From this page you can:
Home |
Search results
8 result(s) search for keyword(s) 'ปัจจัยทางขีวสังคม.พฤติกรรมสุขภาพ.ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ.พนักงานบริษัทไทยน้้าทิพย์.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางชีวสังคม และพฤติกรรมสุขภาพกับภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ / ศกลวรรณ แก้วกลิ่น in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางชีวสังคม และพฤติกรรมสุขภาพกับภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ : ของพนักงานบริษัทไทยน้ำทิพย์ จังหวัดปทุมธานี Original title : Association between bio social factors and health behavior with dyslipidemia ampng employees of Thai Nam Thip company at Changwat Pathum Thani t Material Type: printed text Authors: ศกลวรรณ แก้วกลิ่น, Author ; สมคิด ปราบภัย, Author Publication Date: 2017 Article on page: p56-63 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p56-63Keywords: ปัจจัยทางขีวสังคม.พฤติกรรมสุขภาพ.ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ.พนักงานบริษัทไทยน้้าทิพย์. Abstract: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางชีวสังคม และพฤติกรรมสุขภาพกับภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงวิเคราะห์ การศึกษาชนิด unmatch case-control study ศึกษากับพนักงานบริษัทไทยน้ำทิพย์ จังหวัดปทุมธานี จำนวน 324 คน จำแนกเป็นกลุ่มศึกษา 162 คน และกลุ่มควบคุม 162 คน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยเชิงพรรณนา ฯ ผลการวิจัย พบว่า ปัจจัยทางชีวสังคม และพฤติกรรมสุขภาพที่มีความสัมพันธ์กับภาวะไขมันในเลือดผิดปกติของพนักงานบริษัทไทยน้ำทิพย์ จังหวัดปทุมธานี ประกอบด้วยปัจจัยเสี่ยง ได้แก่ ค่าดัชนีมวลกาย > หรือเท่ากับ 25 กก./ตรม. มีความเสี่ยงต่อภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ มากกว่าค่าดัชนีมวลกาย 18.5-22.9 กก./ตรม. ฯ การพบแพทย์เพื่อตรวจสุขภาพ 1 ครั้งต่อปี มีความเสี่ยงมากกว่าพนักงานที่ไปตรวจสุขภาพมากกว่า 2 ครั้งขึ้นไป และปัจจัยป้องกัน ได้แก่ สถานภาพโสด และสถานภาพหย่า/หม้าย มีโอกาสเกิดภาวะไขมันในเลือดลดลงกว่า สถานภาพสมรส และอยู่ร่วมกัน Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26741 [article] ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางชีวสังคม และพฤติกรรมสุขภาพกับภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ = Association between bio social factors and health behavior with dyslipidemia ampng employees of Thai Nam Thip company at Changwat Pathum Thani t : ของพนักงานบริษัทไทยน้ำทิพย์ จังหวัดปทุมธานี [printed text] / ศกลวรรณ แก้วกลิ่น, Author ; สมคิด ปราบภัย, Author . - 2017 . - p56-63.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p56-63Keywords: ปัจจัยทางขีวสังคม.พฤติกรรมสุขภาพ.ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ.พนักงานบริษัทไทยน้้าทิพย์. Abstract: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางชีวสังคม และพฤติกรรมสุขภาพกับภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงวิเคราะห์ การศึกษาชนิด unmatch case-control study ศึกษากับพนักงานบริษัทไทยน้ำทิพย์ จังหวัดปทุมธานี จำนวน 324 คน จำแนกเป็นกลุ่มศึกษา 162 คน และกลุ่มควบคุม 162 คน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยเชิงพรรณนา ฯ ผลการวิจัย พบว่า ปัจจัยทางชีวสังคม และพฤติกรรมสุขภาพที่มีความสัมพันธ์กับภาวะไขมันในเลือดผิดปกติของพนักงานบริษัทไทยน้ำทิพย์ จังหวัดปทุมธานี ประกอบด้วยปัจจัยเสี่ยง ได้แก่ ค่าดัชนีมวลกาย > หรือเท่ากับ 25 กก./ตรม. มีความเสี่ยงต่อภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ มากกว่าค่าดัชนีมวลกาย 18.5-22.9 กก./ตรม. ฯ การพบแพทย์เพื่อตรวจสุขภาพ 1 ครั้งต่อปี มีความเสี่ยงมากกว่าพนักงานที่ไปตรวจสุขภาพมากกว่า 2 ครั้งขึ้นไป และปัจจัยป้องกัน ได้แก่ สถานภาพโสด และสถานภาพหย่า/หม้าย มีโอกาสเกิดภาวะไขมันในเลือดลดลงกว่า สถานภาพสมรส และอยู่ร่วมกัน Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26741 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรร พฤติกรรมสุขภาพกับความต่อเนื่องสม่ำเสมอในการรับประทานยา / แสงเดือน กิ่งแก้ว in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol. 29 No. 2 (May-Aug) 2015 ([09/17/2015])
[article]
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรร พฤติกรรมสุขภาพกับความต่อเนื่องสม่ำเสมอในการรับประทานยา : ต้านไวรัสของผู้ติดเชื้อเอชไอวี Original title : Relationships between selected factors health behaviors and medication adherence among people living with HIV Material Type: printed text Authors: แสงเดือน กิ่งแก้ว, Author ; วันทนา มณีศรีวงศ์กูล, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.1-14 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol. 29 No. 2 (May-Aug) 2015 [09/17/2015] . - p.1-14Keywords: พฤติกรรมสุขภาพ.ผู้ติดเชื้อเอชไอวี.ยาต้านไวรัส. Abstract: ผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ได้รับการรักษาด้วยตัวยาต้านไวรัสควรจะรับประทานยาต้านไวรัสอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ ควบคู่ไปกับการปฎิบัติพฤติกรรมสุขภาพที่ดี เพื่อให้การรักษามีประสิทธิภาพและเกิดผลลัพธ์ทางสุขภาพที่ดี การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยบรรยายแบบหาความสัมพันธ์ วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรร พฤติกรรมสุขภาพ และความสม่ำเสมอต่อเรื่องในการรับประทานยาต้านไวรัสของผู้ติดเชื้อเอชไอวี กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ติดเชื้อเอชไอวี จำนวน 120 ราย ที่มารับการรักษาด้วยาต้านไวรัสที่นภาคลินิก ณ. โรงพยาบาลระดับตติยภูมิแห่งหนึ่งในประเทศไทย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้เครื่องมือ 3 ชุด ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลและสุขภาพ แบบสอบถามการปฎิบัติพฤติกรรมสุขภาพ และแบบประเมินความต่อเนื่องและสมำ้เสมอในการรับประทานยาต้านไวรัส Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24962 [article] ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรร พฤติกรรมสุขภาพกับความต่อเนื่องสม่ำเสมอในการรับประทานยา = Relationships between selected factors health behaviors and medication adherence among people living with HIV : ต้านไวรัสของผู้ติดเชื้อเอชไอวี [printed text] / แสงเดือน กิ่งแก้ว, Author ; วันทนา มณีศรีวงศ์กูล, Author . - 2015 . - p.1-14.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol. 29 No. 2 (May-Aug) 2015 [09/17/2015] . - p.1-14Keywords: พฤติกรรมสุขภาพ.ผู้ติดเชื้อเอชไอวี.ยาต้านไวรัส. Abstract: ผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ได้รับการรักษาด้วยตัวยาต้านไวรัสควรจะรับประทานยาต้านไวรัสอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ ควบคู่ไปกับการปฎิบัติพฤติกรรมสุขภาพที่ดี เพื่อให้การรักษามีประสิทธิภาพและเกิดผลลัพธ์ทางสุขภาพที่ดี การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยบรรยายแบบหาความสัมพันธ์ วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรร พฤติกรรมสุขภาพ และความสม่ำเสมอต่อเรื่องในการรับประทานยาต้านไวรัสของผู้ติดเชื้อเอชไอวี กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ติดเชื้อเอชไอวี จำนวน 120 ราย ที่มารับการรักษาด้วยาต้านไวรัสที่นภาคลินิก ณ. โรงพยาบาลระดับตติยภูมิแห่งหนึ่งในประเทศไทย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้เครื่องมือ 3 ชุด ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลและสุขภาพ แบบสอบถามการปฎิบัติพฤติกรรมสุขภาพ และแบบประเมินความต่อเนื่องและสมำ้เสมอในการรับประทานยาต้านไวรัส Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24962 ปัจจัยทำนายพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยที่ได้รับการใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจแบบถาวร / ทิพนันท์ ปันคำ in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.28 No.1 (ม.ค-มิ.ย) 2017 ([11/16/2017])
[article]
Title : ปัจจัยทำนายพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยที่ได้รับการใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจแบบถาวร Original title : Predicting factors of health behaviors in patients with cardiac permanent pacemaker Material Type: printed text Authors: ทิพนันท์ ปันคำ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.129-141 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.28 No.1 (ม.ค-มิ.ย) 2017 [11/16/2017] . - p.129-141Keywords: พฤติกรรมสุขภาพผู้ป่วย.พฤติกรรมสุขภาพ.เครื่องกระตุ้นหัวใจแบบถาวร.ปัจจัยทำนาย. Abstract: การวิจัยเชิงพยากรณ์นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาอำนาจการทำนายของปัจจัยนำ (ความรู้ อัตมโนทัศน์ และความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง) ปัจจัยเสริม (การสนับสนุนทางสังคม) และปัจจัยเอื้อ (การเข้าถึงบริการของสถานบริการสุขภาพ) ต่อพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยที่ได้รับการใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจแบบถาวร กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยจำนวน 128 คน ที่มารับบริการแผนกผู้ป่วยนอก คลินิกเครื่องกระตุ้นหัวใจ โรงพยาบาลตติยภูมิสามแห่งในเขตกรุงเทพมหานคร คัดเลือกโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบวัดความรู้ แบบวัดอัตมโนทัศน์ แบบวัดความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง แบบวัดการสนับสนุนทางสังคม แบบวัดการเข้าถึงบริการของสถานบริการสุขภาพ และแบบวัดพฤติกรรมสุขภาพ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และสถิติถดถอยพหุคูณแบบเข้าทีละตัว
ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมสุขภาพโดยรวมอยู่ในระดับดี (mean = 33.3, SD = 3.9) การสนับสนุนทางสังคมความรู้ และอัตมโนทัศน์ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มตัวอย่าง (r =.523, .508 และ .369 ตามลำดับ) แต่ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองและการเข้าถึงบริการของสถานบริการสุขภาพไม่มีความสัมพันธ์ทางสถิติกับพฤติกรรมสุขภาพ ความรู้ อัตมโนทัศน์ ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง การสนับสนุนทางสังคม และการเข้าถึงบริการของสถานบริการสุขภาพ สามารถร่วมทำนายพฤติกรรมสุขภาพ ได้ร้อยละ 44
ผลการศึกษาครั้งนี้ พยาบาลสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยที่ได้รับการใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจแบบถาวร โดยเน้นการให้ความรู้ การส่งเสริมอัตมโนทัศน์ และการส่งเสริมการสนับสนุนทางสังคม เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้อย่างเหมาะสมRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27503 [article] ปัจจัยทำนายพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยที่ได้รับการใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจแบบถาวร = Predicting factors of health behaviors in patients with cardiac permanent pacemaker [printed text] / ทิพนันท์ ปันคำ, Author . - 2017 . - p.129-141.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.28 No.1 (ม.ค-มิ.ย) 2017 [11/16/2017] . - p.129-141Keywords: พฤติกรรมสุขภาพผู้ป่วย.พฤติกรรมสุขภาพ.เครื่องกระตุ้นหัวใจแบบถาวร.ปัจจัยทำนาย. Abstract: การวิจัยเชิงพยากรณ์นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาอำนาจการทำนายของปัจจัยนำ (ความรู้ อัตมโนทัศน์ และความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง) ปัจจัยเสริม (การสนับสนุนทางสังคม) และปัจจัยเอื้อ (การเข้าถึงบริการของสถานบริการสุขภาพ) ต่อพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยที่ได้รับการใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจแบบถาวร กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยจำนวน 128 คน ที่มารับบริการแผนกผู้ป่วยนอก คลินิกเครื่องกระตุ้นหัวใจ โรงพยาบาลตติยภูมิสามแห่งในเขตกรุงเทพมหานคร คัดเลือกโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบวัดความรู้ แบบวัดอัตมโนทัศน์ แบบวัดความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง แบบวัดการสนับสนุนทางสังคม แบบวัดการเข้าถึงบริการของสถานบริการสุขภาพ และแบบวัดพฤติกรรมสุขภาพ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และสถิติถดถอยพหุคูณแบบเข้าทีละตัว
ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมสุขภาพโดยรวมอยู่ในระดับดี (mean = 33.3, SD = 3.9) การสนับสนุนทางสังคมความรู้ และอัตมโนทัศน์ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มตัวอย่าง (r =.523, .508 และ .369 ตามลำดับ) แต่ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองและการเข้าถึงบริการของสถานบริการสุขภาพไม่มีความสัมพันธ์ทางสถิติกับพฤติกรรมสุขภาพ ความรู้ อัตมโนทัศน์ ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง การสนับสนุนทางสังคม และการเข้าถึงบริการของสถานบริการสุขภาพ สามารถร่วมทำนายพฤติกรรมสุขภาพ ได้ร้อยละ 44
ผลการศึกษาครั้งนี้ พยาบาลสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยที่ได้รับการใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจแบบถาวร โดยเน้นการให้ความรู้ การส่งเสริมอัตมโนทัศน์ และการส่งเสริมการสนับสนุนทางสังคม เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้อย่างเหมาะสมRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27503 ผลของโปรแกรมการดูแลสุขภาพต่อพฤติกรรมสุขภาพและระดับความดันโลหิตสูงของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง / รุ่งโรจน์ พรมอยู่ in วารสารการพยาบาลและสุขภาพ, Vol.10 No.3 (Sep-Dec) 2016 ([03/24/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการดูแลสุขภาพต่อพฤติกรรมสุขภาพและระดับความดันโลหิตสูงของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง Original title : Effect of health care program on health behaviors and blood pressure level among hypertensive patients Material Type: printed text Authors: รุ่งโรจน์ พรมอยู่, Author ; สุภาพร แนวบุตร, Author ; ชมนาด วรรณพรศิริ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.108-120 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลและสุขภาพ > Vol.10 No.3 (Sep-Dec) 2016 [03/24/2017] . - p.108-120Keywords: การดูแลสุขภาพ.พฤติกรรมสุขภาพ.ระดับความดันโลหิตสูง.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง. Link for e-copy: http://www.nurse.nu.ac.th/journals/index.php Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26887 [article] ผลของโปรแกรมการดูแลสุขภาพต่อพฤติกรรมสุขภาพและระดับความดันโลหิตสูงของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง = Effect of health care program on health behaviors and blood pressure level among hypertensive patients [printed text] / รุ่งโรจน์ พรมอยู่, Author ; สุภาพร แนวบุตร, Author ; ชมนาด วรรณพรศิริ, Author . - 2017 . - p.108-120.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ผลของโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ต่อความเชื่อด้านสุขภาพ / ปิยมนต์ รัตนผ่องใส in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 ([07/25/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ต่อความเชื่อด้านสุขภาพ : พฤติกรรมสุขภาพ ปริมาณโซเดียมที่ได้รับ และระดับความดันโลหิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน Original title : Impact of a blood pressure regulating programme on health beliefs health behavior amount of sodium intake and hypertension leveld in community members with hypertension Material Type: printed text Authors: ปิยมนต์ รัตนผ่องใส, Author ; สุนีย์ ละกำปั่น, Author ; ปาหนัน พิชยภิญโญ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.63-75 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.63-75Keywords: โปรแกรมควบคุมความด้นโลหิต. ความเชื่อด้านสุขภาพ. พฤติกรรมสุขภาพ. โรคความดันโลหิตสูง. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ต่อความเชื่อด้านสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพ ปริมาณโซเดียมที่ได้รับ และระดับความดันโลหิตของผู้เป็นโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน
การออกแบบงานวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง ศึกษาสองกลุ่ม วัดผลก่อนและหลังการทดลอง
การดำเนินการวิจัย: คัดเลือกตัวอย่างตามเกณฑ์คัดเข้า จำนวน 64 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง
34 คน และกลุ่มควบคุม 30 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ประกอบด้วยการรให้ความรู้โดยใช้วิดีทัศน์ และแบบจำลองจำนวนจานอาหารสุขภาพ พร้อมแจกคู่มือกำรบริโภคอาหารจานเดียวและแผ่นพับเรื่องอาหารแลกเปลี่ยน ร่วมกับการติดตามเยี่ยมบ้าน 3 ครั้ง กลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ความเชื่อด้านสุขภาพพฤติกรรมสุขภาพเพื่อควบคุมความดันโลหิต และแบบบันทึกการรับประทานอาหารย้อนหลัง 24 ชั่วโมง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย paired t-test และ independent t-test
ผลการวิจัย: พบว่า กลุ่มทดลองภายหลังได้รับโปรแกรม มีคะแนนความเชื่อด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น
กว่าก่อนทดลอง และมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.001) มีพฤติกรรมสุขภาพดีขึ้น (p<.01) และมีค่ำเฉลี่ยของระดับความดันโลหิต น้อยกว่าก่อนได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) รวมถึงมีปริมาณโซเดียมที่ได้รับน้อยกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05)
ข้อเสนอแนะ: นำโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ไปใช้กับผู้เป็นโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน เพื่อควบคุมโรคและป้องกันกำรเกิดภาวะแทรกซ้อนLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27050 [article] ผลของโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ต่อความเชื่อด้านสุขภาพ = Impact of a blood pressure regulating programme on health beliefs health behavior amount of sodium intake and hypertension leveld in community members with hypertension : พฤติกรรมสุขภาพ ปริมาณโซเดียมที่ได้รับ และระดับความดันโลหิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน [printed text] / ปิยมนต์ รัตนผ่องใส, Author ; สุนีย์ ละกำปั่น, Author ; ปาหนัน พิชยภิญโญ, Author . - 2017 . - p.63-75.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.63-75Keywords: โปรแกรมควบคุมความด้นโลหิต. ความเชื่อด้านสุขภาพ. พฤติกรรมสุขภาพ. โรคความดันโลหิตสูง. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ต่อความเชื่อด้านสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพ ปริมาณโซเดียมที่ได้รับ และระดับความดันโลหิตของผู้เป็นโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน
การออกแบบงานวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง ศึกษาสองกลุ่ม วัดผลก่อนและหลังการทดลอง
การดำเนินการวิจัย: คัดเลือกตัวอย่างตามเกณฑ์คัดเข้า จำนวน 64 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง
34 คน และกลุ่มควบคุม 30 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ประกอบด้วยการรให้ความรู้โดยใช้วิดีทัศน์ และแบบจำลองจำนวนจานอาหารสุขภาพ พร้อมแจกคู่มือกำรบริโภคอาหารจานเดียวและแผ่นพับเรื่องอาหารแลกเปลี่ยน ร่วมกับการติดตามเยี่ยมบ้าน 3 ครั้ง กลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ความเชื่อด้านสุขภาพพฤติกรรมสุขภาพเพื่อควบคุมความดันโลหิต และแบบบันทึกการรับประทานอาหารย้อนหลัง 24 ชั่วโมง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย paired t-test และ independent t-test
ผลการวิจัย: พบว่า กลุ่มทดลองภายหลังได้รับโปรแกรม มีคะแนนความเชื่อด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น
กว่าก่อนทดลอง และมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.001) มีพฤติกรรมสุขภาพดีขึ้น (p<.01) และมีค่ำเฉลี่ยของระดับความดันโลหิต น้อยกว่าก่อนได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) รวมถึงมีปริมาณโซเดียมที่ได้รับน้อยกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05)
ข้อเสนอแนะ: นำโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ไปใช้กับผู้เป็นโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน เพื่อควบคุมโรคและป้องกันกำรเกิดภาวะแทรกซ้อนLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27050 สุขภาพคนไทย 2548 / ชื่นฤทัย กาญจนะจิตรา / นครปฐม : สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล - 2548
in สุขภาพคนไทย 2550 / ชื่นฤทัย กาญจนะจิตรา / นครปฐม : สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล - 2550
Title : สุขภาพคนไทย 2548 : การค้าเสรีกับการเข้าถึงยา Material Type: printed text Authors: ชื่นฤทัย กาญจนะจิตรา, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1 Publisher: นครปฐม : สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล Publication Date: 2548 Pagination: 116 หน้า Layout: ภาพประกอบสี Size: 29 ซม. ISBN (or other code): 978-974-971-791-0 General note: (เอกสารทางวิชาการ สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ; หมายเลข 296) ภายใต้แผนงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)2548. . - ISBN 978-974-971-791-0 : บริจาค.
Record identifier : 22967Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พฤติกรรมสุขภาพ -- ไทย
[LCSH]สุขภาพ
[LCSH]เครื่องชี้ภาวะสุขภาพ -- ไทยKeywords: พฤติกรรมสุขภาพ.
สุขภาพ.
ประชากรไทย.Class number: RA440.5.T5 ส743 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=22968
in สุขภาพคนไทย 2550 / ชื่นฤทัย กาญจนะจิตรา / นครปฐม : สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล - 2550
สุขภาพคนไทย 2548 : การค้าเสรีกับการเข้าถึงยา [printed text] / ชื่นฤทัย กาญจนะจิตรา, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 1 . - นครปฐม : สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล, 2548 . - 116 หน้า : ภาพประกอบสี ; 29 ซม.
ISSN : 978-974-971-791-0
(เอกสารทางวิชาการ สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ; หมายเลข 296) ภายใต้แผนงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)2548. . - ISBN 978-974-971-791-0 : บริจาค.
Record identifier : 22967
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พฤติกรรมสุขภาพ -- ไทย
[LCSH]สุขภาพ
[LCSH]เครื่องชี้ภาวะสุขภาพ -- ไทยKeywords: พฤติกรรมสุขภาพ.
สุขภาพ.
ประชากรไทย.Class number: RA440.5.T5 ส743 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=22968 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000352581 RA440.5.T5 ส743 2548 Book Main Library Library Counter Not for loan สุขภาพคนไทย 2550 / ชื่นฤทัย กาญจนะจิตรา / นครปฐม : สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล - 2550
Content
Title : สุขภาพคนไทย 2550 : หอมกลิ่นลำดวน เตรียมพร้อมสู่สังคมผู้สูงอายุ Material Type: printed text Authors: ชื่นฤทัย กาญจนะจิตรา, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1 Publisher: นครปฐม : สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล Publication Date: 2550 Pagination: 128 หน้า Layout: ภาพประกอบสี Size: 32 ซม. ISBN (or other code): 978-974-11-0711-7 Price: บริจาค. General note: (เอกสารทางวิชาการ สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ; หมายเลข 326) ภายใต้แผนงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)2550. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้สูงอายุ
[LCSH]พฤติกรรมสุขภาพ -- ไทย
[LCSH]สุขภาพ
[LCSH]เครื่องชี้ภาวะสุขภาพ -- ไทย
[LCSH]ไทย -- สุขภาพจิตKeywords: พฤติกรรมสุขภาพ.
สุขภาพ.
ประชากรไทย.Class number: RA440.5.T5 ส743 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=22967 สุขภาพคนไทย 2550 : หอมกลิ่นลำดวน เตรียมพร้อมสู่สังคมผู้สูงอายุ [printed text] / ชื่นฤทัย กาญจนะจิตรา, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 1 . - นครปฐม : สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล, 2550 . - 128 หน้า : ภาพประกอบสี ; 32 ซม.
ISBN : 978-974-11-0711-7 : บริจาค.
(เอกสารทางวิชาการ สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ; หมายเลข 326) ภายใต้แผนงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)2550.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้สูงอายุ
[LCSH]พฤติกรรมสุขภาพ -- ไทย
[LCSH]สุขภาพ
[LCSH]เครื่องชี้ภาวะสุขภาพ -- ไทย
[LCSH]ไทย -- สุขภาพจิตKeywords: พฤติกรรมสุขภาพ.
สุขภาพ.
ประชากรไทย.Class number: RA440.5.T5 ส743 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=22967
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000352557 RA440.5.T5 ส743 2550 Book Main Library Library Counter Not for loan โมเดลเฃิงนิเวศวิทยากับการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพ / พรรณี ปานเทวัญ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : โมเดลเฃิงนิเวศวิทยากับการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพ Original title : Ecological model and health behavior change Material Type: printed text Authors: พรรณี ปานเทวัญ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.7-15 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.7-15Descriptors: [NLM]Ecological Model
[NLM]Health Behvior Change
[NLM]พฤติกรรมสุขภาพ
[NLM]สุขภาพ -- การปรับพฤติกรรม
[NLM]โมเดลเชิงนิเวศวิทยาKeywords: โมเดลเชิงนิเวศวิทยา. พฤติกรรมสุขภาพ. การจัดการด้านสิ่งแวดล้อม.การปรับพฤติกรรม. Abstract: การมีสุขภาพที่ดีเกี่ยวกับการปฏิบัติเชิงพฤติกรรมการดำเนินชีวิตในการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปัจจุบันทฤษฎีหรือโมเดลที่หลากหลายซึ่งใช้อธิบายหรือทำนายพฤติกรรมสุขภาพ และใช้เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมแก้ไขปัญหาสุขภาพโมเเดลเชิงนิเวศวิทยา เป็นแนวคิดทฤษฎีในระดับชุมชนโดยมองปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสุขภาพแบบบูรณาการ วัตถุประสงค์ของโมเดล เน้นสิ่งแวดล้อมที่เป็นสาเหตุของพฤติกรรมโดยแบ่งระดับของสิ่งแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสุขภาพเป็น 5 ระดับ คือ ระดับบุคคล ระหว่างบุคคล องค์กร ชุมชน และระดับนโยบายสาธารณะ โมเดลนี้ถูกนำมาใช้ในการส่งเสริมสุขภาพและแก้ไขปัญหาพฤติกรรมสุขภาพต่าง ๆ แต่ยังไม่ครอบคลุมทั้งหมด จึงควรศึกษาวิจัยในพฤติกรรมสุขภาดเพิ่มเติมต่อไปเพื่อเป็นหลักฐานเชิงประจักษ์ในการปฏิบัติการแบบพหุระดับโดยเฉพาะการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม นโยบาย ระเบียบ ข้อบังคับ จะช่วยส่งเสริมให้ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและแก้ไขปัญหาสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืนต่อไป Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27206 [article] โมเดลเฃิงนิเวศวิทยากับการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพ = Ecological model and health behavior change [printed text] / พรรณี ปานเทวัญ, Author . - 2017 . - p.7-15.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.7-15Descriptors: [NLM]Ecological Model
[NLM]Health Behvior Change
[NLM]พฤติกรรมสุขภาพ
[NLM]สุขภาพ -- การปรับพฤติกรรม
[NLM]โมเดลเชิงนิเวศวิทยาKeywords: โมเดลเชิงนิเวศวิทยา. พฤติกรรมสุขภาพ. การจัดการด้านสิ่งแวดล้อม.การปรับพฤติกรรม. Abstract: การมีสุขภาพที่ดีเกี่ยวกับการปฏิบัติเชิงพฤติกรรมการดำเนินชีวิตในการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปัจจุบันทฤษฎีหรือโมเดลที่หลากหลายซึ่งใช้อธิบายหรือทำนายพฤติกรรมสุขภาพ และใช้เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมแก้ไขปัญหาสุขภาพโมเเดลเชิงนิเวศวิทยา เป็นแนวคิดทฤษฎีในระดับชุมชนโดยมองปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสุขภาพแบบบูรณาการ วัตถุประสงค์ของโมเดล เน้นสิ่งแวดล้อมที่เป็นสาเหตุของพฤติกรรมโดยแบ่งระดับของสิ่งแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสุขภาพเป็น 5 ระดับ คือ ระดับบุคคล ระหว่างบุคคล องค์กร ชุมชน และระดับนโยบายสาธารณะ โมเดลนี้ถูกนำมาใช้ในการส่งเสริมสุขภาพและแก้ไขปัญหาพฤติกรรมสุขภาพต่าง ๆ แต่ยังไม่ครอบคลุมทั้งหมด จึงควรศึกษาวิจัยในพฤติกรรมสุขภาดเพิ่มเติมต่อไปเพื่อเป็นหลักฐานเชิงประจักษ์ในการปฏิบัติการแบบพหุระดับโดยเฉพาะการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม นโยบาย ระเบียบ ข้อบังคับ จะช่วยส่งเสริมให้ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและแก้ไขปัญหาสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืนต่อไป Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27206