉินภายใต้การระงับความรู้สึกแบบทั่วร่างกาย
การออกแบบวิจัย: การวิจัยและพัฒนา
การดำเนินการวิจัย: แบ่งการวิจัยออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ค้นหาและวิเคราะห์ปัญหา ระยะที่ 2 การพัฒนารูปแบบการพยาบาล โดยใช้กระบวนกำรปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่องด้วยแนวคิดของเดมมิ่ง กลุ่มตัวอย่ำง ได้มาจากการคัดเลือกแบบเจาะจงจำนวน 32 คน ได้แก่ พยาบาลวิสัญญีทีมพัฒนา 6 คน และพยาบาลวิสัญญีทีมผู้ทดลองใช้รูปแบบการพยาบาล 26 คน เครื่องมือวิจัย ได้แก่ 1) แนวคำถามปัญหาและอุปสรรคการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุที่เข้ารับการผ่าตัดช่องท้องแบบฉุกเฉิน 2) รูปแบบการพยาบาล และ3) แบบประเมินความคิดเห็นของทีมผู้ทดลองใช้ต่อการนำไปใช้จริง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยายและการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย: รูปแบบกำรพยาบาลที่พัฒนาขึ้น ประกอบด้วย ลำดับขั้นตอนกระบวนการพยาบาลตั้งแต่แรกรับจนถึงการติดตามตรวจเยี่ยมหลังผ่าตัด บทบาทวิชาชีพพยาบาลวิสัญญี และกิจกรรม การพยาบาล และผลความคิดเห็นภาพรวมต่อการนำไปใช้จริง พบว่า 1) รูปแบบการพยาบาลใช้ได้ผลดี ในการดูแลผู้ป่วย 2) มีความเป็นไปได้ในการนำไปสู่กำรปฏิบัติ และ 3) พึงพอใจในการนำไปใช้อยู่ในระดับมาก ร้อยละ 88.46, 61.54 และ 69.23 ตำมลำดับ นอกจากนี้ผู้ป่วย 5 รายที่ใช้รูปแบบการพยาบาล ไม่พบอุบัติการณ์ภาวะหัวใจหยุดเต้นแบบเฉียบพลันและเสียชีวิตระหว่างการให้ยาระงับความรู้สึก
ข้อเสนอแนะ: รูปแบบการพยาบาลสามารถนำมาใช้ดูแลผู้ป่วยอุบัติเหตุที่เข้ารับการผ่าตัดช่องท้องแบบฉุกเฉินภายใต้การระงับความรู้สึกแบบทั่วร่างกาย อย่างไรก็ตามยังต้องการการประเมินประสิทธิผลก่อนกำการนำไปใช้ต่อไปLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27051 บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสื่อประสมเพื่อส่งเสริมการตรวจเต้านม ด้วยตนเองในนักศึกษาสายอาชีพ / ปวณา ยนพันธ์ in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 ([07/25/2017])
[article]
Title : บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสื่อประสมเพื่อส่งเสริมการตรวจเต้านม ด้วยตนเองในนักศึกษาสายอาชีพ Original title : Computer-Mediated Multimedia Breast Self-Examination Programme for Vocational Students Material Type: printed text Authors: ปวณา ยนพันธ์, Author ; จุฬารักษ์ กวีวิวิธชัย, Author ; นรีมาลย์ นีละไพจิตร, Author Publication Date: 2017 Article on page: 91-103 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - 91-103Keywords: โรคมะเร็งเต้านม. การตรวจเต้านมด้วยตนเอง.บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสื่อประสม. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อพัฒนา และศึกษาผลของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสื่อประสมต่อความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านม การตรวจเต้านมด้วยตนเอง การรับรู้ควำมสามารถของตนเอง กำรรับรู้ประโยชน์และการรับรู้อุปสรรคในการตรวจเต้านมด้วยตนเอง ทักษะปฏิบัติการตรวจเต้ำนมด้วยตนเอง
การออกแบบวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลองแบบ 2 กลุ่มวัดก่อนและหลังกำรทดลอง
วิธีดำเนินการวิจัย: การวิจัยครั้งนี้แบ่งออกเป็น 2 ระยะคือ 1) ผลิตสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์
ช่วยสอนโดยใช้แนวคิดทฤษฎีกำรส่งเสริมสุขภำพของเพนเดอร์และทฤษฎีการเรียนรู้โดยมัลติมีเดียของเมเยอร์ 2) ทดสอบผลของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มตัวอย่ำง เป็นนักศึกษาหญิงที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์คัดเข้าจำนวน 54 คน จำกวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี เป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบกลุ่มละ 27 คน กลุ่มทดลองใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสื่อประสม กลุ่มเปรียบเทียบใช้วิธีบรรยาย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป
แบบทดสอบความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านมและกำรตรวจเต้านมด้วยตนเอง แบบสอบถามการรับรู้
ความสามารถของตนเอง แบบสอบถามการรับรู้ประโยชน์และอุปสรรคในการตรวจเต้านมด้วยตนเองแบบประเมินทักษะปฏิบัติการตรวจเต้านมด้วยตนเอง และแบบประเมินความคิดเห็นต่อคุณภาพ
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และ Mann-Whitney Test
ผลการวิจัย: พบว่า บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสื่อประสมมีคุณภาพอยู่ในระดับดีถึงดีมาก
ทุกด้าน ความคิดเห็นของกลุ่มทดลองต่อคุณภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนอยู่ในระดับมาก หลังการทดลอง พบว่า กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยความแตกต่างของคะแนนหลังทดลองมากกว่าก่อนการทดลองในเรื่องความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านมและมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่ำงมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05)ส่วนค่าเฉลี่ยความแตกต่างของคะแนน ความสามารถในการตรวจเต้านมด้วยตนเอง การรับรู้ประโยชน์และการรับรู้อุปสรรค และทักษะการตรวจเต้านมระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบไม่แตกต่างกัน
ข้อเสนอแนะ: บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสื่อประสมเพื่อการตรวจเต้านมด้วยตนเอง
มีประโยชน์ในการเสริมทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ ใกล้เคียงกับกำรสอนโดยวิธีบรรยำย
สำมำรถนำมาใช้ช่วยสอน หรือร่วมกับการสอนวิธีอื่น ๆ ได้Curricular : BNS Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27052 [article] บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสื่อประสมเพื่อส่งเสริมการตรวจเต้านม ด้วยตนเองในนักศึกษาสายอาชีพ = Computer-Mediated Multimedia Breast Self-Examination Programme for Vocational Students [printed text] / ปวณา ยนพันธ์, Author ; จุฬารักษ์ กวีวิวิธชัย, Author ; นรีมาลย์ นีละไพจิตร, Author . - 2017 . - 91-103.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - 91-103Keywords: โรคมะเร็งเต้านม. การตรวจเต้านมด้วยตนเอง.บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสื่อประสม. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อพัฒนา และศึกษาผลของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสื่อประสมต่อความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านม การตรวจเต้านมด้วยตนเอง การรับรู้ควำมสามารถของตนเอง กำรรับรู้ประโยชน์และการรับรู้อุปสรรคในการตรวจเต้านมด้วยตนเอง ทักษะปฏิบัติการตรวจเต้ำนมด้วยตนเอง
การออกแบบวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลองแบบ 2 กลุ่มวัดก่อนและหลังกำรทดลอง
วิธีดำเนินการวิจัย: การวิจัยครั้งนี้แบ่งออกเป็น 2 ระยะคือ 1) ผลิตสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์
ช่วยสอนโดยใช้แนวคิดทฤษฎีกำรส่งเสริมสุขภำพของเพนเดอร์และทฤษฎีการเรียนรู้โดยมัลติมีเดียของเมเยอร์ 2) ทดสอบผลของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มตัวอย่ำง เป็นนักศึกษาหญิงที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์คัดเข้าจำนวน 54 คน จำกวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี เป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบกลุ่มละ 27 คน กลุ่มทดลองใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสื่อประสม กลุ่มเปรียบเทียบใช้วิธีบรรยาย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป
แบบทดสอบความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านมและกำรตรวจเต้านมด้วยตนเอง แบบสอบถามการรับรู้
ความสามารถของตนเอง แบบสอบถามการรับรู้ประโยชน์และอุปสรรคในการตรวจเต้านมด้วยตนเองแบบประเมินทักษะปฏิบัติการตรวจเต้านมด้วยตนเอง และแบบประเมินความคิดเห็นต่อคุณภาพ
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และ Mann-Whitney Test
ผลการวิจัย: พบว่า บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสื่อประสมมีคุณภาพอยู่ในระดับดีถึงดีมาก
ทุกด้าน ความคิดเห็นของกลุ่มทดลองต่อคุณภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนอยู่ในระดับมาก หลังการทดลอง พบว่า กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยความแตกต่างของคะแนนหลังทดลองมากกว่าก่อนการทดลองในเรื่องความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านมและมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่ำงมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05)ส่วนค่าเฉลี่ยความแตกต่างของคะแนน ความสามารถในการตรวจเต้านมด้วยตนเอง การรับรู้ประโยชน์และการรับรู้อุปสรรค และทักษะการตรวจเต้านมระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบไม่แตกต่างกัน
ข้อเสนอแนะ: บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสื่อประสมเพื่อการตรวจเต้านมด้วยตนเอง
มีประโยชน์ในการเสริมทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ ใกล้เคียงกับกำรสอนโดยวิธีบรรยำย
สำมำรถนำมาใช้ช่วยสอน หรือร่วมกับการสอนวิธีอื่น ๆ ได้Curricular : BNS Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27052 บทบาทของญาติผู้ดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลอบบประคับประคอง in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 ([07/25/2017])
[article]
Title : บทบาทของญาติผู้ดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลอบบประคับประคอง : การศึกษาเบื้องต้นเชิงคุณภาพ Original title : Role of family caregivers of palliative care patients prelimininary qualitative syudy Material Type: printed text Publication Date: 2017 Article on page: p.104-121 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.104-121Keywords: ผู้ป่วยระยะประคับประคอง.การดูแลระยะประคับประคอง.บทบาทของญาติผู้ดูแล. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาบทบาทของญาติผู้ดูแลในการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคองในสถานบริการต่าง ๆ
การออกแบบงานวิจัย: การวิจัยเชิงคุณภาพ
วิธีการดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย ญาติผู้ดูแลผู้ป่วยที่ให้การดูแลผู้ป่วยในระยะประคับประคองจำนวน 28 ราย คุณสมบัติของกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ เป็นญาติ
ผู้ดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคองในสถานบริกำรที่มีการดูแลเฉพาะ การดูแลต่อเนื่องที่บ้าน และองค์กรทางศาสนา เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย
แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลแบบสัมภาษณ์ญาติผู้ดูแลรายกลุ่มและรายบุคคล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา และการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย: ญาติผู้ดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคองส่วนใหญ่เป็นโรคมะเร็ง มีบทบาทดังนี้ 1) ผู้ให้การดูแลเพื่อตอบสนองความต้องการการดูแลของผู้ป่วย
2) ผู้ประสานงานการจัดการการดูแลในครอบครัว และ 3) ผู้ตัดสินใจเตรียมพร้อมสำหรับความตาย
ข้อเสนอแนะ: สถำนบริการที่ให้การดูแลผู้ป่วยระยะประคับประคอง เป็นแหล่งสนับสนุน
ทางสังคมที่สำคัญสำหรับผู้ป่วยระยะประคับประคองและญาติผู้ดูแล กำรเข้าใจบทบาทของ
ญาติผู้ดูแลผู้ป่วยในแต่ละสถานบริการ เป็นแนวทางในการช่วยเหลือและตอบสนองความต้องการ
ของญาติผู้ดูแลที่ให้การดูแลผู้ป่วยระยะประคับประคองLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27053 [article] บทบาทของญาติผู้ดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลอบบประคับประคอง = Role of family caregivers of palliative care patients prelimininary qualitative syudy : การศึกษาเบื้องต้นเชิงคุณภาพ [printed text] . - 2017 . - p.104-121.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.104-121Keywords: ผู้ป่วยระยะประคับประคอง.การดูแลระยะประคับประคอง.บทบาทของญาติผู้ดูแล. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาบทบาทของญาติผู้ดูแลในการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคองในสถานบริการต่าง ๆ
การออกแบบงานวิจัย: การวิจัยเชิงคุณภาพ
วิธีการดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย ญาติผู้ดูแลผู้ป่วยที่ให้การดูแลผู้ป่วยในระยะประคับประคองจำนวน 28 ราย คุณสมบัติของกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ เป็นญาติ
ผู้ดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคองในสถานบริกำรที่มีการดูแลเฉพาะ การดูแลต่อเนื่องที่บ้าน และองค์กรทางศาสนา เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย
แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลแบบสัมภาษณ์ญาติผู้ดูแลรายกลุ่มและรายบุคคล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา และการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย: ญาติผู้ดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคองส่วนใหญ่เป็นโรคมะเร็ง มีบทบาทดังนี้ 1) ผู้ให้การดูแลเพื่อตอบสนองความต้องการการดูแลของผู้ป่วย
2) ผู้ประสานงานการจัดการการดูแลในครอบครัว และ 3) ผู้ตัดสินใจเตรียมพร้อมสำหรับความตาย
ข้อเสนอแนะ: สถำนบริการที่ให้การดูแลผู้ป่วยระยะประคับประคอง เป็นแหล่งสนับสนุน
ทางสังคมที่สำคัญสำหรับผู้ป่วยระยะประคับประคองและญาติผู้ดูแล กำรเข้าใจบทบาทของ
ญาติผู้ดูแลผู้ป่วยในแต่ละสถานบริการ เป็นแนวทางในการช่วยเหลือและตอบสนองความต้องการ
ของญาติผู้ดูแลที่ให้การดูแลผู้ป่วยระยะประคับประคองLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27053 ประสบการณ์ของผู้ทำหน้าที่ตัดสินใจแทนผู้ป่วยในการตัดสินใจยุติการรักษาเพื่อยืดชีวิต: ความต้องการการช่วยเหลือจากแพทย์และพยาบาล / ปริญญา แร่ทอง in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 ([07/25/2017])
[article]
Title : ประสบการณ์ของผู้ทำหน้าที่ตัดสินใจแทนผู้ป่วยในการตัดสินใจยุติการรักษาเพื่อยืดชีวิต: ความต้องการการช่วยเหลือจากแพทย์และพยาบาล Original title : Experience of Surrogate Decision Makers in Withdrawing Life-Sustaining Treatment: Types of Help Needed from Physicians and Nurse Material Type: printed text Authors: ปริญญา แร่ทอง, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.122-133 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.122-133Keywords: ความช่วยเหลือจากแพทย์.ความช่วยเหลือจากพยาบาล.การตัดสินใจยุติการรักษาเพื่อยืดชีวิต.ประสบการณ์ผู้ทำหน้าที่การตัดสินใจยุติการรักษาเพื่อยืดชีวิต. Abstract: บทคัดย่อ : วัตถุประสงค์ของการวิจัย : เพื่อศึกษำประสบกำรณ์ของผู้ทำหน้าที่ตัดสินใจแทนผู้ป่วยในการยุติการรักษาเพื่อยืดชีวิตผู้ป่วยระยะท้าย ด้านความต้องการการช่วยเหลือจากแพทย์
และพยาบาล
การออกแบบวิจัย : การวิจัยคุณภาพเชิงปรากฏการณ์วิทยา
วิธีดำเนินการวิจัย : ผู้ให้ข้อมูลเป็นผู้ที่ทำหน้าที่ตัดสินใจแทนผู้ป่วยในการยุติการรักษาเพื่อยืดชีวิตผู้ป่วยระยะท้ายที่เข้ารักษาในหอผู้ป่วย โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
จำนวน 13 ราย คัดเลือกผู้ให้ข้อมูลหลักแบบเฉพำะเจาะจง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภำษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหาตามหลักการของโคไลซี
ผลการวิจัย : ประสบกำรณ์ของผู้ทำหน้าที่ตัดสินใจแทนผู้ป่วยในการยุติการรักษาเพื่อยืดชีวิตผู้ป่วยระยะท้าย ด้านควำมต้องการการช่วยเหลือจากแพทย์และพยาบาล ประกอบด้วย
ประเด็นดังนี้ 1) ข้อมูลและการให้คำปรึกษา โดยมีประเด็นย่อยคือ 1.1) ข้อมูลชัดเจน เพียงพอและต่อเนื่อง 1.2) การเปิดโอกาสให้ซักถามและได้รับคำตอบในสิ่งที่สงสัย 1.3) การพูด
สะท้อนคิดเพื่อให้ตัดสินใจได้ด้วยตนเอง 2) การยืดหยุ่นเวลาเยี่ยมเพื่อให้มีส่วนร่วมดูแล 3) การช่วยดูแลผู้ป่วยให้ดีที่สุด โดยมีประเด็นย่อยคือ 3.1) สุขสบายทั้งกายใจ ไม่เจ็บปวด
ทุกข์ทรมาน 3.2) เคารพในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ 3.3) ตายดี จิตวิญญาณสู่สุขคติภูมิ
ข้อเสนอแนะ : ผลกำรวิจัย สำมำรถนำมาใช้ประโยชน์สำหรับบุคลากรทีมสุขภาพ เพื่อใช้ในพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง ด้านการวางแผนเตรียมความพร้อมของ
ผู้ที่ทำหน้าที่ตัดสินใจแทนผู้ป่วยในการตัดสินใจเพื่อยุติการรักษาเพื่อยืดชีวิตผู้ป่วยระยะท้ำยที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้รับบริการ รวมทั้งนำมาใช้ในการจัดเรียนการสอนเพื่อช่วย
ให้นักศึกษาแพทย์และนักศึกษาพยาบาลให้เกิดควำมเข้าใจและรับรู้ถึงความรู้สึกแท้จริงที่เกิดขึ้นตำมปรากฏการณ์อย่างลึกซึ้งต่อไปLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27054 [article] ประสบการณ์ของผู้ทำหน้าที่ตัดสินใจแทนผู้ป่วยในการตัดสินใจยุติการรักษาเพื่อยืดชีวิต: ความต้องการการช่วยเหลือจากแพทย์และพยาบาล = Experience of Surrogate Decision Makers in Withdrawing Life-Sustaining Treatment: Types of Help Needed from Physicians and Nurse [printed text] / ปริญญา แร่ทอง, Author . - 2017 . - p.122-133.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.122-133Keywords: ความช่วยเหลือจากแพทย์.ความช่วยเหลือจากพยาบาล.การตัดสินใจยุติการรักษาเพื่อยืดชีวิต.ประสบการณ์ผู้ทำหน้าที่การตัดสินใจยุติการรักษาเพื่อยืดชีวิต. Abstract: บทคัดย่อ : วัตถุประสงค์ของการวิจัย : เพื่อศึกษำประสบกำรณ์ของผู้ทำหน้าที่ตัดสินใจแทนผู้ป่วยในการยุติการรักษาเพื่อยืดชีวิตผู้ป่วยระยะท้าย ด้านความต้องการการช่วยเหลือจากแพทย์
และพยาบาล
การออกแบบวิจัย : การวิจัยคุณภาพเชิงปรากฏการณ์วิทยา
วิธีดำเนินการวิจัย : ผู้ให้ข้อมูลเป็นผู้ที่ทำหน้าที่ตัดสินใจแทนผู้ป่วยในการยุติการรักษาเพื่อยืดชีวิตผู้ป่วยระยะท้ายที่เข้ารักษาในหอผู้ป่วย โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
จำนวน 13 ราย คัดเลือกผู้ให้ข้อมูลหลักแบบเฉพำะเจาะจง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภำษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหาตามหลักการของโคไลซี
ผลการวิจัย : ประสบกำรณ์ของผู้ทำหน้าที่ตัดสินใจแทนผู้ป่วยในการยุติการรักษาเพื่อยืดชีวิตผู้ป่วยระยะท้าย ด้านควำมต้องการการช่วยเหลือจากแพทย์และพยาบาล ประกอบด้วย
ประเด็นดังนี้ 1) ข้อมูลและการให้คำปรึกษา โดยมีประเด็นย่อยคือ 1.1) ข้อมูลชัดเจน เพียงพอและต่อเนื่อง 1.2) การเปิดโอกาสให้ซักถามและได้รับคำตอบในสิ่งที่สงสัย 1.3) การพูด
สะท้อนคิดเพื่อให้ตัดสินใจได้ด้วยตนเอง 2) การยืดหยุ่นเวลาเยี่ยมเพื่อให้มีส่วนร่วมดูแล 3) การช่วยดูแลผู้ป่วยให้ดีที่สุด โดยมีประเด็นย่อยคือ 3.1) สุขสบายทั้งกายใจ ไม่เจ็บปวด
ทุกข์ทรมาน 3.2) เคารพในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ 3.3) ตายดี จิตวิญญาณสู่สุขคติภูมิ
ข้อเสนอแนะ : ผลกำรวิจัย สำมำรถนำมาใช้ประโยชน์สำหรับบุคลากรทีมสุขภาพ เพื่อใช้ในพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง ด้านการวางแผนเตรียมความพร้อมของ
ผู้ที่ทำหน้าที่ตัดสินใจแทนผู้ป่วยในการตัดสินใจเพื่อยุติการรักษาเพื่อยืดชีวิตผู้ป่วยระยะท้ำยที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้รับบริการ รวมทั้งนำมาใช้ในการจัดเรียนการสอนเพื่อช่วย
ให้นักศึกษาแพทย์และนักศึกษาพยาบาลให้เกิดควำมเข้าใจและรับรู้ถึงความรู้สึกแท้จริงที่เกิดขึ้นตำมปรากฏการณ์อย่างลึกซึ้งต่อไปLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27054