From this page you can:
Home |
วารสารพยาบาลทหารบก / สมาคมพยาบาลทหารบก . Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017Published date : 05/23/2017 |
Available articles
Add the result to your basketการจัดการข้อมูลในการบริการสุขภาพสำหรับกลุ่มผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง / รสสคุนธ์ วาริทสกุล in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : การจัดการข้อมูลในการบริการสุขภาพสำหรับกลุ่มผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง Original title : Data management in healtcare delivery for chronic kidney disease patients Material Type: printed text Authors: รสสคุนธ์ วาริทสกุล, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.6-14 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.6-14Keywords: การจัดการข้อมูล.การบริการสุขภาพ.โรคไตเรื้อรัง.ผู้ป่วยโรตไตเรื้อรัง.Chronic kidney disease patients. Abstract: ปัจจุบัน พยาบาลมักเผชิญปัญหาในการจัดการกับข้อมูลที่เกิดจากการให้บริการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง หากพยาบาลสามารถจัดการกับข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ จะช่วยให้พยาบาลสามารถให้บริการสุขภาพที่รวดเร็ว ลดความซ้ำซ้อนทำให้เกิดการพัฒนาคุณภาพของระบบบริการสุขภาพอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ป่วยได้มากยิ่งขึ้น บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์ในการอธิบายกระบวนการจัดการกับข้อมูลที่เกิดขึ้นจากการให้บริการสุขภาพสำหรับกลุ่มผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังให้เป็นสารสนเทศทางสุขภาพที่สามารถนำไปใช้ในกระบวนการพัฒนาคุณภาพบริการต่อไป กระบวนการจัดการข้อมูลประกอบด้วย การกำหนดชุดข้อมูลจำเป็น การเก็บรวบรวมข้อมูลสุขภาพเพื่อการจัดการข้อมูล การสร้างฐานข้อมูลสุขภาพขนาดเล็ก การประมวลผลข้อมูล และการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศไปใช้เพื่อการพัฒนาคุณภาพการบริการ ดังนั้น เพื่อให้การจัดการข้อมูลสุขภาพมีความหมายและใช้ประโยชน์ได้มากขึ้น พยาบาลจะต้องให้ความสำคัญกับการเตรียมรวบรวมข้อมูล ตลอดจนขั้นตอนการจัดเก็บข้อมูลให้สอดคล้องกับวิธีที่จะวิเคราะห์ข้อมูลต่อไป Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26735 [article] การจัดการข้อมูลในการบริการสุขภาพสำหรับกลุ่มผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง = Data management in healtcare delivery for chronic kidney disease patients [printed text] / รสสคุนธ์ วาริทสกุล, Author . - 2017 . - p.6-14.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.6-14Keywords: การจัดการข้อมูล.การบริการสุขภาพ.โรคไตเรื้อรัง.ผู้ป่วยโรตไตเรื้อรัง.Chronic kidney disease patients. Abstract: ปัจจุบัน พยาบาลมักเผชิญปัญหาในการจัดการกับข้อมูลที่เกิดจากการให้บริการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง หากพยาบาลสามารถจัดการกับข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ จะช่วยให้พยาบาลสามารถให้บริการสุขภาพที่รวดเร็ว ลดความซ้ำซ้อนทำให้เกิดการพัฒนาคุณภาพของระบบบริการสุขภาพอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ป่วยได้มากยิ่งขึ้น บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์ในการอธิบายกระบวนการจัดการกับข้อมูลที่เกิดขึ้นจากการให้บริการสุขภาพสำหรับกลุ่มผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังให้เป็นสารสนเทศทางสุขภาพที่สามารถนำไปใช้ในกระบวนการพัฒนาคุณภาพบริการต่อไป กระบวนการจัดการข้อมูลประกอบด้วย การกำหนดชุดข้อมูลจำเป็น การเก็บรวบรวมข้อมูลสุขภาพเพื่อการจัดการข้อมูล การสร้างฐานข้อมูลสุขภาพขนาดเล็ก การประมวลผลข้อมูล และการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศไปใช้เพื่อการพัฒนาคุณภาพการบริการ ดังนั้น เพื่อให้การจัดการข้อมูลสุขภาพมีความหมายและใช้ประโยชน์ได้มากขึ้น พยาบาลจะต้องให้ความสำคัญกับการเตรียมรวบรวมข้อมูล ตลอดจนขั้นตอนการจัดเก็บข้อมูลให้สอดคล้องกับวิธีที่จะวิเคราะห์ข้อมูลต่อไป Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26735 ปัญหาสุขภาพจิตในกลุ่มหญิงรักหญิง / สุมนทิพย์ บุญเกิด in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : ปัญหาสุขภาพจิตในกลุ่มหญิงรักหญิง : การเลือกปฏิบัติทางเพศ Original title : Mental health problem in female homosexual gender discrimination Material Type: printed text Authors: สุมนทิพย์ บุญเกิด, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.15-21 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.15-21Keywords: สุขภาพจิต.การเลือกปฏิบัติ.เพศวิถี.หญิงรักหญิง. Abstract: กลุ่มหญิงรักหญิง ได้แก่ บุคคลที่ระบุตนเองว่าเป็นทอม ดี้ เลสเบี้ยน หรือไบเซกส์ช่วล ซึ่งล้วนแต่ถูกจัดว่าเป็นเพศวิถีของคนส่วนน้อย ต้องเผผชิญกับปัญหาพฤติกรรมการเลือกปฏิบัติในระดับองค์กร อันเนื่องมาจากความมีอคติ ความขัดแย้ง และปัญหาด้านสัมพันธภาพ ด้วยสาเหตุนี้จึงทำให้คนกลุ่มนี้มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพจิตได้ง่าย หากไม่ได้รับการแก้ไขอาจจะมีผลกระทบรุนแรง จนไม่สามารถทำงานหรือใช้ชีวิตประจำวันตามปกติ สังคมไทยควรตระหนักถึงความสำคัญของสิทธิมนุษยชน และความเท่าเทียมกันของบุคคล เพื่อลดอคติ และการใช้วาจาสร้างความเกลี่ยดชัง เพราะคนรักเพศเดียวกันนั้นไม่ได้เป็นปัญหาสังคม แต่แท้จริงแล้ว แรงกดดันจากสังคมต่างหากที่สร้างแรงกระทบและก่อปัญหาแก่คนรักเพศเดียวกัน Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26736 [article] ปัญหาสุขภาพจิตในกลุ่มหญิงรักหญิง = Mental health problem in female homosexual gender discrimination : การเลือกปฏิบัติทางเพศ [printed text] / สุมนทิพย์ บุญเกิด, Author . - 2017 . - p.15-21.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.15-21Keywords: สุขภาพจิต.การเลือกปฏิบัติ.เพศวิถี.หญิงรักหญิง. Abstract: กลุ่มหญิงรักหญิง ได้แก่ บุคคลที่ระบุตนเองว่าเป็นทอม ดี้ เลสเบี้ยน หรือไบเซกส์ช่วล ซึ่งล้วนแต่ถูกจัดว่าเป็นเพศวิถีของคนส่วนน้อย ต้องเผผชิญกับปัญหาพฤติกรรมการเลือกปฏิบัติในระดับองค์กร อันเนื่องมาจากความมีอคติ ความขัดแย้ง และปัญหาด้านสัมพันธภาพ ด้วยสาเหตุนี้จึงทำให้คนกลุ่มนี้มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพจิตได้ง่าย หากไม่ได้รับการแก้ไขอาจจะมีผลกระทบรุนแรง จนไม่สามารถทำงานหรือใช้ชีวิตประจำวันตามปกติ สังคมไทยควรตระหนักถึงความสำคัญของสิทธิมนุษยชน และความเท่าเทียมกันของบุคคล เพื่อลดอคติ และการใช้วาจาสร้างความเกลี่ยดชัง เพราะคนรักเพศเดียวกันนั้นไม่ได้เป็นปัญหาสังคม แต่แท้จริงแล้ว แรงกดดันจากสังคมต่างหากที่สร้างแรงกระทบและก่อปัญหาแก่คนรักเพศเดียวกัน Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26736 แนวโน้มการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง / ละเอียด แจ่มจันทร์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : แนวโน้มการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง : ในหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต Original title : Trend of palliative care in the Bachelor of Nursing Science Curriculum Material Type: printed text Authors: ละเอียด แจ่มจันทร์, Author ; สายสมร เฉลยกิตติ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.22-28 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.22-28Keywords: การศึกษาพยาบาล.หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต.การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง.การพยาบาลระยะสุดท้าย. Abstract: สถานการณ์ของโรคเรื้อรังของคนไทยเพิ่มขึ้น ส่งผลต่อการดูแลรักษาในระยะวิกฤต หรือมีภาวะคุกคามต่อชีวิตเมื่อผู้ป่วยเข้าสู่วาระสุดท้าย รวมทั้งการเข้าสู่สังคมผูัสูงอายุที่ความต้องการดูแลระยะยาวเพิ่มขึ้น ปี 2559 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้เริ่มชุดสิทธิประโยชน์ระบบการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาะวพึ่งพิงทั้งในโรงพยาบาลและในชุมชน ดังนั้นการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง (Palliative care)จึงเป็นแนวโน้มในการพัฒนาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต การออกแบบรายวิชาการพยาบาลแบบประคับประคอง หรือการพยาบาลระยะสุดท้าย (End of life care) ควรเป็นไปตามนิยามขององค์การอนามัยโลก และมีองค์ประกอบในการดูแลด้านร่างกาย จิตใจ สังคม จิตวิญญาณ ศาสนา วัฒนธรรม จริยธรรมและกฎหมายกระบวนการเรียนรู้ประกอบด้วยความสัมพันธ์ของ 3 ด้าน คือ ด้านผู้ป่วยและครอบครัว ด้านทีมสหวิชาชีพ และด้านการตระหนักรู้ในตนเองจัดการเรียนภาคทฤษฎีและทดลองหรือปฏิบัติ ด้วยวิธีการเรียนแบบเน้นการลงมือปฏิบัติจริง (performance based learning) Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26737 [article] แนวโน้มการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง = Trend of palliative care in the Bachelor of Nursing Science Curriculum : ในหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต [printed text] / ละเอียด แจ่มจันทร์, Author ; สายสมร เฉลยกิตติ, Author . - 2017 . - p.22-28.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.22-28Keywords: การศึกษาพยาบาล.หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต.การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง.การพยาบาลระยะสุดท้าย. Abstract: สถานการณ์ของโรคเรื้อรังของคนไทยเพิ่มขึ้น ส่งผลต่อการดูแลรักษาในระยะวิกฤต หรือมีภาวะคุกคามต่อชีวิตเมื่อผู้ป่วยเข้าสู่วาระสุดท้าย รวมทั้งการเข้าสู่สังคมผูัสูงอายุที่ความต้องการดูแลระยะยาวเพิ่มขึ้น ปี 2559 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้เริ่มชุดสิทธิประโยชน์ระบบการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาะวพึ่งพิงทั้งในโรงพยาบาลและในชุมชน ดังนั้นการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง (Palliative care)จึงเป็นแนวโน้มในการพัฒนาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต การออกแบบรายวิชาการพยาบาลแบบประคับประคอง หรือการพยาบาลระยะสุดท้าย (End of life care) ควรเป็นไปตามนิยามขององค์การอนามัยโลก และมีองค์ประกอบในการดูแลด้านร่างกาย จิตใจ สังคม จิตวิญญาณ ศาสนา วัฒนธรรม จริยธรรมและกฎหมายกระบวนการเรียนรู้ประกอบด้วยความสัมพันธ์ของ 3 ด้าน คือ ด้านผู้ป่วยและครอบครัว ด้านทีมสหวิชาชีพ และด้านการตระหนักรู้ในตนเองจัดการเรียนภาคทฤษฎีและทดลองหรือปฏิบัติ ด้วยวิธีการเรียนแบบเน้นการลงมือปฏิบัติจริง (performance based learning) Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26737 การเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริง / สมจิตต์ สินธุชัย in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : การเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริง : การนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน Original title : Fidelity simulation based learning implementation to learing and teaching management Material Type: printed text Authors: สมจิตต์ สินธุชัย, Author ; กันยารัตน์ อุบลวรรณ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.29-38 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.29-38Keywords: การจััดการเรียนการสอน.การเรียนรู้จากประสบการณ์.การเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริง. Abstract: การเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองเสือนจริง เป็นวิธีการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเองเสมือนอยู่ในสถานการณ์จริง การสรุปผลการเรียนรู้โดยการสะท้อนคิดประสบการณ์จากสถานการณ์จำลองช่วยถ่ายโยงความรู้จากทฤษฎีสู่การปฏิบัิติ ผู้เรียนได้ทำความเข้าใจ วิเคราะห์ความคิด ความรู้สึกต่อกิจกรรมที่ได้ปฏิบัติในสถานการณ์ และสรุปหลักการหรือแนวคิดที่จะนำไปประยุกต์ในสถานการณ์ใหม่ ผลลัพธ์การเรียนรู้ดังกล่าว ส่งเสริมทักษะการปฏิบัติการพยาบาล การให้เหตุผลทางการพยาบาล การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การตัดสินใจทางการพยายาล และทักษะที่ไม่ใช่การปฏิบัติการพยาบาล ได้แก่ การทำงานเป็นทีม และการสื่อสาร บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นแนวทางสำหรับการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ศถานการณ์จำลองเสมือนจริง ซึ่งสามารถนำปพัฒนาการจัดการเรียนการสอนเพื่อให้ผู้เรียนมีความมั่นใจ และมีความสามารถในการปฏิบัติพยาบาลในสถานการณ์จริงมากขึ้น Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26738 [article] การเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริง = Fidelity simulation based learning implementation to learing and teaching management : การนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน [printed text] / สมจิตต์ สินธุชัย, Author ; กันยารัตน์ อุบลวรรณ, Author . - 2017 . - p.29-38.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.29-38Keywords: การจััดการเรียนการสอน.การเรียนรู้จากประสบการณ์.การเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริง. Abstract: การเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองเสือนจริง เป็นวิธีการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเองเสมือนอยู่ในสถานการณ์จริง การสรุปผลการเรียนรู้โดยการสะท้อนคิดประสบการณ์จากสถานการณ์จำลองช่วยถ่ายโยงความรู้จากทฤษฎีสู่การปฏิบัิติ ผู้เรียนได้ทำความเข้าใจ วิเคราะห์ความคิด ความรู้สึกต่อกิจกรรมที่ได้ปฏิบัติในสถานการณ์ และสรุปหลักการหรือแนวคิดที่จะนำไปประยุกต์ในสถานการณ์ใหม่ ผลลัพธ์การเรียนรู้ดังกล่าว ส่งเสริมทักษะการปฏิบัติการพยาบาล การให้เหตุผลทางการพยาบาล การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การตัดสินใจทางการพยายาล และทักษะที่ไม่ใช่การปฏิบัติการพยาบาล ได้แก่ การทำงานเป็นทีม และการสื่อสาร บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นแนวทางสำหรับการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ศถานการณ์จำลองเสมือนจริง ซึ่งสามารถนำปพัฒนาการจัดการเรียนการสอนเพื่อให้ผู้เรียนมีความมั่นใจ และมีความสามารถในการปฏิบัติพยาบาลในสถานการณ์จริงมากขึ้น Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26738 คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว / สมลักษณ์ เทพสุริยานนท์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว Original title : Quality of life in heart failure patients Material Type: printed text Authors: สมลักษณ์ เทพสุริยานนท์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.39-45 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.39-45Keywords: คุณภาพชีวิต.ภาวะหัวใจล้มเหลว. Abstract: ภาวะหัวใจล้มเหลวเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญส่งผลกระทบต่อผู้ป่วยทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และเศรษฐกิจ ทำให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยลดลง การส่งเสริมให้ผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวมีคุณภาพชีวิตที่ดัขึ้นจึงเป็นเรื่องสำคัญ พยาบาลมีบทบาทสำคัญในการดูแลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว จึงต้องมีความเข้าใจในเรื่องคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยหัวใจล้มเหลว โดยใช้เครื่องมือที่เหมาะสมในการประเมินภาวะหัวใจล้มเหลว สามารถเลือกแนวคิดที่เกี่ยวข้องในการอธิบายคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว ตลอดจนเข้าใจปัจจัยที่ทำให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยดีขึ้น หรือลดลง และเลือกแนวทางที่เหมาะสมในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26739 [article] คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว = Quality of life in heart failure patients [printed text] / สมลักษณ์ เทพสุริยานนท์, Author . - 2017 . - p.39-45.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.39-45Keywords: คุณภาพชีวิต.ภาวะหัวใจล้มเหลว. Abstract: ภาวะหัวใจล้มเหลวเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญส่งผลกระทบต่อผู้ป่วยทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และเศรษฐกิจ ทำให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยลดลง การส่งเสริมให้ผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวมีคุณภาพชีวิตที่ดัขึ้นจึงเป็นเรื่องสำคัญ พยาบาลมีบทบาทสำคัญในการดูแลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว จึงต้องมีความเข้าใจในเรื่องคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยหัวใจล้มเหลว โดยใช้เครื่องมือที่เหมาะสมในการประเมินภาวะหัวใจล้มเหลว สามารถเลือกแนวคิดที่เกี่ยวข้องในการอธิบายคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว ตลอดจนเข้าใจปัจจัยที่ทำให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยดีขึ้น หรือลดลง และเลือกแนวทางที่เหมาะสมในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26739 การพัฒนารูปแบบการควบคุมตนเองตามแนวพุทธจิตวิทยา / สาระ มุขดี in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : การพัฒนารูปแบบการควบคุมตนเองตามแนวพุทธจิตวิทยา : สำหรับนักศึกษาพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช Original title : Development of self-regulation program based on yhe concept of buddhist psychology fot nursing students at Kuakarun Faculty of Nursing Navamindradhiraj University Material Type: printed text Authors: สาระ มุขดี, Author ; สิริวัฒน์ ศรีเครือดง, Author ; วรรณา คงสุริยะนาวิน, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.46-55 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.46-55Keywords: รูปแบบการควบคุมตนเอง.พุทธจิตวิทยา. Abstract: เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการควบคุมตนเองแนวพุทธจิดวิทยาในนักศึกษาพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์เกื่้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ดำเนินการวิจัยตามแบแผนวิจัย Two group-pre-post test กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลชั้นที่ 1 จำนวน 38 คน กลุ่มควบคุม 19 คน กลุ่มทดลอง 19 คน โดยใช่้กระบวนการปรึกษาเชิงพุทธจิตวิทยาแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบประเมินการควบคุมตนเองตามแนวพุทธจิตวิทยา ผู้วิจัยพัฒนาจากทฤษฎีการควบคุมตนเองของลีเวนทาลและจอห์สันร่วมกับหลักธรรมทางพุทธศาสนา 3 หลัก คือ สติสัมปชัญญะ หิริโอตัปปะ และขันติโสรัจจะ ค่าดัชนีความสอดคล้อง 0.94 ค่าความเที่ยงทั้งฉบับ 0.89 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ paured-test และค่าสหสัมพันธ์ ผลการศึกษา พบว่า นักศึกษากลุ่มทดลองมีคะแนนการควบคุมตนเองสูงกว่าก่อนเข้าร่วมกิจกรรมอย่างมัีนัยสำคัญทางสถิติ 0.01 ทั้งด้านสติสัมปชัญญะ ด้านหิริโอตัปปะ และด้านขันติโสรัจจะ เมื่อติดตามผลระยะ 2 เดือน พบว่า คะแนนการควบคุมตนเองมีค่าเฉลี่ยในภาพรวมคงที่ ซึ่งแสดงถึงประสิทธิผล และความคงทนของชุดกิจกรรม การวิจัยจึงสามารถสะท้อนได้ว่า รูปแบบการควบคุมตนเองตามแนวพุทธจิตวิทยาที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นสามารถใช้ในการพัฒนาการควบคุมตนเองของนักศึกษาพยาบาลได้ Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26740 [article] การพัฒนารูปแบบการควบคุมตนเองตามแนวพุทธจิตวิทยา = Development of self-regulation program based on yhe concept of buddhist psychology fot nursing students at Kuakarun Faculty of Nursing Navamindradhiraj University : สำหรับนักศึกษาพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช [printed text] / สาระ มุขดี, Author ; สิริวัฒน์ ศรีเครือดง, Author ; วรรณา คงสุริยะนาวิน, Author . - 2017 . - p.46-55.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.46-55Keywords: รูปแบบการควบคุมตนเอง.พุทธจิตวิทยา. Abstract: เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการควบคุมตนเองแนวพุทธจิดวิทยาในนักศึกษาพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์เกื่้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ดำเนินการวิจัยตามแบแผนวิจัย Two group-pre-post test กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลชั้นที่ 1 จำนวน 38 คน กลุ่มควบคุม 19 คน กลุ่มทดลอง 19 คน โดยใช่้กระบวนการปรึกษาเชิงพุทธจิตวิทยาแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบประเมินการควบคุมตนเองตามแนวพุทธจิตวิทยา ผู้วิจัยพัฒนาจากทฤษฎีการควบคุมตนเองของลีเวนทาลและจอห์สันร่วมกับหลักธรรมทางพุทธศาสนา 3 หลัก คือ สติสัมปชัญญะ หิริโอตัปปะ และขันติโสรัจจะ ค่าดัชนีความสอดคล้อง 0.94 ค่าความเที่ยงทั้งฉบับ 0.89 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ paured-test และค่าสหสัมพันธ์ ผลการศึกษา พบว่า นักศึกษากลุ่มทดลองมีคะแนนการควบคุมตนเองสูงกว่าก่อนเข้าร่วมกิจกรรมอย่างมัีนัยสำคัญทางสถิติ 0.01 ทั้งด้านสติสัมปชัญญะ ด้านหิริโอตัปปะ และด้านขันติโสรัจจะ เมื่อติดตามผลระยะ 2 เดือน พบว่า คะแนนการควบคุมตนเองมีค่าเฉลี่ยในภาพรวมคงที่ ซึ่งแสดงถึงประสิทธิผล และความคงทนของชุดกิจกรรม การวิจัยจึงสามารถสะท้อนได้ว่า รูปแบบการควบคุมตนเองตามแนวพุทธจิตวิทยาที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นสามารถใช้ในการพัฒนาการควบคุมตนเองของนักศึกษาพยาบาลได้ Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26740 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางชีวสังคม และพฤติกรรมสุขภาพกับภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ / ศกลวรรณ แก้วกลิ่น in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางชีวสังคม และพฤติกรรมสุขภาพกับภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ : ของพนักงานบริษัทไทยน้ำทิพย์ จังหวัดปทุมธานี Original title : Association between bio social factors and health behavior with dyslipidemia ampng employees of Thai Nam Thip company at Changwat Pathum Thani t Material Type: printed text Authors: ศกลวรรณ แก้วกลิ่น, Author ; สมคิด ปราบภัย, Author Publication Date: 2017 Article on page: p56-63 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p56-63Keywords: ปัจจัยทางขีวสังคม.พฤติกรรมสุขภาพ.ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ.พนักงานบริษัทไทยน้้าทิพย์. Abstract: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางชีวสังคม และพฤติกรรมสุขภาพกับภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงวิเคราะห์ การศึกษาชนิด unmatch case-control study ศึกษากับพนักงานบริษัทไทยน้ำทิพย์ จังหวัดปทุมธานี จำนวน 324 คน จำแนกเป็นกลุ่มศึกษา 162 คน และกลุ่มควบคุม 162 คน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยเชิงพรรณนา ฯ ผลการวิจัย พบว่า ปัจจัยทางชีวสังคม และพฤติกรรมสุขภาพที่มีความสัมพันธ์กับภาวะไขมันในเลือดผิดปกติของพนักงานบริษัทไทยน้ำทิพย์ จังหวัดปทุมธานี ประกอบด้วยปัจจัยเสี่ยง ได้แก่ ค่าดัชนีมวลกาย > หรือเท่ากับ 25 กก./ตรม. มีความเสี่ยงต่อภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ มากกว่าค่าดัชนีมวลกาย 18.5-22.9 กก./ตรม. ฯ การพบแพทย์เพื่อตรวจสุขภาพ 1 ครั้งต่อปี มีความเสี่ยงมากกว่าพนักงานที่ไปตรวจสุขภาพมากกว่า 2 ครั้งขึ้นไป และปัจจัยป้องกัน ได้แก่ สถานภาพโสด และสถานภาพหย่า/หม้าย มีโอกาสเกิดภาวะไขมันในเลือดลดลงกว่า สถานภาพสมรส และอยู่ร่วมกัน Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26741 [article] ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางชีวสังคม และพฤติกรรมสุขภาพกับภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ = Association between bio social factors and health behavior with dyslipidemia ampng employees of Thai Nam Thip company at Changwat Pathum Thani t : ของพนักงานบริษัทไทยน้ำทิพย์ จังหวัดปทุมธานี [printed text] / ศกลวรรณ แก้วกลิ่น, Author ; สมคิด ปราบภัย, Author . - 2017 . - p56-63.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p56-63Keywords: ปัจจัยทางขีวสังคม.พฤติกรรมสุขภาพ.ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ.พนักงานบริษัทไทยน้้าทิพย์. Abstract: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางชีวสังคม และพฤติกรรมสุขภาพกับภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงวิเคราะห์ การศึกษาชนิด unmatch case-control study ศึกษากับพนักงานบริษัทไทยน้ำทิพย์ จังหวัดปทุมธานี จำนวน 324 คน จำแนกเป็นกลุ่มศึกษา 162 คน และกลุ่มควบคุม 162 คน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยเชิงพรรณนา ฯ ผลการวิจัย พบว่า ปัจจัยทางชีวสังคม และพฤติกรรมสุขภาพที่มีความสัมพันธ์กับภาวะไขมันในเลือดผิดปกติของพนักงานบริษัทไทยน้ำทิพย์ จังหวัดปทุมธานี ประกอบด้วยปัจจัยเสี่ยง ได้แก่ ค่าดัชนีมวลกาย > หรือเท่ากับ 25 กก./ตรม. มีความเสี่ยงต่อภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ มากกว่าค่าดัชนีมวลกาย 18.5-22.9 กก./ตรม. ฯ การพบแพทย์เพื่อตรวจสุขภาพ 1 ครั้งต่อปี มีความเสี่ยงมากกว่าพนักงานที่ไปตรวจสุขภาพมากกว่า 2 ครั้งขึ้นไป และปัจจัยป้องกัน ได้แก่ สถานภาพโสด และสถานภาพหย่า/หม้าย มีโอกาสเกิดภาวะไขมันในเลือดลดลงกว่า สถานภาพสมรส และอยู่ร่วมกัน Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26741 ปัจจัยทำนายการคิดฆ่าตัวตายในวัยรุ่นชาวไทย / เบญจมาภรณ์ รุ่งสาง in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : ปัจจัยทำนายการคิดฆ่าตัวตายในวัยรุ่นชาวไทย Original title : predictiors of suicide ldeation among the adolescents Material Type: printed text Authors: เบญจมาภรณ์ รุ่งสาง, Author ; นุจรี ไชยมงคล, Author ; วรรณี เตียวอิศเรศ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.64-73 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.64-73Keywords: การคิดฆ่าตัวตาย.วัยรุ่นไทย.ปัจจัยทำนาย.พฤติกรรมการแสดงออกในทางลบ. Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26742 [article] ปัจจัยทำนายการคิดฆ่าตัวตายในวัยรุ่นชาวไทย = predictiors of suicide ldeation among the adolescents [printed text] / เบญจมาภรณ์ รุ่งสาง, Author ; นุจรี ไชยมงคล, Author ; วรรณี เตียวอิศเรศ, Author . - 2017 . - p.64-73.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.64-73Keywords: การคิดฆ่าตัวตาย.วัยรุ่นไทย.ปัจจัยทำนาย.พฤติกรรมการแสดงออกในทางลบ. Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26742 การพัฒนารูปแบบการประเมินการดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ / บุญเกิด หงวนบุญมาก in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : การพัฒนารูปแบบการประเมินการดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ : แบบมีส่วนร่วมอย่างยั่งยืน Original title : The development of an evaluation models for operation a health promotion school with sustainable participation Material Type: printed text Authors: บุญเกิด หงวนบุญมาก, Author ; สุนทรา โตบัว, Author ; วารุณี ลัภนโชคดี, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.74-82 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.74-82Keywords: โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ.การมีส่วนร่วม.รูปแบบการประเมิน. Abstract: เพื่อพัฒนารูปแบบการประเมิน และประเมินประสิทธิผลของการใช้รูปแบบการประเมินการดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพแบบมีส่วนร่วมอย่างยั่งยืน โดยใช้รูปแบบการวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม กลุ่มที่ศึกษาในการวิจัย คือ ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาาพ ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกาา ครู ผู้ปกครอง นักเรียน และตัวแทนชุมชน และผู้ทรางคุณวุฒิด้านสาธารณสุข ด้านการศึกษา และด้านการวัดและประเมินผล จำนวน 9 คน ฯ
ผลการวิจัย พบว่า A)รูปแบบที่พัฒนาขึ้น ประกอบด้วย 1) เป้าหมายของการประเมิน 2) สิ่งที่ีมุ่งประเมิน หรือองค์ประกอบของการดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพประกอบด้วย 8 องค์ประกอบ คือ นโยบายส่งเสริมสุขภาพ งบประมาณ บุคลากร การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพ การบริหารจัดการของโรงเรียน การบริการสุขภาพ การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพให้แก่นักเรียนและสุขภาวะ และพฤติกรรมสุขภาพของนักเรัยน 3)วิธีการประเมินแบบมีส่วน 4)เกณฑ์การตัดสินการประเมินเป็นเกณฑ์การตัดสินตัวชี้วัดของการดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพซึ่งมีลักษณะเป็นเกณฑ์ะระดับคุณภาพ B)ผลการประเมินประสิทธิผลของการใช้รูปแบบประเมินที่ครอบคลุมและถูกต้องตรงตามสภาพจริง C) ความเป็นประโบชน์ โดยนักเรียมีสุขภาวะทางกาย สุขภาวะทางจิต สุขภาวะทางสังคม และพฤติกรรมสุขภาพดีขึ้นหลังจากการใช้รูปแบบการประเมินการดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพแบบมีส่วนร่วมอย่างยั่งยืน
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26743 [article] การพัฒนารูปแบบการประเมินการดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ = The development of an evaluation models for operation a health promotion school with sustainable participation : แบบมีส่วนร่วมอย่างยั่งยืน [printed text] / บุญเกิด หงวนบุญมาก, Author ; สุนทรา โตบัว, Author ; วารุณี ลัภนโชคดี, Author . - 2017 . - p.74-82.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.74-82Keywords: โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ.การมีส่วนร่วม.รูปแบบการประเมิน. Abstract: เพื่อพัฒนารูปแบบการประเมิน และประเมินประสิทธิผลของการใช้รูปแบบการประเมินการดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพแบบมีส่วนร่วมอย่างยั่งยืน โดยใช้รูปแบบการวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม กลุ่มที่ศึกษาในการวิจัย คือ ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาาพ ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกาา ครู ผู้ปกครอง นักเรียน และตัวแทนชุมชน และผู้ทรางคุณวุฒิด้านสาธารณสุข ด้านการศึกษา และด้านการวัดและประเมินผล จำนวน 9 คน ฯ
ผลการวิจัย พบว่า A)รูปแบบที่พัฒนาขึ้น ประกอบด้วย 1) เป้าหมายของการประเมิน 2) สิ่งที่ีมุ่งประเมิน หรือองค์ประกอบของการดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพประกอบด้วย 8 องค์ประกอบ คือ นโยบายส่งเสริมสุขภาพ งบประมาณ บุคลากร การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพ การบริหารจัดการของโรงเรียน การบริการสุขภาพ การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพให้แก่นักเรียนและสุขภาวะ และพฤติกรรมสุขภาพของนักเรัยน 3)วิธีการประเมินแบบมีส่วน 4)เกณฑ์การตัดสินการประเมินเป็นเกณฑ์การตัดสินตัวชี้วัดของการดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพซึ่งมีลักษณะเป็นเกณฑ์ะระดับคุณภาพ B)ผลการประเมินประสิทธิผลของการใช้รูปแบบประเมินที่ครอบคลุมและถูกต้องตรงตามสภาพจริง C) ความเป็นประโบชน์ โดยนักเรียมีสุขภาวะทางกาย สุขภาวะทางจิต สุขภาวะทางสังคม และพฤติกรรมสุขภาพดีขึ้นหลังจากการใช้รูปแบบการประเมินการดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพแบบมีส่วนร่วมอย่างยั่งยืน
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26743 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมป้องกันโรคติดต่อตามแนวชายแดน / เมธี สุทธศิลป์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมป้องกันโรคติดต่อตามแนวชายแดน : ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน อำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา Material Type: printed text Authors: เมธี สุทธศิลป์, Author ; เนตรนภา สาสังข์, Author ; ทัศพร ชูศักดิ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.83-93 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.83-93Keywords: การมีส่วนร่วม.การจัดการควบคุมป้องกัน.โรคติดต่อตามแนวชายแดน.โรคติดต่อ.อสม.ประจำหมู่บ้าน. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวาง เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมป้องกันโรคติดต่อตามแนวชายแดนของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่้านอำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา กลุ่มตัวอย่าง คือ อสม.ประจำหมู่บ้าน จำนวน 240 คน ที่ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย SD Chi-square สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบมีขั้นตอน
ผลการศึกษา พบว่า อสม.มีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมโรคติดต่อตามแนวชายแดนในระดับสูงร้อยละ 13.8 ปานกลางร้อยละ 64.6 และน้อยร้อยละ 21.7 ส่วนปัจจัยที่ีมีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมป้องกันโรคติดต่อตามแนวชายแดน r=0.387 การรับรู้บทบาทหน้าที่ของอสม.ประจำหมู่บ้านในการควบคุมโรคติดต่อตามแนวชายแดน r=0.040 และการรับรู้นโยบายการควบคุมป้องกันโรคติดต่อตามแนวชายแดน r=0.012 ซึ่งปัจจัยเหล่านี้สามารถทำนายการมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมป้องกันโรคติดต่อตามแนวชายแดนได้ร้อยละ 43.8 โดยการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบมีขั้นตอน ปัจจัยด้านทัศนคติต่อการปฏิบัติงานควบคุมป้องกันโรคติดต่อตามแนวชายแดนสามารถร่วมทำนายได้สูงสุด
ผลการวิจัยครั้งนี้ มีข้อเสนอแนะให้หน่วยงานที่รับผิดชอบควรเพิ่มความรู้เกี่ยวกับนโยบายในการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคติดต่อตามแนวชายแดนให้กับ อสม.ประจำหมู่บ้านให้มากขึ้นและครอบคลุมทั้งหมดLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26744 [article] ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมป้องกันโรคติดต่อตามแนวชายแดน : ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน อำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา [printed text] / เมธี สุทธศิลป์, Author ; เนตรนภา สาสังข์, Author ; ทัศพร ชูศักดิ์, Author . - 2017 . - p.83-93.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.83-93Keywords: การมีส่วนร่วม.การจัดการควบคุมป้องกัน.โรคติดต่อตามแนวชายแดน.โรคติดต่อ.อสม.ประจำหมู่บ้าน. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวาง เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมป้องกันโรคติดต่อตามแนวชายแดนของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่้านอำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา กลุ่มตัวอย่าง คือ อสม.ประจำหมู่บ้าน จำนวน 240 คน ที่ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย SD Chi-square สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบมีขั้นตอน
ผลการศึกษา พบว่า อสม.มีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมโรคติดต่อตามแนวชายแดนในระดับสูงร้อยละ 13.8 ปานกลางร้อยละ 64.6 และน้อยร้อยละ 21.7 ส่วนปัจจัยที่ีมีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมป้องกันโรคติดต่อตามแนวชายแดน r=0.387 การรับรู้บทบาทหน้าที่ของอสม.ประจำหมู่บ้านในการควบคุมโรคติดต่อตามแนวชายแดน r=0.040 และการรับรู้นโยบายการควบคุมป้องกันโรคติดต่อตามแนวชายแดน r=0.012 ซึ่งปัจจัยเหล่านี้สามารถทำนายการมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมป้องกันโรคติดต่อตามแนวชายแดนได้ร้อยละ 43.8 โดยการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบมีขั้นตอน ปัจจัยด้านทัศนคติต่อการปฏิบัติงานควบคุมป้องกันโรคติดต่อตามแนวชายแดนสามารถร่วมทำนายได้สูงสุด
ผลการวิจัยครั้งนี้ มีข้อเสนอแนะให้หน่วยงานที่รับผิดชอบควรเพิ่มความรู้เกี่ยวกับนโยบายในการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคติดต่อตามแนวชายแดนให้กับ อสม.ประจำหมู่บ้านให้มากขึ้นและครอบคลุมทั้งหมดLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26744 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรร / สุนิสา สีผม in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรร : กับสมรรถนะพยาบาลห้องผ่าตัดในประเทศไทย Original title : Study of the relationship between selected factors and perioperative nurse's competencies in Thailand Material Type: printed text Authors: สุนิสา สีผม, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.94-103 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.94-103Keywords: ปัจจัยคัดสรร.สมรรถนะพยาบาลห้องผ่าตัด. Abstract: เพื่อศึกษาระดับสมรรถนะของพยาบาลห้องผ่าตัดในโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิและตติยภูมิในประเทศไทย ตามการรับรู้ของตนเองและศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรร กับสมรรถนะของพยาบาลห้องผ่าตัดในประเทศ กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลห้องผ่าตัดที่ปฏิบัติงานในห้องผ่าตัดโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิและตติยภูมิ เครื่องมือที่ใช้ คือแบบประเมินสมรรถนะของสมาคมพยาบาลผ่าตัดแห่งประเทศไทย ประกอบด้วยสมรรถนะ 4 ด้าน คือ สมรรถนะการดูแลความปลอดภัยผู้ป่วย การพยาบาลผู้ป่วยด้านร่างกาย การพยาบาลเพื่อตอบสนองผู้ป่วยด้านพฤติกรรม การพยาบาลด้านระบบสุขภาพ ฯ
ผลการวิจัย พบว่า พยาบาลห้องผ่าตัด จำนวน 818 คน เป็นพยาบาลวิชาชีพ และส่วนใหญ่จบป.ตรี มีประสบการณ์มากกว่า 10 ปี(ร้อยละ60) และผ่านการอบรม (ร้อยละ63.8) ส่วนใหญ่รับรู้ว่าบรรยากาศการทำงานที่ดี (ร้อยละ79.5)และมีจำนวนพยาบาลไม่เพียงพอ (ร้อยละ 76.3)การรับรู้สมรรถนะของตนเองอยู่ในระดับสูง (ร้อยละ65.8) โดยมีระดับสมรรถนะผู้เชียวชาญ ผู้ชำนาญการ และผู้มีความสามรถพอ คิดเป็นร้อยละ (65.8 24.6 และ9.5) ตามลำดับ บรรยากาศองค์กรและความเพียงพอของบุคลากรมีความสัมพันธ์ทางบวกกับสมรรถนะพยาบาลห้องผ่าตัดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p<.05 และ p<.01 ตามลำดับ
สรุปได้ว่า สมรรถนะของพยาบาลห้องผ่าตัดส่วนใหญ่อยู่ในระดับสูงทุกด้าน และปัจจัยคัดสรรองค์การและความเพียงพอของบุคลากรองค์การ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับสมรรถนะของพยาบาลห้องผ่าตัด ดังนั้นหน่วยงานหรือองค์การควรให้ความสำคัญต่อการจัดอัตรากำลังให้เพียงพอและการสร้างบรรยากาศองค์การ เพื่อการพัฒนาสมรรถนะของพยาบาลห้องผ่าตัด
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26745 [article] ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรร = Study of the relationship between selected factors and perioperative nurse's competencies in Thailand : กับสมรรถนะพยาบาลห้องผ่าตัดในประเทศไทย [printed text] / สุนิสา สีผม, Author . - 2017 . - p.94-103.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.94-103Keywords: ปัจจัยคัดสรร.สมรรถนะพยาบาลห้องผ่าตัด. Abstract: เพื่อศึกษาระดับสมรรถนะของพยาบาลห้องผ่าตัดในโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิและตติยภูมิในประเทศไทย ตามการรับรู้ของตนเองและศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรร กับสมรรถนะของพยาบาลห้องผ่าตัดในประเทศ กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลห้องผ่าตัดที่ปฏิบัติงานในห้องผ่าตัดโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิและตติยภูมิ เครื่องมือที่ใช้ คือแบบประเมินสมรรถนะของสมาคมพยาบาลผ่าตัดแห่งประเทศไทย ประกอบด้วยสมรรถนะ 4 ด้าน คือ สมรรถนะการดูแลความปลอดภัยผู้ป่วย การพยาบาลผู้ป่วยด้านร่างกาย การพยาบาลเพื่อตอบสนองผู้ป่วยด้านพฤติกรรม การพยาบาลด้านระบบสุขภาพ ฯ
ผลการวิจัย พบว่า พยาบาลห้องผ่าตัด จำนวน 818 คน เป็นพยาบาลวิชาชีพ และส่วนใหญ่จบป.ตรี มีประสบการณ์มากกว่า 10 ปี(ร้อยละ60) และผ่านการอบรม (ร้อยละ63.8) ส่วนใหญ่รับรู้ว่าบรรยากาศการทำงานที่ดี (ร้อยละ79.5)และมีจำนวนพยาบาลไม่เพียงพอ (ร้อยละ 76.3)การรับรู้สมรรถนะของตนเองอยู่ในระดับสูง (ร้อยละ65.8) โดยมีระดับสมรรถนะผู้เชียวชาญ ผู้ชำนาญการ และผู้มีความสามรถพอ คิดเป็นร้อยละ (65.8 24.6 และ9.5) ตามลำดับ บรรยากาศองค์กรและความเพียงพอของบุคลากรมีความสัมพันธ์ทางบวกกับสมรรถนะพยาบาลห้องผ่าตัดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p<.05 และ p<.01 ตามลำดับ
สรุปได้ว่า สมรรถนะของพยาบาลห้องผ่าตัดส่วนใหญ่อยู่ในระดับสูงทุกด้าน และปัจจัยคัดสรรองค์การและความเพียงพอของบุคลากรองค์การ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับสมรรถนะของพยาบาลห้องผ่าตัด ดังนั้นหน่วยงานหรือองค์การควรให้ความสำคัญต่อการจัดอัตรากำลังให้เพียงพอและการสร้างบรรยากาศองค์การ เพื่อการพัฒนาสมรรถนะของพยาบาลห้องผ่าตัด
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26745 ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลลูกจ้างชั่วคราว / บุตธะนา สุมามาลย์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลลูกจ้างชั่วคราว : โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดอุดรธานี Original title : Organizational commitment of temporary nurses in coomunity hospitals, Udonthani province Material Type: printed text Authors: บุตธะนา สุมามาลย์, Author ; นิตยา เพ็ญศิรินภา, Author ; พรทิพย์ กีระพงษ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.104-112 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.104-112Keywords: พยาบาลลูกจ้างชั่วคราว.โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดอุดรธานี.ความยึดมั่นต่อองค์การ.ความผูกพันต่อองค์การ. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ เพื่อศึกษา 1.ความผูกพันต่องค์การ 2.ปัจจัยส่วนบุคคล ลักษณะของงานและประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างการปฏิบัติงาน และ3.ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจันส่วนบุคคล ลักษณะของงานและประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างการปฏิบัติงานกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลลูกจ้างชั่วคราว ประชากรที่ศึกษา พยาบาลลูกจ้างชั่วคราวโรงพยาบาลชุมชนฯ จำนวน 222 คน กลุ่มตัวอย่าง 155 คน เลือกแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ แบบสอบถาม แบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ ข้อมูลทัั่วไป ลักษณะของงาน ประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างปฏิบัติงาน และความผูกพันต่อองค์การ ที่มีความเที่ยงอยู่ระหว่าง 0.69 ถึง 0.78
ผลการศึกษา พบว่า 1 ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.24 2 ปัจจันส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า อายุเฉลี่ย 26 ปี มีระยะเวลาการปฏิบัติงานเฉลี่ย 3 ปี ลักษณะงานโดยรวมอยู่ในระดับสูง ค่าเฉลี่ย 3.62 ประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างปฏิบัติงานโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.05 และ 3 ลักษณะของงาน โดยรวมมีความสัมพันธ์กับทางบวกในระดับต่ำกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เท่ากับ.405 ประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างปฏิบัติงาน โดยรวมมีความสัมพันธ์กับความยึดมั้นผูกพันต่อองค์การทางบวกในระดับปานกลางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เท่ากับ .629 ส่วนปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุ ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ไม่มีความสัมพันธ์กับความยึดมั่นผูกพันต่องค์การLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26746 [article] ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลลูกจ้างชั่วคราว = Organizational commitment of temporary nurses in coomunity hospitals, Udonthani province : โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดอุดรธานี [printed text] / บุตธะนา สุมามาลย์, Author ; นิตยา เพ็ญศิรินภา, Author ; พรทิพย์ กีระพงษ์, Author . - 2017 . - p.104-112.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.104-112Keywords: พยาบาลลูกจ้างชั่วคราว.โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดอุดรธานี.ความยึดมั่นต่อองค์การ.ความผูกพันต่อองค์การ. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ เพื่อศึกษา 1.ความผูกพันต่องค์การ 2.ปัจจัยส่วนบุคคล ลักษณะของงานและประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างการปฏิบัติงาน และ3.ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจันส่วนบุคคล ลักษณะของงานและประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างการปฏิบัติงานกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลลูกจ้างชั่วคราว ประชากรที่ศึกษา พยาบาลลูกจ้างชั่วคราวโรงพยาบาลชุมชนฯ จำนวน 222 คน กลุ่มตัวอย่าง 155 คน เลือกแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ แบบสอบถาม แบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ ข้อมูลทัั่วไป ลักษณะของงาน ประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างปฏิบัติงาน และความผูกพันต่อองค์การ ที่มีความเที่ยงอยู่ระหว่าง 0.69 ถึง 0.78
ผลการศึกษา พบว่า 1 ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.24 2 ปัจจันส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า อายุเฉลี่ย 26 ปี มีระยะเวลาการปฏิบัติงานเฉลี่ย 3 ปี ลักษณะงานโดยรวมอยู่ในระดับสูง ค่าเฉลี่ย 3.62 ประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างปฏิบัติงานโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.05 และ 3 ลักษณะของงาน โดยรวมมีความสัมพันธ์กับทางบวกในระดับต่ำกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เท่ากับ.405 ประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างปฏิบัติงาน โดยรวมมีความสัมพันธ์กับความยึดมั้นผูกพันต่อองค์การทางบวกในระดับปานกลางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เท่ากับ .629 ส่วนปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุ ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ไม่มีความสัมพันธ์กับความยึดมั่นผูกพันต่องค์การLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26746 ปััจัยทำนายพฤติกรรมการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบให้กับเยาวชน / จักรพันธ์ เพ็ชรภูมิ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : ปััจัยทำนายพฤติกรรมการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบให้กับเยาวชน : ของผู้ประกอบการร้านค้าปลีกในชุมชนชนบท Original title : Predicting factors of the tabacco sale to adolescents behavior in rural retailers Material Type: printed text Authors: จักรพันธ์ เพ็ชรภูมิ, Author ; ณรงค์ศักดิ์ หนูสอน, Author ; ปิยะรัตน์ นิ่มพิทักษ์พงศ์, Author ; ศันสนีย์ เมฆรุ่งเรืองวงศ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.113-121 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.113-121Keywords: ผู้ประกอบการร้านค้าปลีก.ผลิตภัณฑ์ยาสูบ.การจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ.เยาวชน.พฤติกรรมการจำหน่าย. Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26747 [article] ปััจัยทำนายพฤติกรรมการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบให้กับเยาวชน = Predicting factors of the tabacco sale to adolescents behavior in rural retailers : ของผู้ประกอบการร้านค้าปลีกในชุมชนชนบท [printed text] / จักรพันธ์ เพ็ชรภูมิ, Author ; ณรงค์ศักดิ์ หนูสอน, Author ; ปิยะรัตน์ นิ่มพิทักษ์พงศ์, Author ; ศันสนีย์ เมฆรุ่งเรืองวงศ์, Author . - 2017 . - p.113-121.
Languages : Thai (tha)ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมป้องกันนกระจกตาอักเสบของนักศึกษา / สมลักษณ์ เทพสุริยานนท์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมป้องกันนกระจกตาอักเสบของนักศึกษา : มหาวิทยาลัยที่ใส่คอนแทคเลนส์ Original title : Factors affecting keratitis preventive behavior among university students wearing contact lens Material Type: printed text Authors: สมลักษณ์ เทพสุริยานนท์, Author ; อุไรวรรณ ชัยชนะวิโรจน์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.122-130 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.122-130Keywords: กระจกตาอักเสบ.นักศึกษามหาวิทยาลัย.คอนแทคเลนส์.พฤติกรรมป้องกันกระจกตาอักเสบ. Abstract: เพื่อศึกษา 1.พฤติกรรมป้องกันนกระจกตาอักเสบของนักศึกษามหาวิทยาลัยที่ใส่คอนเทคเลนส์ และ 2. ปัจจัยที่มีิอิทธิพลต่อพฤติกรรมป้องกันกระจกตาอักเสบของนักศึกษามหาวิทยาลัยที่ใส่คอนเทคเลนส์ กลุ่มตัวอย่างคือ น.ศ.มหาวิทยาลัยที่ใส่คอนเทคเลนส์ ระดับป.ตรี ม.ของรัฐที่อยู่ในจังหวัดพิษณุโลก 3 แห่ง ปี 2558 จำนวน 400 คน เลือกคุณสมบัติที่กำหนด เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามประกอบด้วยข้อมูลทั่วไป ความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมป้องกันกระจกตาอักเสบ เจตคติเกี่ยวกับพฤติกรรมป้องกันกระจกตาอักเสบ การรับรู็เกี่ยวกับพฤติกรรมป้องกันกระจกตาอักเสบ การมีและเข้าถึงทรัพยากรที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมป้องกันกระจกตาอักเสบ การสนับสนุนทางสังคมเกี่ยวกับพฤติกรรมป้องกันกระจกตาอักเสบ และพฤติกรรมป้องกันกระจกตาอักเสบ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา สถิิติสหสัมพันธ์ของเพียร์สันและสถิติถดถอยเชิงพหุคูณแบบขั้นตอน
ผลการศึกษา พบว่า พฤติกรรมป้องกันกระจกตาอักเสบของน.ศ.มหาวิทยาลัยที่ใส่คอนเทคเลนส์อยู่ในระดับสูง ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมป้องกันกระจกตาอักเสบของนักศึกษาที่ใส่คอนเทคเลนส์ ได้แก่ เจตคติเกี่ยวกับพฤติกรรมป้องกันกระจกตาอักเสบ การมีและเข้าถึงทรัพยากรที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมป้องกันกระจกตาอักเสบ และการรับรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมป้องกันกระจกตาอักเสบ ซึ่งสามารถพยากรณ์ร่วมกันได้ร้อยละ 25.6Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26748 [article] ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมป้องกันนกระจกตาอักเสบของนักศึกษา = Factors affecting keratitis preventive behavior among university students wearing contact lens : มหาวิทยาลัยที่ใส่คอนแทคเลนส์ [printed text] / สมลักษณ์ เทพสุริยานนท์, Author ; อุไรวรรณ ชัยชนะวิโรจน์, Author . - 2017 . - p.122-130.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.122-130Keywords: กระจกตาอักเสบ.นักศึกษามหาวิทยาลัย.คอนแทคเลนส์.พฤติกรรมป้องกันกระจกตาอักเสบ. Abstract: เพื่อศึกษา 1.พฤติกรรมป้องกันนกระจกตาอักเสบของนักศึกษามหาวิทยาลัยที่ใส่คอนเทคเลนส์ และ 2. ปัจจัยที่มีิอิทธิพลต่อพฤติกรรมป้องกันกระจกตาอักเสบของนักศึกษามหาวิทยาลัยที่ใส่คอนเทคเลนส์ กลุ่มตัวอย่างคือ น.ศ.มหาวิทยาลัยที่ใส่คอนเทคเลนส์ ระดับป.ตรี ม.ของรัฐที่อยู่ในจังหวัดพิษณุโลก 3 แห่ง ปี 2558 จำนวน 400 คน เลือกคุณสมบัติที่กำหนด เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามประกอบด้วยข้อมูลทั่วไป ความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมป้องกันกระจกตาอักเสบ เจตคติเกี่ยวกับพฤติกรรมป้องกันกระจกตาอักเสบ การรับรู็เกี่ยวกับพฤติกรรมป้องกันกระจกตาอักเสบ การมีและเข้าถึงทรัพยากรที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมป้องกันกระจกตาอักเสบ การสนับสนุนทางสังคมเกี่ยวกับพฤติกรรมป้องกันกระจกตาอักเสบ และพฤติกรรมป้องกันกระจกตาอักเสบ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา สถิิติสหสัมพันธ์ของเพียร์สันและสถิติถดถอยเชิงพหุคูณแบบขั้นตอน
ผลการศึกษา พบว่า พฤติกรรมป้องกันกระจกตาอักเสบของน.ศ.มหาวิทยาลัยที่ใส่คอนเทคเลนส์อยู่ในระดับสูง ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมป้องกันกระจกตาอักเสบของนักศึกษาที่ใส่คอนเทคเลนส์ ได้แก่ เจตคติเกี่ยวกับพฤติกรรมป้องกันกระจกตาอักเสบ การมีและเข้าถึงทรัพยากรที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมป้องกันกระจกตาอักเสบ และการรับรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมป้องกันกระจกตาอักเสบ ซึ่งสามารถพยากรณ์ร่วมกันได้ร้อยละ 25.6Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26748 ปัจจัยทำนายการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่อง / วิภาภรณ์ วังวรตระกูล in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : ปัจจัยทำนายการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่อง : นผู้ป่วยความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ Original title : Factors for predicting to medication adherence among patients with essential hypertension Material Type: printed text Authors: วิภาภรณ์ วังวรตระกูล, Author ; นันทวัน สุวรรณรูป, Author ; กนกพร หมู่พยัคฆ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.131-139 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.131-139Keywords: โรคความดันโลหิตสูง.ปัจจัยทำนาย.การรับประทานยาอย่างสมำ่เสมอต่อเนื่อง.ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง. Abstract: เพื่อศึกษาอำนาจการทำนายของปัจจัยการรับรู้สมรรถนะแห่งตน การรับรู้อุปสรรคในการรับประทานยา การได้รับขอ้มูลข่าวสารเกี่ยวกับการรับประทานยา และการสื่อสารระหว่างผู้ป่วยและบุคลากรทางการแพทย์ต่อการรับประทานยาอย่างสมำ่เสมอต่อเนื่องในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ จำนวน 128 ราย ทีี่มารับบริการที่หน่วยบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิในกรุงเทพฯ และโรงพยาบาลชุมชนจังหวัดนนทบุรี เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ.
ผลการวิจัย พบว่า การรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่องในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ ส่่วนใหญ่อยู่ในระดับต่ำ ร้อยละ 61 การรับรู้สมรรถนะตนเอง การรับรู้อุปสรรคในการรับประทานยา การได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการรับประทานยา และการสื่อสารระหว่างผู้ป่วยและบุคลากรทางการแพทย์อยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 63.30,66.40,69.50 และ 69.50 ตามลำดับ สามารถร่วมกันทำนายการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่องของตัวอย่างได้ร้อยละ 21 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิิติฯ โดยพบว่า การรับรู้สมรรถนะแห่งตนสามารถทำนายได้มากที่สุด รองลงมาคือ การรับรู้อุปสรรคในการรับประทานยา.Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26749 [article] ปัจจัยทำนายการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่อง = Factors for predicting to medication adherence among patients with essential hypertension : นผู้ป่วยความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ [printed text] / วิภาภรณ์ วังวรตระกูล, Author ; นันทวัน สุวรรณรูป, Author ; กนกพร หมู่พยัคฆ์, Author . - 2017 . - p.131-139.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.131-139Keywords: โรคความดันโลหิตสูง.ปัจจัยทำนาย.การรับประทานยาอย่างสมำ่เสมอต่อเนื่อง.ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง. Abstract: เพื่อศึกษาอำนาจการทำนายของปัจจัยการรับรู้สมรรถนะแห่งตน การรับรู้อุปสรรคในการรับประทานยา การได้รับขอ้มูลข่าวสารเกี่ยวกับการรับประทานยา และการสื่อสารระหว่างผู้ป่วยและบุคลากรทางการแพทย์ต่อการรับประทานยาอย่างสมำ่เสมอต่อเนื่องในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ จำนวน 128 ราย ทีี่มารับบริการที่หน่วยบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิในกรุงเทพฯ และโรงพยาบาลชุมชนจังหวัดนนทบุรี เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ.
ผลการวิจัย พบว่า การรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่องในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ ส่่วนใหญ่อยู่ในระดับต่ำ ร้อยละ 61 การรับรู้สมรรถนะตนเอง การรับรู้อุปสรรคในการรับประทานยา การได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการรับประทานยา และการสื่อสารระหว่างผู้ป่วยและบุคลากรทางการแพทย์อยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 63.30,66.40,69.50 และ 69.50 ตามลำดับ สามารถร่วมกันทำนายการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่องของตัวอย่างได้ร้อยละ 21 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิิติฯ โดยพบว่า การรับรู้สมรรถนะแห่งตนสามารถทำนายได้มากที่สุด รองลงมาคือ การรับรู้อุปสรรคในการรับประทานยา.Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26749 ผลของมาตรการการควบคุมยาสูบโดยสื่อภาพคำเตือนบนซองบุหรี่ / กุมารีรัตน์ ถาวรจิตร in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : ผลของมาตรการการควบคุมยาสูบโดยสื่อภาพคำเตือนบนซองบุหรี่ : ขนาด85% ต่อการรับรู้และอารมร์ของกำลังพลกองพันนักเรียน โรงเรียนทหารสื่อสาร Original title : Result of 85% Color graphic warning pictures tabacco control measure on perception and emotions of army personnel in militaty signal school Material Type: printed text Authors: กุมารีรัตน์ ถาวรจิตร, Author ; ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ, Author ; นิทัศน์ ศิริโชติรัตน์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.140-147 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.140-147Keywords: มาตราการควบคุมยาสูบ.พฤติกรรมการสูบบุหรี่.ภาพคำเตือนบนซองบุหรี่ขนาด 85% Abstract: เป็นการวิจัยเชิงสำรวจแบบตัดขวาง เพื่อศึกษามาตรการ การควบคุมยาสูบโดยสื่อภาพคำเตือนบนซองบุหรีขนาด 80% ต่อพฤฒิกรรมการสูบบุหรี่ของกองกำลังพลกองพันนักเรียน โรงเรียนทหารสื่อสารปี จำนวน 211 ราย เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ chi-square สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณ และการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสคิก
ผลการวิจัย พบว่า ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับมาตรควบคุมยาสูบโดยสื่อภาพคำเตือนบนซองบุหรีขนาด 85% ในภาพรวมมีผลอยู่ในระดับปานกลาง การทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะประชากร พบว่า โรคประจำตัวมีความสัมพันธ์กับระดับการรับรู้ว่าบุหรี่มีผลกระทบต่อสุขภาพอย่างมีนัียสำคัญทางสถิติ (P<0.05) และอายุมีความสัมพันธ์กับระดับความไม่อยากสูบหรือสัมผัสกลิ่่นบุหรี่ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05)รวมทั้งปัจจัยมาตรการการควบคุมยาสูบโดยสื่อภาพคำเตือนบนซองบุหรี่ขนาด 85% ได้แก่ อารมณ์กลัวต่อภาพคำเตือน การรับรู้ถึงผลกระทบต่อสุขภาพ การรับรู้ถึงความไม่อยากสูบหรือสัมผัสกลิ่่นบุหรี่ และการรับรู้ถึงโอกาสเสี่ยงที่จะเป็นเหมือนในภาพมีความสัมพันธ์กับพฤคิกรรมการสูบบุหรี่ ส่วนปัจจัยความคิดเห็นต่อภาพคำเตือนบนซองบุหรี่ และความไม่อยากสูบบุหรี หรือสัมผัสกลิ่นบุหรี่สามารถร่วมกันทำนายโอกาสเสี่ยงต่อการมีพฤติกรรมการสูบบุหรีได้ร้อยละ 79% ข้อเสนอแนะคือ ภาพเตือนบนซองบุหรี่ทีี่แสดงให้เห็นถึงอาการแสดงของโรค และความเสี่ยงต่อการเกิดโรคจากอันตรายที่ได้รับจากการสูบบุหรี่โดยเฉพาะภาพสูบบุหรี่ทำให้เป็นมะเร็งปอดควรคงไว้ และขนาดภาพคำเตือนที่เพิ่มขั้นเป็น 85% ของพื้นที่ซองเป็นมาตรการทีมีความเหมาะสมในการสร้่างการรับรู้ถึงอันตรยของบุหรี่ต่อสุขภาพและสร้างความจดจำภาพได้ดีมากขึ้นส่งผลต่อพฤติกรรมการเลิกสูบบุหรี่ได้Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26750 [article] ผลของมาตรการการควบคุมยาสูบโดยสื่อภาพคำเตือนบนซองบุหรี่ = Result of 85% Color graphic warning pictures tabacco control measure on perception and emotions of army personnel in militaty signal school : ขนาด85% ต่อการรับรู้และอารมร์ของกำลังพลกองพันนักเรียน โรงเรียนทหารสื่อสาร [printed text] / กุมารีรัตน์ ถาวรจิตร, Author ; ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ, Author ; นิทัศน์ ศิริโชติรัตน์, Author . - 2017 . - p.140-147.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.140-147Keywords: มาตราการควบคุมยาสูบ.พฤติกรรมการสูบบุหรี่.ภาพคำเตือนบนซองบุหรี่ขนาด 85% Abstract: เป็นการวิจัยเชิงสำรวจแบบตัดขวาง เพื่อศึกษามาตรการ การควบคุมยาสูบโดยสื่อภาพคำเตือนบนซองบุหรีขนาด 80% ต่อพฤฒิกรรมการสูบบุหรี่ของกองกำลังพลกองพันนักเรียน โรงเรียนทหารสื่อสารปี จำนวน 211 ราย เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ chi-square สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณ และการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสคิก
ผลการวิจัย พบว่า ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับมาตรควบคุมยาสูบโดยสื่อภาพคำเตือนบนซองบุหรีขนาด 85% ในภาพรวมมีผลอยู่ในระดับปานกลาง การทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะประชากร พบว่า โรคประจำตัวมีความสัมพันธ์กับระดับการรับรู้ว่าบุหรี่มีผลกระทบต่อสุขภาพอย่างมีนัียสำคัญทางสถิติ (P<0.05) และอายุมีความสัมพันธ์กับระดับความไม่อยากสูบหรือสัมผัสกลิ่่นบุหรี่ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05)รวมทั้งปัจจัยมาตรการการควบคุมยาสูบโดยสื่อภาพคำเตือนบนซองบุหรี่ขนาด 85% ได้แก่ อารมณ์กลัวต่อภาพคำเตือน การรับรู้ถึงผลกระทบต่อสุขภาพ การรับรู้ถึงความไม่อยากสูบหรือสัมผัสกลิ่่นบุหรี่ และการรับรู้ถึงโอกาสเสี่ยงที่จะเป็นเหมือนในภาพมีความสัมพันธ์กับพฤคิกรรมการสูบบุหรี่ ส่วนปัจจัยความคิดเห็นต่อภาพคำเตือนบนซองบุหรี่ และความไม่อยากสูบบุหรี หรือสัมผัสกลิ่นบุหรี่สามารถร่วมกันทำนายโอกาสเสี่ยงต่อการมีพฤติกรรมการสูบบุหรีได้ร้อยละ 79% ข้อเสนอแนะคือ ภาพเตือนบนซองบุหรี่ทีี่แสดงให้เห็นถึงอาการแสดงของโรค และความเสี่ยงต่อการเกิดโรคจากอันตรายที่ได้รับจากการสูบบุหรี่โดยเฉพาะภาพสูบบุหรี่ทำให้เป็นมะเร็งปอดควรคงไว้ และขนาดภาพคำเตือนที่เพิ่มขั้นเป็น 85% ของพื้นที่ซองเป็นมาตรการทีมีความเหมาะสมในการสร้่างการรับรู้ถึงอันตรยของบุหรี่ต่อสุขภาพและสร้างความจดจำภาพได้ดีมากขึ้นส่งผลต่อพฤติกรรมการเลิกสูบบุหรี่ได้Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26750 ผลของกิจกรรมเสริมทักษะต่อความรู้ และความมั่นใจ / ศรินรัตน์ วัฒนธรนันท์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : ผลของกิจกรรมเสริมทักษะต่อความรู้ และความมั่นใจ : ของนักศึกษาพยาบาลในการขึ้นฝึกปฏิบัติการพยาบาลในรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 2 Material Type: printed text Authors: ศรินรัตน์ วัฒนธรนันท์, Author ; นันทิยา แสงทรงฤทธิ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.157-166 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.157-166Keywords: กิจกรรมเสริมทักษะ.ความรู้ในการฝึกปฏิบัติ.ความมั่นใจในการฝึกปฏิบัติ.นักศึกษาพยาบาล. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อเปรียบเทียบความรู้ ความมั่นใจของนักศึกษาพยาบาลก่อนและหลังเข้าร่วมกิจกรรมเสริมทักษะการปฏิบัติการพยาบาลตามปกติ จำนวน 184 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติทดสอบ pair t-test และศึกษาเปรียบเทียบความรู้ ความมั่นใจของนักศึกษาพยาบาลในการขึ้นฝึกปฏิบัติวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 2 ระหว่างกลุ่มนักศึกษาพยาบาลที่เข้าร่วมกิจกรรมเสริมทักษะการปฏิบัติการพยาบาลร่วมกับการทำแผนผังความคิดและกลุ่มนักศึกษาพยาบาลที่เข้าร่วมกิจกรรมเสริมทักษะการปฏิบัติการพยาบาลตามปกติ โดยจัดกิจกรรมเสริมทักษะการปฏิบัติการพยาบาลให้่แก่นักศึกษาพยาบาลทั้งสองกลุ่มพร้อมกันก่อนการขึ้นฝึกปฏิบัติงานในรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 2 ซึ่งกลุ่มทดลอง เป็นนักศึกษาพยาบาลที่ขึ้นฝึกปฏิบัติการพยาบาลในช่วง 8 สัปดาห์แรกของรายวิชา ให้นักศึกษาทำแผนผังความคิดสรุปความรู้ที่ได้จากการเสริมทักษะการปฏิบัติการพยาบาลในแต่ละหัวข้อ จำนวน 92 คน ส่วนกลุ่มควบคุม เป็นนักศึกษาพยาบาลที่ขึ้นฝึกปฏิบัติการพยาบาลในช่วง 8 สัปดาห์หลังของรายวิชา จำนวน 92 คน และเมื่อเสร็จสิ้นการฝึกให้นักศึกษาจัดทำแนผังความคิดสรุปความรู้ของแต่ละแหล่งฝึกก่อนการสอบ (OSCE Objective structured clinical examination) วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ independent t-test
ผลการวิจัย พบว่า
คะแนนความรู้และความมั่นใจในการปฏิบัติการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาล ก่อนและหลังการร่วมกิจกรรมเสริมทักษะการปฏิบัติการพยาบาลตามปกติ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p=.000) และ (p=.000) ตามลำดับ
คะแนนความรู้และคะแนนความมั่นใจในการปฏิบัติการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาล ภายหลังเสร็จสิ้่นการเรียนวิชาการปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผูเ้สูงอายุ 2 ระหว่างกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p=.000) และ (p=.003) ตามลำดับ
ผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่า การจัดกิจกรรมเสริมทักษะการปฏิบัติการพยาบาลร่วมกับการจัดทำแผรผังสรุปความคิดให้แก่นักศึกษาพยาบาลก่อนการขึ้นฝึกปฏิบัติการพยาบาลในรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 2 มีส่วนช่วยให้นักศึกษามีึความรู้ และความมั่นใจในการฝึกปฏิบัติมากยิ่งขึ้น
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26751 [article] ผลของกิจกรรมเสริมทักษะต่อความรู้ และความมั่นใจ : ของนักศึกษาพยาบาลในการขึ้นฝึกปฏิบัติการพยาบาลในรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 2 [printed text] / ศรินรัตน์ วัฒนธรนันท์, Author ; นันทิยา แสงทรงฤทธิ์, Author . - 2017 . - p.157-166.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.157-166Keywords: กิจกรรมเสริมทักษะ.ความรู้ในการฝึกปฏิบัติ.ความมั่นใจในการฝึกปฏิบัติ.นักศึกษาพยาบาล. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อเปรียบเทียบความรู้ ความมั่นใจของนักศึกษาพยาบาลก่อนและหลังเข้าร่วมกิจกรรมเสริมทักษะการปฏิบัติการพยาบาลตามปกติ จำนวน 184 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติทดสอบ pair t-test และศึกษาเปรียบเทียบความรู้ ความมั่นใจของนักศึกษาพยาบาลในการขึ้นฝึกปฏิบัติวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 2 ระหว่างกลุ่มนักศึกษาพยาบาลที่เข้าร่วมกิจกรรมเสริมทักษะการปฏิบัติการพยาบาลร่วมกับการทำแผนผังความคิดและกลุ่มนักศึกษาพยาบาลที่เข้าร่วมกิจกรรมเสริมทักษะการปฏิบัติการพยาบาลตามปกติ โดยจัดกิจกรรมเสริมทักษะการปฏิบัติการพยาบาลให้่แก่นักศึกษาพยาบาลทั้งสองกลุ่มพร้อมกันก่อนการขึ้นฝึกปฏิบัติงานในรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 2 ซึ่งกลุ่มทดลอง เป็นนักศึกษาพยาบาลที่ขึ้นฝึกปฏิบัติการพยาบาลในช่วง 8 สัปดาห์แรกของรายวิชา ให้นักศึกษาทำแผนผังความคิดสรุปความรู้ที่ได้จากการเสริมทักษะการปฏิบัติการพยาบาลในแต่ละหัวข้อ จำนวน 92 คน ส่วนกลุ่มควบคุม เป็นนักศึกษาพยาบาลที่ขึ้นฝึกปฏิบัติการพยาบาลในช่วง 8 สัปดาห์หลังของรายวิชา จำนวน 92 คน และเมื่อเสร็จสิ้นการฝึกให้นักศึกษาจัดทำแนผังความคิดสรุปความรู้ของแต่ละแหล่งฝึกก่อนการสอบ (OSCE Objective structured clinical examination) วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ independent t-test
ผลการวิจัย พบว่า
คะแนนความรู้และความมั่นใจในการปฏิบัติการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาล ก่อนและหลังการร่วมกิจกรรมเสริมทักษะการปฏิบัติการพยาบาลตามปกติ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p=.000) และ (p=.000) ตามลำดับ
คะแนนความรู้และคะแนนความมั่นใจในการปฏิบัติการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาล ภายหลังเสร็จสิ้่นการเรียนวิชาการปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผูเ้สูงอายุ 2 ระหว่างกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p=.000) และ (p=.003) ตามลำดับ
ผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่า การจัดกิจกรรมเสริมทักษะการปฏิบัติการพยาบาลร่วมกับการจัดทำแผรผังสรุปความคิดให้แก่นักศึกษาพยาบาลก่อนการขึ้นฝึกปฏิบัติการพยาบาลในรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 2 มีส่วนช่วยให้นักศึกษามีึความรู้ และความมั่นใจในการฝึกปฏิบัติมากยิ่งขึ้น
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26751 ผลของการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันท่อช่วยหายใจเลื่อนหลุด / วิภารัตน์ นาวารัตน์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : ผลของการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันท่อช่วยหายใจเลื่อนหลุด : โดยไม่ได้วางแผนต่ออัตราการเลื่อนหลุดของท่อช่วยหายใจ ในหอผู้ป่วยอายุรกรรม โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า Original title : Effect of PMK unplanned extubation prevention program on extubation rate in medical wards Phramongkutklao hospital Material Type: printed text Authors: วิภารัตน์ นาวารัตน์, Author ; พนมพร พฤทธิพงศ์พันธุ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.167-175 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.167-175Keywords: แนวปฏิบัติการพยาบาล.การเลื่อนหลุดของท่อช่วยหายใจโดยไม่ได้วางแผน. Abstract: เป็นการศึกษาเชิงพรรณนา เพื่อศึกษาอัตราการเกิดท่อช่วยหายใจเลื่อนหลุด โดยไม่ได้วางแผนภายหลังการใช้ PMK: Unplanned extubation prevention program โดยแนวปฏิบัติประกอบด้วย 2 หมวด 1 ประเมินความเสี่ยงการเลื่อนหลุดของท่อช่วยหายใจ และ 2 การพยาบาลเพื่อป้องกัน UF ประกอบด้วย 1) การให้ข้อมูล 2) การสื่อสาร 3) การยึดตรึงท่อช่วยหายใจ และ 4)การผูกยึดร่างกาย คณะผู้วิจัยจัดทำโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการแก่พยาบาลวิชาชีพ และนำแนวปฏิบัติไปใช้กับกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 205 คน (1 มีนาคม ถึง 30 กันยายน 2558)
ผลการวิจัย พบว่า การประเมินความเสี่ยงการเลื่อนหลุดของท่อช่วยหายใจปฏิบัติได้ร้อยละ 98.5 การให้ข้อมูลปฏิบัติได้ร้อยละ 96.3 การสื่อสารปฏิบัติได้ร้อยละ 88.7 การยึดตรึงท่อช่วยหายใจปฏิบัติได้ร้อยละ 89.2 และการผูกยึดติดปฏิบัติได้ร้อยละ 66.6 เกิด UE จำนวน 8 ราย คิดเป็น 1.43 ครั้งต่อ 1000 วัน ใส่เครื่องช่วยหายใจ ดังนั้นการนำ PMK: Unplanned extubation prevention program มาใช้ในการดูแลบุคลากรทางพยาบาลต้องมีความตระหนัก เคร่งครัดในการป้องกัน จึงจะทำให้การดูแลผู้ป่วยใส่ท่อช่วยหายใจได้มาตรฐานและเกิดผลลัพธ์ที่ดีLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26752 [article] ผลของการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันท่อช่วยหายใจเลื่อนหลุด = Effect of PMK unplanned extubation prevention program on extubation rate in medical wards Phramongkutklao hospital : โดยไม่ได้วางแผนต่ออัตราการเลื่อนหลุดของท่อช่วยหายใจ ในหอผู้ป่วยอายุรกรรม โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า [printed text] / วิภารัตน์ นาวารัตน์, Author ; พนมพร พฤทธิพงศ์พันธุ์, Author . - 2017 . - p.167-175.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.167-175Keywords: แนวปฏิบัติการพยาบาล.การเลื่อนหลุดของท่อช่วยหายใจโดยไม่ได้วางแผน. Abstract: เป็นการศึกษาเชิงพรรณนา เพื่อศึกษาอัตราการเกิดท่อช่วยหายใจเลื่อนหลุด โดยไม่ได้วางแผนภายหลังการใช้ PMK: Unplanned extubation prevention program โดยแนวปฏิบัติประกอบด้วย 2 หมวด 1 ประเมินความเสี่ยงการเลื่อนหลุดของท่อช่วยหายใจ และ 2 การพยาบาลเพื่อป้องกัน UF ประกอบด้วย 1) การให้ข้อมูล 2) การสื่อสาร 3) การยึดตรึงท่อช่วยหายใจ และ 4)การผูกยึดร่างกาย คณะผู้วิจัยจัดทำโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการแก่พยาบาลวิชาชีพ และนำแนวปฏิบัติไปใช้กับกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 205 คน (1 มีนาคม ถึง 30 กันยายน 2558)
ผลการวิจัย พบว่า การประเมินความเสี่ยงการเลื่อนหลุดของท่อช่วยหายใจปฏิบัติได้ร้อยละ 98.5 การให้ข้อมูลปฏิบัติได้ร้อยละ 96.3 การสื่อสารปฏิบัติได้ร้อยละ 88.7 การยึดตรึงท่อช่วยหายใจปฏิบัติได้ร้อยละ 89.2 และการผูกยึดติดปฏิบัติได้ร้อยละ 66.6 เกิด UE จำนวน 8 ราย คิดเป็น 1.43 ครั้งต่อ 1000 วัน ใส่เครื่องช่วยหายใจ ดังนั้นการนำ PMK: Unplanned extubation prevention program มาใช้ในการดูแลบุคลากรทางพยาบาลต้องมีความตระหนัก เคร่งครัดในการป้องกัน จึงจะทำให้การดูแลผู้ป่วยใส่ท่อช่วยหายใจได้มาตรฐานและเกิดผลลัพธ์ที่ดีLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26752 ผลการใช้วิธีการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลลัพธ์ (STAD) ในรายวิชาสถิติประยุกต์ต่อพัฒนาการผู้เรียนและทักษะการทำงานเป็นทีม / อารีย์วรรณ อ่วมตานี in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : ผลการใช้วิธีการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลลัพธ์ (STAD) ในรายวิชาสถิติประยุกต์ต่อพัฒนาการผู้เรียนและทักษะการทำงานเป็นทีม : ของนิสิตหลักสูตรพยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต Original title : Effect of using student team achievement division (STAD) in applied statistics course on learning achievement and team work skill of Master's degree students in nursing science Material Type: printed text Authors: อารีย์วรรณ อ่วมตานี, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.176-185 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.176-185Keywords: ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน.ทักษะการทำงานเป็นทีม.การสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และทักษะการทำงานเป็นทีมในรายวิชาสถิติประยุกต์ ใช้วิธีการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์ (STAD) กลุ่ม ตย. นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 34 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองหลังได้รับการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กับกลุ่มทดลองหลังได้รับการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์มีคะแนนทักษะการทำงานเป็นทีม
ผลการวิจัย พบว่า
กลุ่มทดลองหลังได้รับการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (คะแนนพัฒนาการของผู้เรียนดีกว่ากลุ่มควบคุมที่ได้รับการสอนแบบปกติ.
กลุ่มทดลองหลังได้รับการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์มีคะแนนทักษะการทำงานเป็นทีม ดีกว่ากลุ่มควบคุมที่ได้รับการสอนแบบปกติ
ข้อเสนอแนะ จากการวิจัยชี้ให้เห็นว่า การสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์สามารถเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (คะแนนพัฒนาการของผู้เรียน) และทักษะการทำงานเป็นทีมได้ดีกว่าการเรียนแบบปกติ จึงควรนำรูปแบบการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์ไปประยุกต์ใช้ในรายวิชาอื่น ๆ
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26753 [article] ผลการใช้วิธีการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลลัพธ์ (STAD) ในรายวิชาสถิติประยุกต์ต่อพัฒนาการผู้เรียนและทักษะการทำงานเป็นทีม = Effect of using student team achievement division (STAD) in applied statistics course on learning achievement and team work skill of Master's degree students in nursing science : ของนิสิตหลักสูตรพยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต [printed text] / อารีย์วรรณ อ่วมตานี, Author . - 2017 . - p.176-185.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.176-185Keywords: ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน.ทักษะการทำงานเป็นทีม.การสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และทักษะการทำงานเป็นทีมในรายวิชาสถิติประยุกต์ ใช้วิธีการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์ (STAD) กลุ่ม ตย. นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 34 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองหลังได้รับการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กับกลุ่มทดลองหลังได้รับการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์มีคะแนนทักษะการทำงานเป็นทีม
ผลการวิจัย พบว่า
กลุ่มทดลองหลังได้รับการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (คะแนนพัฒนาการของผู้เรียนดีกว่ากลุ่มควบคุมที่ได้รับการสอนแบบปกติ.
กลุ่มทดลองหลังได้รับการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์มีคะแนนทักษะการทำงานเป็นทีม ดีกว่ากลุ่มควบคุมที่ได้รับการสอนแบบปกติ
ข้อเสนอแนะ จากการวิจัยชี้ให้เห็นว่า การสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์สามารถเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (คะแนนพัฒนาการของผู้เรียน) และทักษะการทำงานเป็นทีมได้ดีกว่าการเรียนแบบปกติ จึงควรนำรูปแบบการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์ไปประยุกต์ใช้ในรายวิชาอื่น ๆ
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26753 ผลของการฝึกติดตามแนวทางโยนิโสมนสิกาในแบบวิภัชชวาทด้วยการถามตอบ / อุดมวรรณ วันศรี in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : ผลของการฝึกติดตามแนวทางโยนิโสมนสิกาในแบบวิภัชชวาทด้วยการถามตอบ : ต่อการเรียนรู้ทางจริยศาสตร์ของนักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีั สรรพสิทธิประสงค์ Original title : The effects of Vipatchavart in Yonisomanasilara on academic achievement of ethics course among nursing students at Boromarajonani college of nursing Sanpasithiprasong Material Type: printed text Authors: อุดมวรรณ วันศรี, Author ; วรภรณ์ บุญจีม, Author ; ณัฐรินทร์ สกุลนิธิวัฒน์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.186-193 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.186-193Keywords: โยโสมนสิการ.วิภัชชวาทการเรียนรู้จริยศาสตร์. Abstract: เพื่อศึกษาผลของการฝึิกคิดตามแนวทางโยโสมนสิการ ในแบบวิภัชชวาทการถามตอบต่อการเรียนรู้วิชาจริยศาสตร์ของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 2ก. รุ่นที่ 43 จำนวน 74 คน ระหว่างวันที่ 27 มีนาคม ถึง เมษายน 2557 เครื่องมือที่ใช้ แบบสอบถามและใบงานตรวจสอบคุณภาพโดยอาจารย์พยาบาล 1 คน และนักศึกษาพยาบาล 3 คน เก็บรวบรวมข้อมูด้วยการให้นักศึกษาตอบแบบสอบถามและเอกสารผลการเรียนรู้ตามใบงานและคำถามปลายเปิดด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า นศ. มีผลรวมคะแนนเฉลี่ยการเรียนรู้จริยศาสตร์อยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.47 SD. 82 และผลจากการวิเคราะห์เนื้อหา พบว่า นศ. มีวิธีการเรียนรู้จริยศาสตร์ 2 วิธี คือ A. วิธีการถามตอบ (แบบอย่างเดียว แง่เดียว แบบแยกแยะ แบบย้อนถาม) B. รูปแบบการคิดหลากหลาย (การคิดอย่างเป็นระบบ คิดอย่างมีเหตุผล คิดอย่างรอบคอบทุกแง่ทุกมุม คิดวิเคราะห์และคิดอย่างลึกซึ้ง) และผลการศึกษายังพบว่า นศ. เรีบนรู็เกี่ยวกับทฤษฎีจริยศาสตร์ หลักจริยธรรมวิชาชีพ และจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยแสดงว่าการนำแนวทางการถามตอบตามแบบวิภัชชวาทมาเป็นส่วนหนึ่งในการจัดการเรียนการสอนวิชาจริยศาสตร์และกฎหมายวิชาชีพ ทำให้นักศึกษาเรียนรู้การฝึกคิดวิเคราะห์และเชื่อมโยงได้Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26754 [article] ผลของการฝึกติดตามแนวทางโยนิโสมนสิกาในแบบวิภัชชวาทด้วยการถามตอบ = The effects of Vipatchavart in Yonisomanasilara on academic achievement of ethics course among nursing students at Boromarajonani college of nursing Sanpasithiprasong : ต่อการเรียนรู้ทางจริยศาสตร์ของนักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีั สรรพสิทธิประสงค์ [printed text] / อุดมวรรณ วันศรี, Author ; วรภรณ์ บุญจีม, Author ; ณัฐรินทร์ สกุลนิธิวัฒน์, Author . - 2017 . - p.186-193.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.186-193Keywords: โยโสมนสิการ.วิภัชชวาทการเรียนรู้จริยศาสตร์. Abstract: เพื่อศึกษาผลของการฝึิกคิดตามแนวทางโยโสมนสิการ ในแบบวิภัชชวาทการถามตอบต่อการเรียนรู้วิชาจริยศาสตร์ของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 2ก. รุ่นที่ 43 จำนวน 74 คน ระหว่างวันที่ 27 มีนาคม ถึง เมษายน 2557 เครื่องมือที่ใช้ แบบสอบถามและใบงานตรวจสอบคุณภาพโดยอาจารย์พยาบาล 1 คน และนักศึกษาพยาบาล 3 คน เก็บรวบรวมข้อมูด้วยการให้นักศึกษาตอบแบบสอบถามและเอกสารผลการเรียนรู้ตามใบงานและคำถามปลายเปิดด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า นศ. มีผลรวมคะแนนเฉลี่ยการเรียนรู้จริยศาสตร์อยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.47 SD. 82 และผลจากการวิเคราะห์เนื้อหา พบว่า นศ. มีวิธีการเรียนรู้จริยศาสตร์ 2 วิธี คือ A. วิธีการถามตอบ (แบบอย่างเดียว แง่เดียว แบบแยกแยะ แบบย้อนถาม) B. รูปแบบการคิดหลากหลาย (การคิดอย่างเป็นระบบ คิดอย่างมีเหตุผล คิดอย่างรอบคอบทุกแง่ทุกมุม คิดวิเคราะห์และคิดอย่างลึกซึ้ง) และผลการศึกษายังพบว่า นศ. เรีบนรู็เกี่ยวกับทฤษฎีจริยศาสตร์ หลักจริยธรรมวิชาชีพ และจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยแสดงว่าการนำแนวทางการถามตอบตามแบบวิภัชชวาทมาเป็นส่วนหนึ่งในการจัดการเรียนการสอนวิชาจริยศาสตร์และกฎหมายวิชาชีพ ทำให้นักศึกษาเรียนรู้การฝึกคิดวิเคราะห์และเชื่อมโยงได้Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26754 การตัดสินใจเชิงจริยธรรมในการปฏิบัติการพยาบาลที่เกี่ยวข้องกับความเสี่ยงของพยาบาลไทยตามการรับรู้ของผู้บริหารทางการพยาบาล / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : การตัดสินใจเชิงจริยธรรมในการปฏิบัติการพยาบาลที่เกี่ยวข้องกับความเสี่ยงของพยาบาลไทยตามการรับรู้ของผู้บริหารทางการพยาบาล Original title : Ethical judement in risks of nursing practice among Thai nurses as perceived by nursing administrators Material Type: printed text Authors: เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Author ; สายสมร เฉลยกิตติ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.194-195 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.194-195Keywords: การตัดสินใจเชิงจริยธรรม.ความเสี่ยงในการปฏิบัติการพยาบาล.การรับรู้ของผู้บริหา่รการพยาบาล. Abstract: เพื่อศึกษาประเด็นจริยธรรมที่เกี่ยวกับความเสี่ยงและการตัดสินใจเชิงจริยธรรมที่เกี่ยวกับความเสี่ยงในการปฏิบัติการพยาบาลของพยาบาลตามการรับรู้ของบริหารทางการพยาบาลการออกแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนด ผู้บริหารทางการพยาบาลที่เต็มใจเข้าร่วมการศึกษานี้จำนวน 36 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสนทนากลุ่มพร้อมศึกษารายงานการบันทึกกรณีศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการวิเคราะหฺข้อมูลเชิงผลการวิจัย พบว่า ผลจริยธรรมวิชาชีพที่เกี่ยวกับความเสี่ยงที่พยาบาลส่วนใหญ่ปฏิบัติขณะทำงานในบทบาท หน้าที่ พยาบาลตามมุมมองของผู้บริหารทางการพยาบาลมีจำนวน 7 ประเด็น ความสำคัญตามลำดับ คือ ประเด็นจริยธรรมที่มีความเสี่ยงด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1) การให้ข้อมูลการสื่อสาร 2 การประเมินอาการไม่ถูกต้องและไม่ทันเวลา 3การบริหารยาไม่ถูกต้อง 4 การบริการไม่ถูกใจ ล่าช้า และพฤจติกรรมไม่เหมาะสม 5 การส่งต่อล่าช้า 6 การผูกมัด 7 การพลัดตก และพฤติกรรมจริยธรรมที่นำไปใช้ในการปฏิบัติในการพยาบาลที่ใช้ ได้แก่ 1 การบอกความจริง 2 การป้องกันอันตราย 3 พิทักษ์สิทธิผู้ป่วย 4 ความซื่อสัตน์ 5 ความอาทรต่อผู้ป่วย 6 การเป็นอิสระในการตัดสินใจ 7 การเสียสละ 8 การมีพฤติกรรมการบริการและมีใจบริการที่ดัี 9 การดูแลผู้ป่วยอย่างเท่าเทียมและไม่เลือกปฏิบัติ 10 ความรับผิดขอบและ 11 การรักษาความลับจากข้อมูลที่ได้จากการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า พยาบาลไทนมีความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพที่มีความเสี่ยงในการปฏิบัติงานและมีการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
ข้อเสนอแนะ ผู้บริหารทางการพยาบาลสามารถใช้ข้อมูลจากการศึกษานี้ไปใช้ในการวางแผนการพัฒนาและส่งเสริมให้พยาบาลในการสร้างความเข้าใจในการจัดการเชิงจริยธรรมที่มีความเสี่ยงสูง เพื่อลดปัญหาการปฏิบัติการพยาบาลและส่งเสริมให้พยายาลเข้าใจกระบวนการตัดสินใจที่เหมาะสมต่อไป
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26756 [article] การตัดสินใจเชิงจริยธรรมในการปฏิบัติการพยาบาลที่เกี่ยวข้องกับความเสี่ยงของพยาบาลไทยตามการรับรู้ของผู้บริหารทางการพยาบาล = Ethical judement in risks of nursing practice among Thai nurses as perceived by nursing administrators [printed text] / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Author ; สายสมร เฉลยกิตติ, Author . - 2017 . - p.194-195.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.194-195Keywords: การตัดสินใจเชิงจริยธรรม.ความเสี่ยงในการปฏิบัติการพยาบาล.การรับรู้ของผู้บริหา่รการพยาบาล. Abstract: เพื่อศึกษาประเด็นจริยธรรมที่เกี่ยวกับความเสี่ยงและการตัดสินใจเชิงจริยธรรมที่เกี่ยวกับความเสี่ยงในการปฏิบัติการพยาบาลของพยาบาลตามการรับรู้ของบริหารทางการพยาบาลการออกแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนด ผู้บริหารทางการพยาบาลที่เต็มใจเข้าร่วมการศึกษานี้จำนวน 36 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสนทนากลุ่มพร้อมศึกษารายงานการบันทึกกรณีศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการวิเคราะหฺข้อมูลเชิงผลการวิจัย พบว่า ผลจริยธรรมวิชาชีพที่เกี่ยวกับความเสี่ยงที่พยาบาลส่วนใหญ่ปฏิบัติขณะทำงานในบทบาท หน้าที่ พยาบาลตามมุมมองของผู้บริหารทางการพยาบาลมีจำนวน 7 ประเด็น ความสำคัญตามลำดับ คือ ประเด็นจริยธรรมที่มีความเสี่ยงด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1) การให้ข้อมูลการสื่อสาร 2 การประเมินอาการไม่ถูกต้องและไม่ทันเวลา 3การบริหารยาไม่ถูกต้อง 4 การบริการไม่ถูกใจ ล่าช้า และพฤจติกรรมไม่เหมาะสม 5 การส่งต่อล่าช้า 6 การผูกมัด 7 การพลัดตก และพฤติกรรมจริยธรรมที่นำไปใช้ในการปฏิบัติในการพยาบาลที่ใช้ ได้แก่ 1 การบอกความจริง 2 การป้องกันอันตราย 3 พิทักษ์สิทธิผู้ป่วย 4 ความซื่อสัตน์ 5 ความอาทรต่อผู้ป่วย 6 การเป็นอิสระในการตัดสินใจ 7 การเสียสละ 8 การมีพฤติกรรมการบริการและมีใจบริการที่ดัี 9 การดูแลผู้ป่วยอย่างเท่าเทียมและไม่เลือกปฏิบัติ 10 ความรับผิดขอบและ 11 การรักษาความลับจากข้อมูลที่ได้จากการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า พยาบาลไทนมีความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพที่มีความเสี่ยงในการปฏิบัติงานและมีการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
ข้อเสนอแนะ ผู้บริหารทางการพยาบาลสามารถใช้ข้อมูลจากการศึกษานี้ไปใช้ในการวางแผนการพัฒนาและส่งเสริมให้พยาบาลในการสร้างความเข้าใจในการจัดการเชิงจริยธรรมที่มีความเสี่ยงสูง เพื่อลดปัญหาการปฏิบัติการพยาบาลและส่งเสริมให้พยายาลเข้าใจกระบวนการตัดสินใจที่เหมาะสมต่อไป
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26756 ความสัมพันธ์ระหว่างสิิ่งแวดล้อมการปฏิบัติการพยาบาลและผลลัพธ์ / กุลวดี อภิชาติบุตร in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างสิิ่งแวดล้อมการปฏิบัติการพยาบาลและผลลัพธ์ : ที่ไม่พึงประสงค์ที่เกิดกับผู้ป่วยในโรงพยาบาลทั่วไป Original title : The Relationship between nursing practice environment and adverse patient outcomes in general hospitals Material Type: printed text Authors: กุลวดี อภิชาติบุตร, Author ; อรอรนงค์ วิชัยคำ, Author ; วิภาดา คุณาวิกติกุล, Author ; เรมวล นันทศุภวัฒน์, Author ; อภิรดี นันทศุภวัฒน์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.206--215 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.206--215Keywords: โรงพยาบาลทั่วไป.การปฏิบัติการพยาบาล.ผลลัพธ์ที่ไม่พึงประสงค์.ผู้ป่วยในโรงพยาบาลทั่วไป. Abstract: ศึกษาความสัมพันธ์ะหว่างสิ่งแวดล้อมการปฏิบัติการพยาบาล และผลลัพธ์ที่ไม่พึงประสงค์ที่เกิดกับผู้ป่วยในโรงพยาบาลทั่วไป คือ 155 หอผู้ป่วย และพยาบาล จำนวน 886 คน ที่ได้จากการสุ่มหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบบันทึกผลลัพธ์ที่ไม่พึงประสงค์ของหอผู้ป่วย แบบสอบถามสิ่งแวดล้อมการปฎิบัติการพยาบาล ค่าสัมประสิทธ์ิแอลฟ่าของครอนบาค เท่ากับ .93
ผลการศึกษา พบว่า
* สิ่งแวดล้อมการปฏิบัติการพยาบาลตามการรับรู้การพยาบาลวิชาชีพจัดอยู่ในหมวดหมู่ที่พึงพอใจ
* ความคลาดเคลื่อนทางยา เป็นผลลัพธิ์ที่ไม่พึงประสงค์ที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด
* สิ่งแวดล้อมการปฏิบัติการพยาบาลมีความสัมพันธ์ทางลบกับความคลาดเคลื่อนทางยา
โดยผลการศึกษาครั้งนี้ สามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับผู้บริหารการพยาบาลในการจัดการสิ่งแวดล้อมการปฏิบัติการพยาบาลให้เหมาะสม เพื่อป้องกันการเกิดผลลัพธ์ที่ไม่พึงประสงค์ที่เกิดกับผู้ป่วย
ี่Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26757 [article] ความสัมพันธ์ระหว่างสิิ่งแวดล้อมการปฏิบัติการพยาบาลและผลลัพธ์ = The Relationship between nursing practice environment and adverse patient outcomes in general hospitals : ที่ไม่พึงประสงค์ที่เกิดกับผู้ป่วยในโรงพยาบาลทั่วไป [printed text] / กุลวดี อภิชาติบุตร, Author ; อรอรนงค์ วิชัยคำ, Author ; วิภาดา คุณาวิกติกุล, Author ; เรมวล นันทศุภวัฒน์, Author ; อภิรดี นันทศุภวัฒน์, Author . - 2017 . - p.206--215.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.206--215Keywords: โรงพยาบาลทั่วไป.การปฏิบัติการพยาบาล.ผลลัพธ์ที่ไม่พึงประสงค์.ผู้ป่วยในโรงพยาบาลทั่วไป. Abstract: ศึกษาความสัมพันธ์ะหว่างสิ่งแวดล้อมการปฏิบัติการพยาบาล และผลลัพธ์ที่ไม่พึงประสงค์ที่เกิดกับผู้ป่วยในโรงพยาบาลทั่วไป คือ 155 หอผู้ป่วย และพยาบาล จำนวน 886 คน ที่ได้จากการสุ่มหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบบันทึกผลลัพธ์ที่ไม่พึงประสงค์ของหอผู้ป่วย แบบสอบถามสิ่งแวดล้อมการปฎิบัติการพยาบาล ค่าสัมประสิทธ์ิแอลฟ่าของครอนบาค เท่ากับ .93
ผลการศึกษา พบว่า
* สิ่งแวดล้อมการปฏิบัติการพยาบาลตามการรับรู้การพยาบาลวิชาชีพจัดอยู่ในหมวดหมู่ที่พึงพอใจ
* ความคลาดเคลื่อนทางยา เป็นผลลัพธิ์ที่ไม่พึงประสงค์ที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด
* สิ่งแวดล้อมการปฏิบัติการพยาบาลมีความสัมพันธ์ทางลบกับความคลาดเคลื่อนทางยา
โดยผลการศึกษาครั้งนี้ สามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับผู้บริหารการพยาบาลในการจัดการสิ่งแวดล้อมการปฏิบัติการพยาบาลให้เหมาะสม เพื่อป้องกันการเกิดผลลัพธ์ที่ไม่พึงประสงค์ที่เกิดกับผู้ป่วย
ี่Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26757 ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการขาดนัดการรักษาของผู้ป่วยโรคจิตเภทที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลชุมชน / น้ำทิพย์ สวงนบุญญพงษฺ์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการขาดนัดการรักษาของผู้ป่วยโรคจิตเภทที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลชุมชน : จังหวัดฉะเชิงเทรา Material Type: printed text Authors: น้ำทิพย์ สวงนบุญญพงษฺ์, Author ; สายใจ พัวพันธ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.229-246 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.229-246Keywords: การขาดนัดการรักษา.ผู้ป่วยโรคจิตเภท.โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดฉะเชิงเทรา. Abstract: เป็นการศึกษาเชิงพรรณา เพื่อศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับการขาดนัดการรักษาของผู้ป่วยโรคจิตเภทที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดฉะเชิงเทรา กลุ่มตัวอย่างจำนวน 154 คน คือผู้ป่วยโรคจิตเภทที่มีอายุตั้งแต่ 20-60 ปี ที่มีประวัติขาดนัดการรักษา เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสัมภาษณ์ข้อมูลส่วนบุคคล แบบสัมภาษณ์บริบทการมารับการรักษา แบบสัมภาษณ์ความร่วมมือในการรักษาด้วยยา แบบสัมภาษณ์สนับสนุนทางสังคม และ แบบสัมภาษณ์ความรู้เรื่องโรคและการรักษาด้วยยาของผู้ป่วยโรคจิตเภท
ผลการวิจัย พบว่า การขาดนัดการรักษาของผู้ป่วยโรคจิตเภท ปีงบประมาณ 2555 มีการขาดนัดการรักษา 1-4 ครั้ง ขาดนัดการรักษา 1 ครั้ง (ร้อยละ 69.5) จากการทดสอบความสัมพันธ์ พบว่า อายุมีความสัมพันธ์ด้านลบกับการขาดนัดการรักษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สถานภาพามรส รายได้ บุคคลที่อาศัยอยู่ด้วยกัน ระยะเวลาที่ป่วย และเหตุผลของการขาดนัด 11 เหตุผล จาก 14 เหตุผล มีความสัมพันธ์ด้านบวกกับการขาดนัดการรักษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ผลการศึกษาครั้งนี้ พยาบาลวิชาชีพประจำโรงพยาบาลระดับปฐมภูมิสามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนปฏิบัติการพยาบาลเชิงรุก สำหรับการฟื้นฟูสุขภาพ สร้างเสริมสุขภาพ และสนับสนุนให้ผู้ป่วยจิตเภทได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง ความสามารถในการพึ่งพาตนเองของผู้ป่วยจิตเภทก็จะมีความเป็นไปได้มากขึ้นLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26758 [article] ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการขาดนัดการรักษาของผู้ป่วยโรคจิตเภทที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลชุมชน : จังหวัดฉะเชิงเทรา [printed text] / น้ำทิพย์ สวงนบุญญพงษฺ์, Author ; สายใจ พัวพันธ์, Author . - 2017 . - p.229-246.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.229-246Keywords: การขาดนัดการรักษา.ผู้ป่วยโรคจิตเภท.โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดฉะเชิงเทรา. Abstract: เป็นการศึกษาเชิงพรรณา เพื่อศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับการขาดนัดการรักษาของผู้ป่วยโรคจิตเภทที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดฉะเชิงเทรา กลุ่มตัวอย่างจำนวน 154 คน คือผู้ป่วยโรคจิตเภทที่มีอายุตั้งแต่ 20-60 ปี ที่มีประวัติขาดนัดการรักษา เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสัมภาษณ์ข้อมูลส่วนบุคคล แบบสัมภาษณ์บริบทการมารับการรักษา แบบสัมภาษณ์ความร่วมมือในการรักษาด้วยยา แบบสัมภาษณ์สนับสนุนทางสังคม และ แบบสัมภาษณ์ความรู้เรื่องโรคและการรักษาด้วยยาของผู้ป่วยโรคจิตเภท
ผลการวิจัย พบว่า การขาดนัดการรักษาของผู้ป่วยโรคจิตเภท ปีงบประมาณ 2555 มีการขาดนัดการรักษา 1-4 ครั้ง ขาดนัดการรักษา 1 ครั้ง (ร้อยละ 69.5) จากการทดสอบความสัมพันธ์ พบว่า อายุมีความสัมพันธ์ด้านลบกับการขาดนัดการรักษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สถานภาพามรส รายได้ บุคคลที่อาศัยอยู่ด้วยกัน ระยะเวลาที่ป่วย และเหตุผลของการขาดนัด 11 เหตุผล จาก 14 เหตุผล มีความสัมพันธ์ด้านบวกกับการขาดนัดการรักษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ผลการศึกษาครั้งนี้ พยาบาลวิชาชีพประจำโรงพยาบาลระดับปฐมภูมิสามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนปฏิบัติการพยาบาลเชิงรุก สำหรับการฟื้นฟูสุขภาพ สร้างเสริมสุขภาพ และสนับสนุนให้ผู้ป่วยจิตเภทได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง ความสามารถในการพึ่งพาตนเองของผู้ป่วยจิตเภทก็จะมีความเป็นไปได้มากขึ้นLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26758