From this page you can:
Home |
Author details
Author วชังเงิน พิภพ
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesSIU THE-T. การตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนในกิจการโทรทัศน์ระบบดิจิทัลภาคพื้นดิน / เฉิมชัย ก๊กเกียรติกุล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU THE-T Title : การตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนในกิจการโทรทัศน์ระบบดิจิทัลภาคพื้นดิน Original title : Ethical Decision Making of Media Profession in Digital Terrestrial Television Sector Material Type: printed text Authors: เฉิมชัย ก๊กเกียรติกุล, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: x, 301 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-10
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การตัดสินใจ
[LCSH]นักสื่อสารมวลชน -- แง่ศีลธรรมจรรยาKeywords: การตัดสินใจ,
จริยธรรม,
วิชาชีพสื่อมวลชนAbstract: การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์คือ เพื่อศึกษาการตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชน และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชน ตลอดทั้งแนวทางส่งเสริมจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนในกิจการโทรทัศน์ระบบดิจิทัลภาคพื้นดิน วิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสานระหว่างเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ สำหรับงานวิจัยเชิงคุณภาพเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกสื่อมวลชนที่มีประสบการณ์ และผู้ทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวข้อง และใช้แบบสอบถามกับสื่อมวลชนในกิจการโทรทัศน์ระบบดิจิทัลภาคพื้นดินสำหรับการวิจัยเชิงปริมาณ ซึ่งเริ่มต้นด้วยการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 15 คน เพื่อนำผลไปวิเคราะห์เพื่อพัฒนาแบบสอบถามเชิงปริมาณ โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากสื่อมวลชนกลุ่มตัวอย่างจำนวน 360 คน แล้วดำเนินการวิเคราะห์ประมวลผลข้อมูลทางสถิติ ผลการวิจัยพบความสัมพันธ์ระหว่างการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของวิชาชีพสื่อมวลชนกับปัญหาจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนในระดับค่อนข้างน้อย โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .393 โดยมีความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการพยากรณ์เท่ากับ ± 16.16 เมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของวิชาชีพสื่อมวลชนกับแนวทางส่งเสริมจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชน พบว่าทุกด้านมีความสัมพันธ์กันในทางบวกอย่างมีนัยทางสถิติ โดยพบว่าองค์กรวิชาชีพมีความสัมพันธ์กับแนวทางส่งเสริมจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .531 ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 โดยมีความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการพยากรณ์เท่ากับ ±.38 Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27883 SIU THE-T. การตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนในกิจการโทรทัศน์ระบบดิจิทัลภาคพื้นดิน = Ethical Decision Making of Media Profession in Digital Terrestrial Television Sector [printed text] / เฉิมชัย ก๊กเกียรติกุล, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - x, 301 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-10
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การตัดสินใจ
[LCSH]นักสื่อสารมวลชน -- แง่ศีลธรรมจรรยาKeywords: การตัดสินใจ,
จริยธรรม,
วิชาชีพสื่อมวลชนAbstract: การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์คือ เพื่อศึกษาการตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชน และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชน ตลอดทั้งแนวทางส่งเสริมจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนในกิจการโทรทัศน์ระบบดิจิทัลภาคพื้นดิน วิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสานระหว่างเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ สำหรับงานวิจัยเชิงคุณภาพเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกสื่อมวลชนที่มีประสบการณ์ และผู้ทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวข้อง และใช้แบบสอบถามกับสื่อมวลชนในกิจการโทรทัศน์ระบบดิจิทัลภาคพื้นดินสำหรับการวิจัยเชิงปริมาณ ซึ่งเริ่มต้นด้วยการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 15 คน เพื่อนำผลไปวิเคราะห์เพื่อพัฒนาแบบสอบถามเชิงปริมาณ โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากสื่อมวลชนกลุ่มตัวอย่างจำนวน 360 คน แล้วดำเนินการวิเคราะห์ประมวลผลข้อมูลทางสถิติ ผลการวิจัยพบความสัมพันธ์ระหว่างการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของวิชาชีพสื่อมวลชนกับปัญหาจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนในระดับค่อนข้างน้อย โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .393 โดยมีความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการพยากรณ์เท่ากับ ± 16.16 เมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของวิชาชีพสื่อมวลชนกับแนวทางส่งเสริมจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชน พบว่าทุกด้านมีความสัมพันธ์กันในทางบวกอย่างมีนัยทางสถิติ โดยพบว่าองค์กรวิชาชีพมีความสัมพันธ์กับแนวทางส่งเสริมจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .531 ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 โดยมีความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการพยากรณ์เท่ากับ ±.38 Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27883 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000598845 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-10 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000598811 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-10 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 / ระวี หนูสี / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : การบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 Original title : Administration of Immigration Police Operations Immigration Division 6 Material Type: printed text Authors: ระวี หนูสี, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: x, 182 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-14
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารงานบุคคล
[LCSH]ตำรวจตรวจคนเข้าเมืองKeywords: การบริหารการปฏิบัติงาน,
ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง,
กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6Abstract: การวิจัยเรื่องการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง6 มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 2) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการให้บริการของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 3) เพื่อเปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 จำแนกตามข้อมูลส่วนบุคคล 4) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการให้บริการ ของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กับปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 ระเบียบวิธีการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research)โดยผู้วิจัยนำวิธีการ วิจัยเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ กล่าวคือผู้วิจัยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพก่อนร่วมกัน เพื่อให้ได้คำตอบตามวัตถุประสงค์ในแต่ละข้อ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเชิงปริมาณคือ ข้าราชการตำรวจตรวจคนเข้าเมือง 6 จำนวน 400 คน และกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเชิงคุณภาพ จำนวน 30 คน สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ร้อยละ ความถี่ ค่าพิสัย ค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบสมมติฐาน โดยมีสถิติที่ใช้ ได้แก่ t – test, F – test และการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ Pearson’s product correlation
ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 ด้านการบริหาร ด้านการอำนวยความยุติธรรม ด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในราชอาณาจักร ด้านการรองรับประชาคมอาเซียน ด้านการบริการคนเข้าเมือง และด้านการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม มีการบริหารการปฏิบัติงานอยู่ในระดับมากในทุกด้าน 2)พฤติกรรมการให้บริการของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 ด้านความรับผิดชอบต่อหน้าที่ด้านกระบวนการให้บริการ และด้านสภาพแวดล้อมของการบริการ มีพฤติกรรมการให้บริการอยู่ในระดับมากในทุกด้าน 3) ปัจจัยส่วนบุคคล ด้านเพศ ไม่ส่งผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 ส่วนปัจจัยส่วนบุคคล ด้านอายุ ส่งผลต่อการบริหารจัดการการปฏิบัติงาน ด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในราชอาณาจักร แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ปัจจัยส่วนบุคคล ด้านระดับการศึกษา ส่งผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานด้านการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม ด้านการบริการคนเข้าเมือง และด้านการอำนวยความยุติธรรม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุราชการส่งผลต่อการบริหารการปฏิบัติงาน ด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในราชอาณาจักร และด้านการบริหาร แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 4) พฤติกรรมการให้บริการ ด้านความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ด้านกระบวนการให้บริการ และด้านสภาพแวดล้อมของการบริการกับปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานมีความสัมพันธ์กันในระดับต่ำมาก ทุกด้านCurricular : GE/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27959 SIU THE-T. การบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 = Administration of Immigration Police Operations Immigration Division 6 [printed text] / ระวี หนูสี, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - x, 182 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-14
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารงานบุคคล
[LCSH]ตำรวจตรวจคนเข้าเมืองKeywords: การบริหารการปฏิบัติงาน,
ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง,
กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6Abstract: การวิจัยเรื่องการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง6 มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 2) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการให้บริการของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 3) เพื่อเปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 จำแนกตามข้อมูลส่วนบุคคล 4) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการให้บริการ ของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กับปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 ระเบียบวิธีการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research)โดยผู้วิจัยนำวิธีการ วิจัยเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ กล่าวคือผู้วิจัยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพก่อนร่วมกัน เพื่อให้ได้คำตอบตามวัตถุประสงค์ในแต่ละข้อ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเชิงปริมาณคือ ข้าราชการตำรวจตรวจคนเข้าเมือง 6 จำนวน 400 คน และกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเชิงคุณภาพ จำนวน 30 คน สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ร้อยละ ความถี่ ค่าพิสัย ค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบสมมติฐาน โดยมีสถิติที่ใช้ ได้แก่ t – test, F – test และการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ Pearson’s product correlation
ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 ด้านการบริหาร ด้านการอำนวยความยุติธรรม ด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในราชอาณาจักร ด้านการรองรับประชาคมอาเซียน ด้านการบริการคนเข้าเมือง และด้านการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม มีการบริหารการปฏิบัติงานอยู่ในระดับมากในทุกด้าน 2)พฤติกรรมการให้บริการของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 ด้านความรับผิดชอบต่อหน้าที่ด้านกระบวนการให้บริการ และด้านสภาพแวดล้อมของการบริการ มีพฤติกรรมการให้บริการอยู่ในระดับมากในทุกด้าน 3) ปัจจัยส่วนบุคคล ด้านเพศ ไม่ส่งผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 ส่วนปัจจัยส่วนบุคคล ด้านอายุ ส่งผลต่อการบริหารจัดการการปฏิบัติงาน ด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในราชอาณาจักร แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ปัจจัยส่วนบุคคล ด้านระดับการศึกษา ส่งผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานด้านการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม ด้านการบริการคนเข้าเมือง และด้านการอำนวยความยุติธรรม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุราชการส่งผลต่อการบริหารการปฏิบัติงาน ด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในราชอาณาจักร และด้านการบริหาร แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 4) พฤติกรรมการให้บริการ ด้านความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ด้านกระบวนการให้บริการ และด้านสภาพแวดล้อมของการบริการกับปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานมีความสัมพันธ์กันในระดับต่ำมาก ทุกด้านCurricular : GE/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27959 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607962 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-14 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000607964 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-14 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 / วิศิษฎ์ แดนโพธิ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 Original title : Police Administration in Prevention and Suppression of Human Trafficking of Provincial Police Region 5 Material Type: printed text Authors: วิศิษฎ์ แดนโพธิ์, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: ix, 137 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-03
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การค้ามนุษย์ -- การป้องกันและควบคุม -- วิจัย
[LCSH]การบริหารงานตำรวจKeywords: การบริหารงานตำรวจ,
การป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษ (1) สมรรถนะองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (2) พฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (3) การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (4) ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การกับการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (5) สมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การที่มีผลต่อการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 และ (6) ปัญหาและอุปสรรคในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5
การศึกษาครั้งนี้ ใช้วิธีการวิจัยแบบผสานวิธี ประชากร ประกอบด้วย (1) ประชาการที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ เจ้าหน้าที่ตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 จำนวน 16,234 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางของเครจซี่และมอร์แกน ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 445 คน และ (2) ผู้ให้ข้อมูลในการสัมภาษณ์เชิงลึก ได้แก่ ผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัด รองผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัด ในสังกัดกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 รวม 16 คน เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า (1) สมรรถนะองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกอง บัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 อยู่ในระดับปานกลาง ( = 3.39, SD = 0.49) (2) พฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 อยู่ในระดับมาก ( = 3.79, SD = 0.50) (3) การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 อยู่ในระดับปานกลาง ( = 3.19, SD = 0.48) (4) สมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 (5) สมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การ มีผลต่อการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ในเชิงบวกที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 โดยสามารถร่วมกันพยากรณ์การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ ได้ร้อยละ 53.6 และ (6) ปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ ได้แก่ 1) การขาดแคลนงบประมาณและกำลังพลที่ไม่เพียงพอ 2) เจ้าหน้าที่ตำรวจขาดความรู้ ความเข้าใจในข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการค้ามนุษย์
3) ขาดหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรงและขาดการประสานงานหรือความร่วมมือจากภาคส่วนต่าง ๆ และ 4) ปัญหาในการสื่อสารโดยใช้ภาษาสากลเนื่องจากการค้ามนุษย์มักจะเป็นการกระทำความผิดเกี่ยวเนื่องระหว่างประเทศCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27941 SIU THE-T. การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 = Police Administration in Prevention and Suppression of Human Trafficking of Provincial Police Region 5 [printed text] / วิศิษฎ์ แดนโพธิ์, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - ix, 137 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-03
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การค้ามนุษย์ -- การป้องกันและควบคุม -- วิจัย
[LCSH]การบริหารงานตำรวจKeywords: การบริหารงานตำรวจ,
การป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษ (1) สมรรถนะองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (2) พฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (3) การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (4) ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การกับการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (5) สมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การที่มีผลต่อการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 และ (6) ปัญหาและอุปสรรคในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5
การศึกษาครั้งนี้ ใช้วิธีการวิจัยแบบผสานวิธี ประชากร ประกอบด้วย (1) ประชาการที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ เจ้าหน้าที่ตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 จำนวน 16,234 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางของเครจซี่และมอร์แกน ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 445 คน และ (2) ผู้ให้ข้อมูลในการสัมภาษณ์เชิงลึก ได้แก่ ผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัด รองผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัด ในสังกัดกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 รวม 16 คน เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า (1) สมรรถนะองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกอง บัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 อยู่ในระดับปานกลาง ( = 3.39, SD = 0.49) (2) พฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 อยู่ในระดับมาก ( = 3.79, SD = 0.50) (3) การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 อยู่ในระดับปานกลาง ( = 3.19, SD = 0.48) (4) สมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 (5) สมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การ มีผลต่อการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ในเชิงบวกที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 โดยสามารถร่วมกันพยากรณ์การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ ได้ร้อยละ 53.6 และ (6) ปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ ได้แก่ 1) การขาดแคลนงบประมาณและกำลังพลที่ไม่เพียงพอ 2) เจ้าหน้าที่ตำรวจขาดความรู้ ความเข้าใจในข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการค้ามนุษย์
3) ขาดหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรงและขาดการประสานงานหรือความร่วมมือจากภาคส่วนต่าง ๆ และ 4) ปัญหาในการสื่อสารโดยใช้ภาษาสากลเนื่องจากการค้ามนุษย์มักจะเป็นการกระทำความผิดเกี่ยวเนื่องระหว่างประเทศCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27941 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607994 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-03 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การบริหารแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร / กันยา ศรีสวัสดิ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : การบริหารแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร Original title : Administration of Myanmarian workers by Thai entrepreneurs in Samutsakhorn Province Material Type: printed text Authors: กันยา ศรีสวัสดิ์, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: viii, 243 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-06
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]แรงงาน -- การบริหาร
[LCSH]แรงงานต่างด้าวพม่า -- ไทย -- สมุทรสาครKeywords: การบริหารแรงงาน,
แรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่า,
จังหวัดสมุทรสาครAbstract: การวิจัยเรื่อง การบริหารแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทยในจังหวัดสมุทรสาครมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลกับการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร เป็นการวิจัยผสานวิธี (mixed methods methodology approach) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ผู้ประกอบการธุรกิจอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าจำนวน 90,000 คน (ข้อมูลสถิติจำนวนประชากร, 2560) คำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของยามาเน่ (Yamane, 2014) ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน ผลการวิจัยพบว่าการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทยในจังหวัดสมุทรสาคร ในภาพรวมอยู่ในระดับมากในรายข้ออยู่ในระดับมาก ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร พบว่า ปัจจัยด้านจิตวิทยา มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือปัจจัยด้านสังคมและเศรษฐกิจ นอกจากนี้ผลการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรพบว่าปัจจัยสิ่งแวดล้อม ปัจจัยทางสังคมและเศรษฐกิจ ปัจจัยทางด้านจิตวิทยา กับการบริหารแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่า ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัยการบริหารแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร ควรมีการกำหนดแผนแม่บทและยุทธศาสตร์ในการบริหารงานแรงงานต่างด้าวให้มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น เนื่องจากในแต่ละพื้นที่มีบริบทที่แตกต่างกันคือ 1) รัฐควรสนับสนุนให้มีการคุ้มครองแรงงานต่างด้าวโดยเฉพาะในเรื่องอัตราค่าจ้างสำหรับแรงงานต่างด้าวที่จดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย 2) รัฐควรมีการจัดการฐานข้อมูลแรงงานต่างด้าวอย่างทั่วถึง โดยมีมาตรการในแง่ของกฎหมาย Curricular : MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27944 SIU THE-T. การบริหารแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร = Administration of Myanmarian workers by Thai entrepreneurs in Samutsakhorn Province [printed text] / กันยา ศรีสวัสดิ์, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - viii, 243 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-06
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]แรงงาน -- การบริหาร
[LCSH]แรงงานต่างด้าวพม่า -- ไทย -- สมุทรสาครKeywords: การบริหารแรงงาน,
แรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่า,
จังหวัดสมุทรสาครAbstract: การวิจัยเรื่อง การบริหารแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทยในจังหวัดสมุทรสาครมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลกับการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร เป็นการวิจัยผสานวิธี (mixed methods methodology approach) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ผู้ประกอบการธุรกิจอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าจำนวน 90,000 คน (ข้อมูลสถิติจำนวนประชากร, 2560) คำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของยามาเน่ (Yamane, 2014) ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน ผลการวิจัยพบว่าการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทยในจังหวัดสมุทรสาคร ในภาพรวมอยู่ในระดับมากในรายข้ออยู่ในระดับมาก ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร พบว่า ปัจจัยด้านจิตวิทยา มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือปัจจัยด้านสังคมและเศรษฐกิจ นอกจากนี้ผลการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรพบว่าปัจจัยสิ่งแวดล้อม ปัจจัยทางสังคมและเศรษฐกิจ ปัจจัยทางด้านจิตวิทยา กับการบริหารแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่า ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัยการบริหารแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร ควรมีการกำหนดแผนแม่บทและยุทธศาสตร์ในการบริหารงานแรงงานต่างด้าวให้มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น เนื่องจากในแต่ละพื้นที่มีบริบทที่แตกต่างกันคือ 1) รัฐควรสนับสนุนให้มีการคุ้มครองแรงงานต่างด้าวโดยเฉพาะในเรื่องอัตราค่าจ้างสำหรับแรงงานต่างด้าวที่จดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย 2) รัฐควรมีการจัดการฐานข้อมูลแรงงานต่างด้าวอย่างทั่วถึง โดยมีมาตรการในแง่ของกฎหมาย Curricular : MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27944 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607975 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-06 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607974 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-06 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 / สมศักดิ์ คงทอง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : การบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 Original title : Integrating Phuket Province’s Public Disaster Management into Thailand 4.0 Contexts Material Type: printed text Authors: สมศักดิ์ คงทอง, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: xi, 256 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-05
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบรรเทาสาธารณภัย -- การจัดการ
[LCSH]การพัฒนาประเทศ -- ไทย -- ภูเก็ตKeywords: การบูรณาการ,
การจัดการสาธารณภัย,
บริบทประเทศไทย 4.0Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาพฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 2) ศึกษาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 3) ศึกษาการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพกับการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 5) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการสาธารณภัยกับการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 และ 6) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0
การวิจัยเป็นการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) ระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยผู้วิจัยได้อาศัยวิธีดำเนินการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้การวิจัยภาคสนามจากการสัมภาษณ์เชิงลึก จากผู้เชี่ยวชาญและผู้บริหารหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ต ได้แก่ นายอำเภอจังหวัดภูเก็ต จำนวน 3 คน หัวหน้าสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ต จำนวน 2 คน ผู้บังคับการ และผู้กำกับการสถานีตำรวจจังหวัดภูเก็ต จำนวน 4 คน รวมทั้งเจ้าหน้าที่บริการทางการแพทย์และสาธารณสุขจังหวัดภูเก็ต จำนวน 2 คน มาจาก 3 อำเภอของจังหวัดภูเก็ต ได้แก่ อำเภอเมือง อำเภอถลาง อำเภอกะทู้ รวมจำนวน 11 คน ประกอบกับการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากร และกลุ่มตัวอย่างประชาชนที่อยู่อาศัยจริงในเขตพื้นที่ศึกษา จำนวนทั้งสิ้น 400 คน จากจำนวนประชากร 402,017 คน โดยการใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson product-moment correlation coefficient) ควบคู่กับการสำรวจข้อมูลจากการศึกษาค้นคว้าทางเอกสาร
ผลการวิจัยพบว่า 1) พฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( =3.192, S.D=0.690) 2) การจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( =3.183, S.D=0.712) 3) การบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( =3.201, S.D=0.675) 4) ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพกับการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 เมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ พบว่า พฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 โดยมีค่า r=0.980 (p‹0.01) ซึ่งแสดงว่ามีความสัมพันธ์กันในระดับสูงอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 5) ความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการสาธารณภัยกับการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 เมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ พบว่า การจัดการสาธารณภัยมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 โดยมีค่า r=0.965 (p‹0.01) ซึ่งแสดงว่ามีความสัมพันธ์กันในระดับสูงอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 6) ปัญหาและอุปสรรคในการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 พบว่า ส่วนใหญ่ประสบปัญหาด้านการประสานงานร่วมกับหน่วยงานใกล้เคียง และภาคส่วนต่างๆ ในการแก้ปัญหาสาธารณภัยยังไม่ได้รับความร่วมมือเท่าที่ควร ร้อยละ 31.5 รองลงมาคือ ด้านการให้ความรู้แก่ประชาชนในการจัดการสาธารณภัยอย่างเป็นระบบและยั่งยืน ร้อยละ 23.1 ด้านการสร้างจิตสำนึกในการรับผิดชอบร่วมกันในการบริหารจัดการสาธารณภัย ร้อยละ 18.8 ด้านการประชาสัมพันธ์ให้แก่ประชาชนในพื้นที่ทราบเกี่ยวกับการจัดการสาธารณภัย ร้อยละ 18.0 ด้านการรับฟังความคิดเห็น และการรับฟังปัญหาจากประชาชนก่อนดำเนินการจัดทำแผนป้องกันฯ เพื่อใช้รับมือกับปัญหาสาธารณภัย ร้อยละ 4.8 และด้านอุปกรณ์การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพไม่เพียงพอเพื่อใช้ในการสื่อสาร ร้อยละ 3.8 ตามลำดับ ซึ่งข้อมูลและข้อค้นพบที่ได้จากการศึกษาจะนำไปใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุง และพัฒนางานด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตให้มีประสิทธิผล และประสิทธิภาพต่อไปCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27943 SIU THE-T. การบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 = Integrating Phuket Province’s Public Disaster Management into Thailand 4.0 Contexts [printed text] / สมศักดิ์ คงทอง, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - xi, 256 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-05
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบรรเทาสาธารณภัย -- การจัดการ
[LCSH]การพัฒนาประเทศ -- ไทย -- ภูเก็ตKeywords: การบูรณาการ,
การจัดการสาธารณภัย,
บริบทประเทศไทย 4.0Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาพฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 2) ศึกษาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 3) ศึกษาการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพกับการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 5) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการสาธารณภัยกับการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 และ 6) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0
การวิจัยเป็นการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) ระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยผู้วิจัยได้อาศัยวิธีดำเนินการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้การวิจัยภาคสนามจากการสัมภาษณ์เชิงลึก จากผู้เชี่ยวชาญและผู้บริหารหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ต ได้แก่ นายอำเภอจังหวัดภูเก็ต จำนวน 3 คน หัวหน้าสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ต จำนวน 2 คน ผู้บังคับการ และผู้กำกับการสถานีตำรวจจังหวัดภูเก็ต จำนวน 4 คน รวมทั้งเจ้าหน้าที่บริการทางการแพทย์และสาธารณสุขจังหวัดภูเก็ต จำนวน 2 คน มาจาก 3 อำเภอของจังหวัดภูเก็ต ได้แก่ อำเภอเมือง อำเภอถลาง อำเภอกะทู้ รวมจำนวน 11 คน ประกอบกับการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากร และกลุ่มตัวอย่างประชาชนที่อยู่อาศัยจริงในเขตพื้นที่ศึกษา จำนวนทั้งสิ้น 400 คน จากจำนวนประชากร 402,017 คน โดยการใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson product-moment correlation coefficient) ควบคู่กับการสำรวจข้อมูลจากการศึกษาค้นคว้าทางเอกสาร
ผลการวิจัยพบว่า 1) พฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( =3.192, S.D=0.690) 2) การจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( =3.183, S.D=0.712) 3) การบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( =3.201, S.D=0.675) 4) ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพกับการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 เมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ พบว่า พฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 โดยมีค่า r=0.980 (p‹0.01) ซึ่งแสดงว่ามีความสัมพันธ์กันในระดับสูงอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 5) ความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการสาธารณภัยกับการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 เมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ พบว่า การจัดการสาธารณภัยมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 โดยมีค่า r=0.965 (p‹0.01) ซึ่งแสดงว่ามีความสัมพันธ์กันในระดับสูงอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 6) ปัญหาและอุปสรรคในการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 พบว่า ส่วนใหญ่ประสบปัญหาด้านการประสานงานร่วมกับหน่วยงานใกล้เคียง และภาคส่วนต่างๆ ในการแก้ปัญหาสาธารณภัยยังไม่ได้รับความร่วมมือเท่าที่ควร ร้อยละ 31.5 รองลงมาคือ ด้านการให้ความรู้แก่ประชาชนในการจัดการสาธารณภัยอย่างเป็นระบบและยั่งยืน ร้อยละ 23.1 ด้านการสร้างจิตสำนึกในการรับผิดชอบร่วมกันในการบริหารจัดการสาธารณภัย ร้อยละ 18.8 ด้านการประชาสัมพันธ์ให้แก่ประชาชนในพื้นที่ทราบเกี่ยวกับการจัดการสาธารณภัย ร้อยละ 18.0 ด้านการรับฟังความคิดเห็น และการรับฟังปัญหาจากประชาชนก่อนดำเนินการจัดทำแผนป้องกันฯ เพื่อใช้รับมือกับปัญหาสาธารณภัย ร้อยละ 4.8 และด้านอุปกรณ์การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพไม่เพียงพอเพื่อใช้ในการสื่อสาร ร้อยละ 3.8 ตามลำดับ ซึ่งข้อมูลและข้อค้นพบที่ได้จากการศึกษาจะนำไปใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุง และพัฒนางานด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตให้มีประสิทธิผล และประสิทธิภาพต่อไปCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27943 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607988 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-05 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607985 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-05 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของประชาชนในจังหวัดตาก / ณรงค์ พึ่งพานิช / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU THE-T Title : การมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของประชาชนในจังหวัดตาก Original title : People Participation in Democratic System at Tak Province Material Type: printed text Authors: ณรงค์ พึ่งพานิช, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: ix, 166 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-06
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การมีส่วนร่วมทางการเมือง -- ตาก
[LCSH]ประชาธิปไตยKeywords: การมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตย Abstract: การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของประชาชนในจังหวัดตาก เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของประชาชนในจังหวัดตาก จำแนกตามลักษณะส่วนบุคคล และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมทางการเมืองกับการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของประชาชนในจังหวัดตาก เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ หน่วยวิเคราะห์คือ ประชาชนในจังหวัดตากที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป ประชากรและกลุ่มตัวอย่างเป็นประชาชนในจังหวัดตากจำนวน 400 ราย สถิติที่ใช้คือ ค่าร้อยละ ความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนแบบมาตรฐาน ค่าสถิต ที – เทส เอฟ – เทส ค่าสถิติเพียร์สัน
การวิจัยพบว่า
1) ระดับการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของประชาชนในจังหวัดตาก ในภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง รองลงมา ระดับการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยสูง
2) การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของประชาชนในจังหวัดตาก พบว่า ปัจจัยความเสมอภาคทางสังคมและทางการเมือง มีค่าเฉลี่ยสูดสุด รองลงมา คือ ปัจจัยสิ่งจูงใจ
3) เพศที่แตกต่างกัน มีผลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาชนในจังหวัดตาก ไม่แตกต่างกัน ส่วน อายุ ระดับการศึกษา รายได้ และอาชีพ ที่แตกต่างกัน มีผลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาชนในจังหวัดตาก แตกต่างกัน
4) ทุกพฤติกรรมทางการเมือง มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของประชาชนในจังหวัดตาก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ณ ระดับความเชื่อมั่น 0.01Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27837 SIU THE-T. การมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของประชาชนในจังหวัดตาก = People Participation in Democratic System at Tak Province [printed text] / ณรงค์ พึ่งพานิช, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - ix, 166 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-06
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การมีส่วนร่วมทางการเมือง -- ตาก
[LCSH]ประชาธิปไตยKeywords: การมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตย Abstract: การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของประชาชนในจังหวัดตาก เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของประชาชนในจังหวัดตาก จำแนกตามลักษณะส่วนบุคคล และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมทางการเมืองกับการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของประชาชนในจังหวัดตาก เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ หน่วยวิเคราะห์คือ ประชาชนในจังหวัดตากที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป ประชากรและกลุ่มตัวอย่างเป็นประชาชนในจังหวัดตากจำนวน 400 ราย สถิติที่ใช้คือ ค่าร้อยละ ความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนแบบมาตรฐาน ค่าสถิต ที – เทส เอฟ – เทส ค่าสถิติเพียร์สัน
การวิจัยพบว่า
1) ระดับการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของประชาชนในจังหวัดตาก ในภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง รองลงมา ระดับการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยสูง
2) การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของประชาชนในจังหวัดตาก พบว่า ปัจจัยความเสมอภาคทางสังคมและทางการเมือง มีค่าเฉลี่ยสูดสุด รองลงมา คือ ปัจจัยสิ่งจูงใจ
3) เพศที่แตกต่างกัน มีผลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาชนในจังหวัดตาก ไม่แตกต่างกัน ส่วน อายุ ระดับการศึกษา รายได้ และอาชีพ ที่แตกต่างกัน มีผลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาชนในจังหวัดตาก แตกต่างกัน
4) ทุกพฤติกรรมทางการเมือง มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของประชาชนในจังหวัดตาก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ณ ระดับความเชื่อมั่น 0.01Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27837 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000598175 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-06 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000598209 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-06 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ความพึงพอใจในการบริหารจัดการการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดระยอง / สุรชัย ปิตุเตชะ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : ความพึงพอใจในการบริหารจัดการการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดระยอง Original title : People’s Satisfaction with Public Service Administration of Local Governments in Rayong Province Material Type: printed text Authors: สุรชัย ปิตุเตชะ, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: viii, 161 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-04
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริการ -- ความพึงพอใจ
[LCSH]การบริหารจัดการ
[LCSH]องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -- การบริหารKeywords: องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น,
การบริหารจัดการการให้บริการ,
ความพึงพอใจในการให้บริการAbstract: การวิจัยนี้มีความมุ่งหมาย ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพการบริหารจัดการการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2) เพื่อศึกษาปัญหาและสาเหตุของปัญหาการบริหารจัดการการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางและวิธีการแก้ไขปัญหาการบริหารจัดการการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของประชาชนในการบริหารจัดการการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การศึกษาวิจัยครั้งนี้ ใช้วิธีการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research) กลุ่มตัวอย่างใช้วิธีการคัดเลือกเทศบาลในจังหวัดระยอง 3 แห่ง แบบกำหนดพื้นที่ศึกษาเป็นตัวแทนในการศึกษา (purposive sampling) เพื่อสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (key informants) รวม 39 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลกระทำโดยใช้แบบสอบถามเชิงลึกกึ่งโครงสร้าง (semi-structured in-depth interview) ในการศึกษาข้อมูลที่เป็นปัจจัยเชิงลึก เพื่อสอบถามความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งเป็นผู้รู้หรือผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (key informants) โดยการนัดหมายเข้าสัมภาษณ์เพื่อเก็บข้อมูล รวมทั้งจัดสัมมนากลุ่มย่อย (focus group) นำข้อมูลมาวิเคราะห์ ตีความและสรุป
ผลการวิจัย พบว่า การจัดเก็บภาษียังไม่สามารถจัดเก็บได้ครอบคลุมทั่วถึงเนื่องจากฐานข้อมูลผู้เสียภาษีไม่เป็นปัจจุบัน เพราะบุคลากรมีจำกัด ประชาชนไม่พึงพอใจในความเสมอภาค มีความรู้สึกว่าไม่เป็นธรรม จึงไม่เต็มใจที่จะเสียภาษี เพราะการประเมินภาษีไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน เป็นเรื่องของดุลพินิจเฉพาะบุคคล ผู้บริหารท้องถิ่นที่ได้รับตำแหน่งจากการลงคะแนนของชาวบ้าน กังวลกับการเสียคะแนนนิยม
การออกใบอนุญาตก่อสร้างล่าช้า ผู้ใช้บริการไม่พึงพอใจในความเสมอภาค มีความรู้สึกว่าเจ้าหน้าที่ปฏิบัติไม่เป็นไปในมาตรฐานเดียวกัน ไม่มีประสิทธิภาพ เพราะขาดบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถ ขาดอุปกรณ์เครื่องมือที่ทันสมัย
การให้บริการด้านงานทะเบียนราษฎร์และบัตรประจำตัวประชาชน ผู้ใช้บริการไม่พึงพอใจในความต่อเนื่องของการให้บริการ เพราะให้บริการได้จำกัด เนื่องจากต้องเชื่อมต่อฐานข้อมูลกับศูนย์ข้อมูลของกรมการปกครองซึ่งกระทำได้เฉพาะในเวลาราชการ
จากผลการวิจัยมีข้อเสนอแนะ เทศบาลควรจัดหาบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถพร้อมเครื่องมืออุปกรณ์ที่ทันสมัย เหมาะสมและเพียงพอกับการให้บริการแต่ละภารกิจ และจะต้องให้บริการเป็นมาตรฐานเดียวกัน มีความเสมอภาค เป็นธรรมและโปร่งใส เพิ่มประสิทธิภาพและความเข้มแข็งขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดทำบริการสาธารณะสนองตอบความต้องการของประชาชนCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27942 SIU THE-T. ความพึงพอใจในการบริหารจัดการการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดระยอง = People’s Satisfaction with Public Service Administration of Local Governments in Rayong Province [printed text] / สุรชัย ปิตุเตชะ, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - viii, 161 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-04
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริการ -- ความพึงพอใจ
[LCSH]การบริหารจัดการ
[LCSH]องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -- การบริหารKeywords: องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น,
การบริหารจัดการการให้บริการ,
ความพึงพอใจในการให้บริการAbstract: การวิจัยนี้มีความมุ่งหมาย ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพการบริหารจัดการการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2) เพื่อศึกษาปัญหาและสาเหตุของปัญหาการบริหารจัดการการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางและวิธีการแก้ไขปัญหาการบริหารจัดการการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของประชาชนในการบริหารจัดการการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การศึกษาวิจัยครั้งนี้ ใช้วิธีการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research) กลุ่มตัวอย่างใช้วิธีการคัดเลือกเทศบาลในจังหวัดระยอง 3 แห่ง แบบกำหนดพื้นที่ศึกษาเป็นตัวแทนในการศึกษา (purposive sampling) เพื่อสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (key informants) รวม 39 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลกระทำโดยใช้แบบสอบถามเชิงลึกกึ่งโครงสร้าง (semi-structured in-depth interview) ในการศึกษาข้อมูลที่เป็นปัจจัยเชิงลึก เพื่อสอบถามความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งเป็นผู้รู้หรือผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (key informants) โดยการนัดหมายเข้าสัมภาษณ์เพื่อเก็บข้อมูล รวมทั้งจัดสัมมนากลุ่มย่อย (focus group) นำข้อมูลมาวิเคราะห์ ตีความและสรุป
ผลการวิจัย พบว่า การจัดเก็บภาษียังไม่สามารถจัดเก็บได้ครอบคลุมทั่วถึงเนื่องจากฐานข้อมูลผู้เสียภาษีไม่เป็นปัจจุบัน เพราะบุคลากรมีจำกัด ประชาชนไม่พึงพอใจในความเสมอภาค มีความรู้สึกว่าไม่เป็นธรรม จึงไม่เต็มใจที่จะเสียภาษี เพราะการประเมินภาษีไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน เป็นเรื่องของดุลพินิจเฉพาะบุคคล ผู้บริหารท้องถิ่นที่ได้รับตำแหน่งจากการลงคะแนนของชาวบ้าน กังวลกับการเสียคะแนนนิยม
การออกใบอนุญาตก่อสร้างล่าช้า ผู้ใช้บริการไม่พึงพอใจในความเสมอภาค มีความรู้สึกว่าเจ้าหน้าที่ปฏิบัติไม่เป็นไปในมาตรฐานเดียวกัน ไม่มีประสิทธิภาพ เพราะขาดบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถ ขาดอุปกรณ์เครื่องมือที่ทันสมัย
การให้บริการด้านงานทะเบียนราษฎร์และบัตรประจำตัวประชาชน ผู้ใช้บริการไม่พึงพอใจในความต่อเนื่องของการให้บริการ เพราะให้บริการได้จำกัด เนื่องจากต้องเชื่อมต่อฐานข้อมูลกับศูนย์ข้อมูลของกรมการปกครองซึ่งกระทำได้เฉพาะในเวลาราชการ
จากผลการวิจัยมีข้อเสนอแนะ เทศบาลควรจัดหาบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถพร้อมเครื่องมืออุปกรณ์ที่ทันสมัย เหมาะสมและเพียงพอกับการให้บริการแต่ละภารกิจ และจะต้องให้บริการเป็นมาตรฐานเดียวกัน มีความเสมอภาค เป็นธรรมและโปร่งใส เพิ่มประสิทธิภาพและความเข้มแข็งขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดทำบริการสาธารณะสนองตอบความต้องการของประชาชนCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27942 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607996 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-04 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607993 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-04 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของรูปแบบการปราบปรามยาเสพติดในเขตภาคเหนือตอนบน / ธานี ตันจันทร์กูล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของรูปแบบการปราบปรามยาเสพติดในเขตภาคเหนือตอนบน Original title : Influencing Factors Upon the Achievement of Narcotic Prevention and Suppression Pattern in the Upper Northern Thailand Material Type: printed text Authors: ธานี ตันจันทร์กูล, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: viii, 194 น. Layout: ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-08
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ยาเสพติด -- การป้องกัน -- ภาคเหนือ Keywords: การปราบปรามยาเสพติด,
ภาคเหนือตอนบนAbstract: งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสถานการณ์เกี่ยวกับยาเสพติดในเขตภาคเหนือตอนบน 2) ศึกษารูปแบบการกระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดในเขตภาคเหนือตอนบน 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของรูปแบบการปราบปรามยาเสพติดในเขตภาคเหนือตอนบน และ 4) เพื่อศึกษารูปแบบการปราบปรามยาเสพติดที่ประสบความสำเร็จในเขตภาคเหนือตอนบน
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยผู้วิจัยได้อาศัยวิธีดำเนินการวิจัยเชิงคุณภาพโดยศึกษาเอกสาร และสัมภาษณ์เชิงลึกเจ้าหน้าที่ตำรวจจำนวน 4 นาย และ ผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด จำนวน 4 คน และสนทนากลุ่มเจ้าหน้าที่ตำรวจที่ปฏิบัติหน้าที่และมีความรับผิดชอบโดยตรงเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดจำนวน 6 นาย และการสนทนากลุ่มผู้กระทำผิดเกี่ยวกับยาเสพติดจำนวน 6 คน รวมทั้งสิ้น 20 คน ใช้การสังเกตการณ์ควบคู่ไปกับการลงพื้นที่เก็บข้อมูล หลังจากนั้นวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ประเด็นจากการสัมภาษณ์รวมถึงการสนทนากลุ่ม และมีการอภิปรายผลการวิจัย
ผลการวิจัยพบว่า
1) สถานการณ์ยาเสพติดรุนแรงขึ้นทุกด้าน ทั้งด้านการผลิตที่สามารถผลิตได้มากขึ้นเพราะมีเครื่องมือที่ทันสมัยและแหล่งผลิตรายใหญ่อยู่บริเวณรัฐฉาน สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่าและบริเวณสามเหลี่ยมทองคำ สถานการณ์ด้านลักลอบนำเข้ายาเสพติดกลุ่มคนที่ลักลอบนำเข้ายาเสพติดเข้าสู่ประเทศไทยส่วนใหญ่จะเป็นกลุ่มชนเผ่า ที่อาศัยอยู่ตามแนวตะเข็บชายแดนในภาคเหนือมีทั้งในระดับสั่งการและลำเลียงนำเข้ายาเสพติดเข้าสู่ประเทศไทยมีทั้งหมดหกกลุ่มคือกลุ่มมูเซอ กลุ่มลีซอ กลุ่มจีนฮ่อ กลุ่มอาข่า กลุ่มม้งและกลุ่มว้า สถานการณ์ ด้านการรับพักยาเสพติดแหล่งพักยาแหล่งใหญ่ ก่อนนำเข้าสู่ชายแดนประเทศไทย ก็จะมีแหล่งพักยาเสพติดอยู่ที่ สปป. ลาว ได้แก่แหล่งพักคอยคิงส์โรมัน เมืองต้นผึ้ง แขวงบ่อแก้ว สปป. ลาว และเมื่อเข้ามายังพื้นที่ชายแดนประเทศไทย จะเก็บพักในบ้าน หรือโกดังขนาดใหญ่ในชายแดนไทย สถานการณ์ด้านการขายยาเสพติดกลุ่มที่นักค้ายารายใหญ่ในภาคเหนือตอนบนมีหลายกลุ่ม กลุ่มหลัก คือ กลุ่มพันโทจะลอโบ่ บ้านแม่ฟ้าหลวง กลุ่มพันโทยี่เซและกลุ่มว้า สำหรับสถานณ์การเสพยาเสพติดที่มีการนิยมเสพยาเสพติดมากที่สุดคือยาบ้า โดยกลุ่มผู้เสพยาเสพติดมากที่สุดคือกลุ่มผู้ใช้แรงงาน
2) รูปแบบการกระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดในเขตภาคเหนือตอนบน มีหลากหลายวิธีซึ่งผู้กระทำความผิดจะปรับเปลี่ยนและคิดค้นหาวิธีใหม่เสมอเพื่อหลบเลี่ยงการจับกุมของเจ้าหน้าที่ตำรวจ
3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของรูปแบบการปราบปรามยาเสพติด ในเขตภาคเหนือตอนบน ได้แก่ (1) นโยบาย (2) การบังคับใช้กฎหมาย เนื่องจากยาเสพติดเป็นสิ่งผิดกฎหมาย ดังนั้น กฎหมาย ข้อบังคับหรือมาตรการทางสังคม จึงเป็นเครื่องมือสำคัญที่สามารถนำมาใช้ในการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดได้ในกรณีที่มีความจำเป็น (3) งบประมาณ (4) การจัดการแบบองค์รวม (5) การมีประสบการณ์ (6) เทคโนโลยี (7) ทีมงาน (8) การถ่ายทอดหรือส่งต่อความรู้ (9) ภาคีเครือข่ายที่ต้องทำงาน (10) สายลับหรือสายข่าว ร่วมกัน ที่คอยสอดส่องเป็นหูเป็นตาและแจ้งเหตุให้เจ้าหน้าที่ตำรวจ (11) การสร้างขวัญและกำลังใจ ในการทำงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ปัจจัยเหล่านี้ส่งผลต่อการปราบปรามยาเสพติดในเขตภาคเหนือตอนบนทั้งสิ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27946 SIU THE-T. ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของรูปแบบการปราบปรามยาเสพติดในเขตภาคเหนือตอนบน = Influencing Factors Upon the Achievement of Narcotic Prevention and Suppression Pattern in the Upper Northern Thailand [printed text] / ธานี ตันจันทร์กูล, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - viii, 194 น. : ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-08
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ยาเสพติด -- การป้องกัน -- ภาคเหนือ Keywords: การปราบปรามยาเสพติด,
ภาคเหนือตอนบนAbstract: งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสถานการณ์เกี่ยวกับยาเสพติดในเขตภาคเหนือตอนบน 2) ศึกษารูปแบบการกระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดในเขตภาคเหนือตอนบน 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของรูปแบบการปราบปรามยาเสพติดในเขตภาคเหนือตอนบน และ 4) เพื่อศึกษารูปแบบการปราบปรามยาเสพติดที่ประสบความสำเร็จในเขตภาคเหนือตอนบน
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยผู้วิจัยได้อาศัยวิธีดำเนินการวิจัยเชิงคุณภาพโดยศึกษาเอกสาร และสัมภาษณ์เชิงลึกเจ้าหน้าที่ตำรวจจำนวน 4 นาย และ ผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด จำนวน 4 คน และสนทนากลุ่มเจ้าหน้าที่ตำรวจที่ปฏิบัติหน้าที่และมีความรับผิดชอบโดยตรงเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดจำนวน 6 นาย และการสนทนากลุ่มผู้กระทำผิดเกี่ยวกับยาเสพติดจำนวน 6 คน รวมทั้งสิ้น 20 คน ใช้การสังเกตการณ์ควบคู่ไปกับการลงพื้นที่เก็บข้อมูล หลังจากนั้นวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ประเด็นจากการสัมภาษณ์รวมถึงการสนทนากลุ่ม และมีการอภิปรายผลการวิจัย
ผลการวิจัยพบว่า
1) สถานการณ์ยาเสพติดรุนแรงขึ้นทุกด้าน ทั้งด้านการผลิตที่สามารถผลิตได้มากขึ้นเพราะมีเครื่องมือที่ทันสมัยและแหล่งผลิตรายใหญ่อยู่บริเวณรัฐฉาน สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่าและบริเวณสามเหลี่ยมทองคำ สถานการณ์ด้านลักลอบนำเข้ายาเสพติดกลุ่มคนที่ลักลอบนำเข้ายาเสพติดเข้าสู่ประเทศไทยส่วนใหญ่จะเป็นกลุ่มชนเผ่า ที่อาศัยอยู่ตามแนวตะเข็บชายแดนในภาคเหนือมีทั้งในระดับสั่งการและลำเลียงนำเข้ายาเสพติดเข้าสู่ประเทศไทยมีทั้งหมดหกกลุ่มคือกลุ่มมูเซอ กลุ่มลีซอ กลุ่มจีนฮ่อ กลุ่มอาข่า กลุ่มม้งและกลุ่มว้า สถานการณ์ ด้านการรับพักยาเสพติดแหล่งพักยาแหล่งใหญ่ ก่อนนำเข้าสู่ชายแดนประเทศไทย ก็จะมีแหล่งพักยาเสพติดอยู่ที่ สปป. ลาว ได้แก่แหล่งพักคอยคิงส์โรมัน เมืองต้นผึ้ง แขวงบ่อแก้ว สปป. ลาว และเมื่อเข้ามายังพื้นที่ชายแดนประเทศไทย จะเก็บพักในบ้าน หรือโกดังขนาดใหญ่ในชายแดนไทย สถานการณ์ด้านการขายยาเสพติดกลุ่มที่นักค้ายารายใหญ่ในภาคเหนือตอนบนมีหลายกลุ่ม กลุ่มหลัก คือ กลุ่มพันโทจะลอโบ่ บ้านแม่ฟ้าหลวง กลุ่มพันโทยี่เซและกลุ่มว้า สำหรับสถานณ์การเสพยาเสพติดที่มีการนิยมเสพยาเสพติดมากที่สุดคือยาบ้า โดยกลุ่มผู้เสพยาเสพติดมากที่สุดคือกลุ่มผู้ใช้แรงงาน
2) รูปแบบการกระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดในเขตภาคเหนือตอนบน มีหลากหลายวิธีซึ่งผู้กระทำความผิดจะปรับเปลี่ยนและคิดค้นหาวิธีใหม่เสมอเพื่อหลบเลี่ยงการจับกุมของเจ้าหน้าที่ตำรวจ
3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของรูปแบบการปราบปรามยาเสพติด ในเขตภาคเหนือตอนบน ได้แก่ (1) นโยบาย (2) การบังคับใช้กฎหมาย เนื่องจากยาเสพติดเป็นสิ่งผิดกฎหมาย ดังนั้น กฎหมาย ข้อบังคับหรือมาตรการทางสังคม จึงเป็นเครื่องมือสำคัญที่สามารถนำมาใช้ในการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดได้ในกรณีที่มีความจำเป็น (3) งบประมาณ (4) การจัดการแบบองค์รวม (5) การมีประสบการณ์ (6) เทคโนโลยี (7) ทีมงาน (8) การถ่ายทอดหรือส่งต่อความรู้ (9) ภาคีเครือข่ายที่ต้องทำงาน (10) สายลับหรือสายข่าว ร่วมกัน ที่คอยสอดส่องเป็นหูเป็นตาและแจ้งเหตุให้เจ้าหน้าที่ตำรวจ (11) การสร้างขวัญและกำลังใจ ในการทำงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ปัจจัยเหล่านี้ส่งผลต่อการปราบปรามยาเสพติดในเขตภาคเหนือตอนบนทั้งสิ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27946 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607969 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-08 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607971 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-08 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. พฤติกรรมการป้องกันอาชญากรรมคดีข่มขืน / ฉัตรกวินฐ์ กุลโท / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU THE-T Title : พฤติกรรมการป้องกันอาชญากรรมคดีข่มขืน Original title : Behavior of Crime Prevention Against Rape Cases Material Type: printed text Authors: ฉัตรกวินฐ์ กุลโท, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: ix, 195 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500 Baht General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-09
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]อาชญากรรม -- การป้องกัน
[LCSH]อาชญากรรมทางเพศ -- วิจัยKeywords: การป้องกัน, คดีข่มขืน, พฤติกรรม, อาชญากรรม Abstract: การศึกษานี้เป็นวิจัยแบบผสมระหว่างเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการป้องกันอาชญากรรมคดีข่มขืน (2) เปรียบเทียบปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคลกับพฤติกรรมการป้องกันอาชญากรรมคดีข่มขืน และ (3) หาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่ส่งผลต่อการป้องกันอาชญากรรมคดีข่มขืนกับพฤติกรรมการป้องกันอาชญากรรมคดีข่มขืน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามแบบเลือกตอบและแบบสัมภาษณ์ จากกลุ่มจากประชาชนที่อาศัยในเขตเทศบาลนคร นครราชสีมา จำนวน 400 คน วิจัยนี้ใช้สถิติการหาค่าความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ (Multiple Regressions) ทดสอบตัวแปร และการทดสอบสมมุติฐานที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05
ผลการวิจัย พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุระหว่าง 20 -30 ปี มีสถานภาพสมรส มีวุฒิการศึกษาปริญญาตรี นับถือศาสนาพุทธ ประกอบธุรกิจส่วนตัว มีรายได้ 15,001 – 20,000 บาทต่อเดือน นอกจากนี้ผลการวิจัยพบว่าปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมในการป้องกันอาชญากรรมคดีข่มขืน ประกอบด้วยนโยบายด้านการปราบปราม ด้านการสื่อสารเครือข่ายชุมชน ด้านมวลชนและการสร้างเครือข่าย ด้านเทคโนโลยีกล้องวงจรปิด ด้านระบบสายตรวจ และด้านอาชญวิทยา เรียงตามลำดับ นอกจากนี้ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยด้านการสื่อสารเครือข่ายชุมชน ด้านนโยบายการปราบปราม ด้านมวลชนและการสร้างเครือข่าย ด้านเทคโนโลยีกล้องวงจรปิด เป็นตัวพยากรณ์พฤติกรรมการป้องกันอาชญากรรมคดีข่มขืนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27879 SIU THE-T. พฤติกรรมการป้องกันอาชญากรรมคดีข่มขืน = Behavior of Crime Prevention Against Rape Cases [printed text] / ฉัตรกวินฐ์ กุลโท, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - ix, 195 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500 Baht
SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-09
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]อาชญากรรม -- การป้องกัน
[LCSH]อาชญากรรมทางเพศ -- วิจัยKeywords: การป้องกัน, คดีข่มขืน, พฤติกรรม, อาชญากรรม Abstract: การศึกษานี้เป็นวิจัยแบบผสมระหว่างเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการป้องกันอาชญากรรมคดีข่มขืน (2) เปรียบเทียบปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคลกับพฤติกรรมการป้องกันอาชญากรรมคดีข่มขืน และ (3) หาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่ส่งผลต่อการป้องกันอาชญากรรมคดีข่มขืนกับพฤติกรรมการป้องกันอาชญากรรมคดีข่มขืน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามแบบเลือกตอบและแบบสัมภาษณ์ จากกลุ่มจากประชาชนที่อาศัยในเขตเทศบาลนคร นครราชสีมา จำนวน 400 คน วิจัยนี้ใช้สถิติการหาค่าความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ (Multiple Regressions) ทดสอบตัวแปร และการทดสอบสมมุติฐานที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05
ผลการวิจัย พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุระหว่าง 20 -30 ปี มีสถานภาพสมรส มีวุฒิการศึกษาปริญญาตรี นับถือศาสนาพุทธ ประกอบธุรกิจส่วนตัว มีรายได้ 15,001 – 20,000 บาทต่อเดือน นอกจากนี้ผลการวิจัยพบว่าปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมในการป้องกันอาชญากรรมคดีข่มขืน ประกอบด้วยนโยบายด้านการปราบปราม ด้านการสื่อสารเครือข่ายชุมชน ด้านมวลชนและการสร้างเครือข่าย ด้านเทคโนโลยีกล้องวงจรปิด ด้านระบบสายตรวจ และด้านอาชญวิทยา เรียงตามลำดับ นอกจากนี้ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยด้านการสื่อสารเครือข่ายชุมชน ด้านนโยบายการปราบปราม ด้านมวลชนและการสร้างเครือข่าย ด้านเทคโนโลยีกล้องวงจรปิด เป็นตัวพยากรณ์พฤติกรรมการป้องกันอาชญากรรมคดีข่มขืนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27879 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000598571 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-09 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000598597 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-09 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. รูปแบบการจัดการท่องเที่ยวชุมชนต้นแบบ จังหวัดลำปาง / รัชฎาภรณ์ ทองแป้น / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : รูปแบบการจัดการท่องเที่ยวชุมชนต้นแบบ จังหวัดลำปาง Original title : Prototype of Community Tourism Management Pattern in Lampang Province Material Type: printed text Authors: รัชฎาภรณ์ ทองแป้น, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: ix, 187 น. Layout: ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-07
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การท่องเที่ยว -- การจัดการ -- ลำปาง
[LCSH]ชุมชนต้นแบบKeywords: รูปแบบการจัดการ,
ชุมชนต้นแบบAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาบริบทของชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบ จังหวัดลำปาง 2) เพื่อศึกษาศักยภาพของชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบ จังหวัดลำปาง 3) เพื่อศึกษาปัจจัยความสำเร็จในการบริหารจัดการชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบ จังหวัดลำปาง
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยผู้วิจัยได้อาศัยวิธีดำเนินการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการศึกษาเอกสาร และสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ให้ข้อมูลหลักที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว ประกอบด้วย ผู้นำชุมชน ชาวบ้าน นักท่องเที่ยวและภาคีที่เกี่ยวข้องกับชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบทั้ง 2 ชุมชน คือชุมชนบ้านป่าเหมี้ยง ตำบลแจ้ซ้อน อำเภอเมืองปาน จังหวัดลำปางจำนวน 15 คน และชุมชนบ้านสามขา ตำบลหัวเสือ อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปางจำนวน 15 คน รวมทั้งสิ้น 30 คน รวมทั้งสนทนากลุ่ม ผู้มีส่วนได้เสียในการบริหารจัดการชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบ ประกอบด้วย ผู้นำชุมชนจำนวนบ้านป่าเหมี้ยงจำนวน 3 คน ผู้นำชุมชนจำนวนบ้านสามขาจำนวน 3 คน ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบจำนวน 6 คน และนักท่องเที่ยวจำนวน 6 คน รวมทั้งสิ้น 18 คน หลังจากนั้นวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ประเด็นจากการสัมภาษณ์ สนทนากลุ่ม และมีการอภิปรายผลการวิจัย
ผลการวิจัยพบว่า
1) บริบทชุมชนท่องเที่ยวจังหวัดลำปางทั้งสองชุมชนมีสภาพภูมิศาสตร์ที่เหมาะสมคือตั้งอยู่ในสภาพภูมิประเทศที่สวยงาม อากาศดี มีทรัพยากรการท่องเที่ยวที่หลากหลาย ด้านประชากรคนในชุมชนเป็นกลุ่มคนเมืองเหมือนกัน มีภาษา วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี ความเชื่อเดียวกันจึงทำให้อยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข สภาพสังคมเศรษฐกิจ ชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบเป็นหมู่บ้านที่ยังคงอัตลักษณ์ของชุมชนดั้งเดิมไว้ วิถีชีวิตคนของคนในชุมชนเป็นสังคมแบบเกษตรกรรม รายได้หลักของคนในชุมชนมาจากภาคเกษตรกรรมนอกจากนี้ชุมชนยังมีภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรมวิถีชีวิตที่โดดเด่นสามารถดึงดูดใจให้นักท่องเที่ยวมาท่องเที่ยวในชุมชนได้
2) ชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบ จังหวัดลำปางมีศักยภาพในการดำเนินงานด้านการท่องเที่ยว ด้วยบริบทความพร้อมของชุมชนที่มีศักยภาพทั้งด้านทรัพยากรการท่องเที่ยว การเข้าถึงชุมชน สิ่งอำนวยความสะดวก ความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยว และด้านการจัดการท่องเที่ยวจึงทำให้ชุมชนทั้งสองประสบความสำเร็จในการเป็นชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบดังมีรางวัลที่ช่วยการันตีความสำเร็จของชุมชน และยังได้รับคัดเลือกให้เป็นหมู่บ้านท่องเที่ยวต้นแบบของจังหวัดลำปางตามโครงการพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชนต้นแบบเพื่อพัฒนาเชื่อมโยงการท่องเที่ยวภาคเหนือ
3) ปัจจัยความสำเร็จในการบริหารจัดการชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบ จังหวัดลำปาง ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบดังนี้ (1) ชุมชนมีอัตลักษณ์ชุมชนที่โดดเด่น (2) มีกฎระเบียบที่กำหนดไว้เป็นบรรทัดฐานในการอยู่ร่วมกัน (3) การมีส่วนร่วมของชุมชนในทุกขั้นตอนของการพัฒนา (4) ชุมชนมีขนาดเล็ก การบริหารจัดการง่าย (5) ชุมชนมีความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยวทั้งด้านที่พัก ที่จอดรถ รวมถึงรูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยว (6) มีการกระจายผลประโยชน์ในชุมชนอย่างเป็นธรรม (7) การเข้าถึงชุมชนได้อย่างสะดวกสบายและมีการเชื่อมโยงเส้นทางท่องเที่ยวบริเวณใกล้เคียง (8) ชุมชุนมีทรัพยากรการท่องเที่ยวที่หลากหลายและอุดมสมบูรณ์ (9) แกนนำชุมชนหรือผู้นําชุมชน มีความเข้มแข็งเป็นที่ยอมรับของสมาชิกชุมชน (10) มีภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคมเข้ามาให้การสนับสนุน เช่นเรื่องงบประมาณ เรื่องการประชาสัมพันธ์ (11) ชุมชนมีภูมิปัญญาท้องถิ่นให้นักท่องเที่ยวได้ศึกษาเรียนรู้ (12) ชุมชนได้มีการกำหนดรูปแบบกิจกรรมและโปรแกรมการท่องเที่ยวให้นักท่องเที่ยวได้เลือกตามความสนใจ (13) ชุมชนมีสิ่งอำนวยความสะดวกไว้รองรับนักท่องเที่ยวอย่างเพียงพอ ซึ่งข้อมูลและข้อค้นพบจากการศึกษา พบว่า ชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบทั้งสองชุมชนเป็นชุมชนที่มีการพัฒนามาเป็นระยะเวลานานทำให้ชุมชนประสบความสำเร็จในด้านการท่องเที่ยว การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบ ชุมชน หน่วยงานต่างๆ ที่เข้ามาทำงานร่วมกับชุมชน ต้องมองถึงศักยภาพของชุมชน คนในชุมชนต้องมีส่วนร่วมกันอนุรักษ์อัตลักษณ์ของชุมชนและภูมิปัญญาท้องถิ่นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27945 SIU THE-T. รูปแบบการจัดการท่องเที่ยวชุมชนต้นแบบ จังหวัดลำปาง = Prototype of Community Tourism Management Pattern in Lampang Province [printed text] / รัชฎาภรณ์ ทองแป้น, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - ix, 187 น. : ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-07
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การท่องเที่ยว -- การจัดการ -- ลำปาง
[LCSH]ชุมชนต้นแบบKeywords: รูปแบบการจัดการ,
ชุมชนต้นแบบAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาบริบทของชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบ จังหวัดลำปาง 2) เพื่อศึกษาศักยภาพของชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบ จังหวัดลำปาง 3) เพื่อศึกษาปัจจัยความสำเร็จในการบริหารจัดการชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบ จังหวัดลำปาง
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยผู้วิจัยได้อาศัยวิธีดำเนินการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการศึกษาเอกสาร และสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ให้ข้อมูลหลักที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว ประกอบด้วย ผู้นำชุมชน ชาวบ้าน นักท่องเที่ยวและภาคีที่เกี่ยวข้องกับชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบทั้ง 2 ชุมชน คือชุมชนบ้านป่าเหมี้ยง ตำบลแจ้ซ้อน อำเภอเมืองปาน จังหวัดลำปางจำนวน 15 คน และชุมชนบ้านสามขา ตำบลหัวเสือ อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปางจำนวน 15 คน รวมทั้งสิ้น 30 คน รวมทั้งสนทนากลุ่ม ผู้มีส่วนได้เสียในการบริหารจัดการชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบ ประกอบด้วย ผู้นำชุมชนจำนวนบ้านป่าเหมี้ยงจำนวน 3 คน ผู้นำชุมชนจำนวนบ้านสามขาจำนวน 3 คน ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบจำนวน 6 คน และนักท่องเที่ยวจำนวน 6 คน รวมทั้งสิ้น 18 คน หลังจากนั้นวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ประเด็นจากการสัมภาษณ์ สนทนากลุ่ม และมีการอภิปรายผลการวิจัย
ผลการวิจัยพบว่า
1) บริบทชุมชนท่องเที่ยวจังหวัดลำปางทั้งสองชุมชนมีสภาพภูมิศาสตร์ที่เหมาะสมคือตั้งอยู่ในสภาพภูมิประเทศที่สวยงาม อากาศดี มีทรัพยากรการท่องเที่ยวที่หลากหลาย ด้านประชากรคนในชุมชนเป็นกลุ่มคนเมืองเหมือนกัน มีภาษา วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี ความเชื่อเดียวกันจึงทำให้อยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข สภาพสังคมเศรษฐกิจ ชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบเป็นหมู่บ้านที่ยังคงอัตลักษณ์ของชุมชนดั้งเดิมไว้ วิถีชีวิตคนของคนในชุมชนเป็นสังคมแบบเกษตรกรรม รายได้หลักของคนในชุมชนมาจากภาคเกษตรกรรมนอกจากนี้ชุมชนยังมีภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรมวิถีชีวิตที่โดดเด่นสามารถดึงดูดใจให้นักท่องเที่ยวมาท่องเที่ยวในชุมชนได้
2) ชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบ จังหวัดลำปางมีศักยภาพในการดำเนินงานด้านการท่องเที่ยว ด้วยบริบทความพร้อมของชุมชนที่มีศักยภาพทั้งด้านทรัพยากรการท่องเที่ยว การเข้าถึงชุมชน สิ่งอำนวยความสะดวก ความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยว และด้านการจัดการท่องเที่ยวจึงทำให้ชุมชนทั้งสองประสบความสำเร็จในการเป็นชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบดังมีรางวัลที่ช่วยการันตีความสำเร็จของชุมชน และยังได้รับคัดเลือกให้เป็นหมู่บ้านท่องเที่ยวต้นแบบของจังหวัดลำปางตามโครงการพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชนต้นแบบเพื่อพัฒนาเชื่อมโยงการท่องเที่ยวภาคเหนือ
3) ปัจจัยความสำเร็จในการบริหารจัดการชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบ จังหวัดลำปาง ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบดังนี้ (1) ชุมชนมีอัตลักษณ์ชุมชนที่โดดเด่น (2) มีกฎระเบียบที่กำหนดไว้เป็นบรรทัดฐานในการอยู่ร่วมกัน (3) การมีส่วนร่วมของชุมชนในทุกขั้นตอนของการพัฒนา (4) ชุมชนมีขนาดเล็ก การบริหารจัดการง่าย (5) ชุมชนมีความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยวทั้งด้านที่พัก ที่จอดรถ รวมถึงรูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยว (6) มีการกระจายผลประโยชน์ในชุมชนอย่างเป็นธรรม (7) การเข้าถึงชุมชนได้อย่างสะดวกสบายและมีการเชื่อมโยงเส้นทางท่องเที่ยวบริเวณใกล้เคียง (8) ชุมชุนมีทรัพยากรการท่องเที่ยวที่หลากหลายและอุดมสมบูรณ์ (9) แกนนำชุมชนหรือผู้นําชุมชน มีความเข้มแข็งเป็นที่ยอมรับของสมาชิกชุมชน (10) มีภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคมเข้ามาให้การสนับสนุน เช่นเรื่องงบประมาณ เรื่องการประชาสัมพันธ์ (11) ชุมชนมีภูมิปัญญาท้องถิ่นให้นักท่องเที่ยวได้ศึกษาเรียนรู้ (12) ชุมชนได้มีการกำหนดรูปแบบกิจกรรมและโปรแกรมการท่องเที่ยวให้นักท่องเที่ยวได้เลือกตามความสนใจ (13) ชุมชนมีสิ่งอำนวยความสะดวกไว้รองรับนักท่องเที่ยวอย่างเพียงพอ ซึ่งข้อมูลและข้อค้นพบจากการศึกษา พบว่า ชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบทั้งสองชุมชนเป็นชุมชนที่มีการพัฒนามาเป็นระยะเวลานานทำให้ชุมชนประสบความสำเร็จในด้านการท่องเที่ยว การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบ ชุมชน หน่วยงานต่างๆ ที่เข้ามาทำงานร่วมกับชุมชน ต้องมองถึงศักยภาพของชุมชน คนในชุมชนต้องมีส่วนร่วมกันอนุรักษ์อัตลักษณ์ของชุมชนและภูมิปัญญาท้องถิ่นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27945 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607973 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-07 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607972 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-07 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ศรัทธาในหลักธรรมคำสั่งสอนทางพระพุทธศาสนาของพุทธศาสนิกชนยุคโลกาภิวัตน์ / พระสุพิทักข์ โตเพ็ง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : ศรัทธาในหลักธรรมคำสั่งสอนทางพระพุทธศาสนาของพุทธศาสนิกชนยุคโลกาภิวัตน์ Original title : Faith of Dhamma in Buddhism of the Buddhists in the era of globalization Material Type: printed text Authors: พระสุพิทักข์ โตเพ็ง, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: ix, 265 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-01
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พุทธศาสนา -- คำสอน
[LCSH]พุทธศาสนิกชน
[LCSH]โลกาภิวัตน์Keywords: ศรัทธา,
ความเชื่อ,
หลักธรรม/คำสอน,
พุทธศาสนา,
พุทธศาสนิกชน,
ยุคโลกาภิวัตน์Abstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาศรัทธาความเชื่อในหลักธรรมคำสั่งสอนทางพระพุทธศาสนาของพุทธศาสนิกชนยุคโลกาภิวัตน์ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อศรัทธาความเชื่อในหลักธรรมคำสั่งสอนทางพระพุทธศาสนาของพุทธศาสนิกชนยุคโลกาภิวัตน์ 3) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาหรือยกระดับศรัทธาความเชื่อในหลักธรรมคำสั่งสอนทางพระพุทธศาสนาของพุทธศาสนิกชนยุคโลกาภิวัตน์ให้ยั่งยืนสืบทอดต่อไป ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสม ใช้สถิติบรรยาย (Description Statistics) คือ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการวิเคราะห์การถดถอยแบบเชิงพหุคูณ (Multiple - Regression Analysis)
ผลการวิจัย พบว่า
1. พุทธศาสนานิกชนยังคงมีศรัทธาในหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาอย่างต่อเนื่อง มีความเข้าใจในเรื่องศรัทธาและปัญญา, อริยสัจ4, การมุ่งเน้นเรื่องการพ้นทุกข์และให้รู้จักทุกข์และวิธีดับทุกข์ ให้พ้นจากความไม่รุ้จริงในธรรมชาติอันเป็นเหตุให้เกิดทุกข์
2. ศรัทธาความเชื่อในหลักธรรมคำสั่งสอนทางพระพุทธศาสนาในยุคโลกาภิวัตน์ พบว่า ปัจจัยด้านหลักธรรมคำสั่งสอนทางพระพุทธศาสนา ปัจจัยด้านภาวะผู้นำ ปัจจัยด้านการมีส่วนร่วมและปัจจัยด้านการสื่อสารมวลชน มีผลกระทบต่อศรัทธาความเชื่อในหลักธรรมคำสั่งสอนทางพระพุทธศาสนาในยุคโลกาภิวัตน์ โดยองค์ประกอบทุกองค์ประกอบมีความสัมพันธ์กันทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 สามารถอธิบายความผันแปรของศรัทธาในหลักธรรมคำสั่งสอนในทางพรพุทธศาสนาได้ ร้อยละ 62.20
3. องค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์ด้านแนวทางการพัฒนาศรัทธา หรือยกระดับศรัทธาในหลักธรรมคำสั่งสอนทางพระพุทธศาสนาของพุทธศาสนิกชนยุคโลกาภิวัตน์ให้ยั่งยืน ที่จะต้องมีและนำไปสู่การปฏิบัติที่เป็นรูปธรรมท่ามกลางสภาวะการเปลี่ยนแปลงทางสังคม มีองค์ประกอบสำคัญที่เป็นแนวทางในการพัฒนา ดังต่อไปนี้
3.1 การสืบทอดพระพุทธศาสนาเป็นพันธกิจของพระสงฆ์ ซึ่งประกอบด้วยพระสงฆ์ที่ทำหน้าที่เจ้าอาวาส และพระสงฆ์ในวัด พระสงฆ์ที่ทำหน้าที่เจ้าอาวาส มีความจำเป็นในการพัฒนาตนเองในเรื่องภาวะผู้นำ บริหารกิจการวัดโดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วม เปิดโอกาสให้พระในวัด พุทธศาสนิกชนรอบวัดและ/หรือบุคคลอื่น ๆ ที่มีส่วนได้ส่วนเสียร่วมในการบริหารกิจการของวัด
3.2 วัด เป็นศาสนสถานที่พุทธบริษัทประกอบกิจกรรมทางศาสนา ต้องมีการปรับบทบาทรับใช้สังคมมากขึ้น ด้วยการดำเนินกิจกรรมด้านสาธารณะ ปรับความสัมพันธ์ระหว่างคณะสงฆ์และประชาชนให้กระชับแน่นยิ่งขึ้น ใช้ความเป็นกัลยาณมิตร วัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ เปิดโอกาสให้พุทธศาสนิกชนทุกคนเข้าร่วมอย่างเท่าเทียม รวมทั้ง “เปิดวัด” ให้ชุมชนเข้าร่วมรับผิดชอบการดำเนินการกิจการของสงฆ์มากขึ้น
3.3 องค์กรสงฆ์ เป็นองค์กรบริหาร ปกครองสงฆ์ ต้องกำหนดนโยบายในการรื้อฟื้นให้พุทธศาสนิกชนหันมาสนใจและเข้าใจว่าพระพุทธศาสนา พระสงฆ์และพุทธศาสนิกชน มีหน้าที่เดียวกันในการสร้างศรัทธาในหลักธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธศาสนาให้ดำรงอยู่ต่อไปอย่างยั่งยืน
Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27939 SIU THE-T. ศรัทธาในหลักธรรมคำสั่งสอนทางพระพุทธศาสนาของพุทธศาสนิกชนยุคโลกาภิวัตน์ = Faith of Dhamma in Buddhism of the Buddhists in the era of globalization [printed text] / พระสุพิทักข์ โตเพ็ง, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - ix, 265 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-01
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พุทธศาสนา -- คำสอน
[LCSH]พุทธศาสนิกชน
[LCSH]โลกาภิวัตน์Keywords: ศรัทธา,
ความเชื่อ,
หลักธรรม/คำสอน,
พุทธศาสนา,
พุทธศาสนิกชน,
ยุคโลกาภิวัตน์Abstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาศรัทธาความเชื่อในหลักธรรมคำสั่งสอนทางพระพุทธศาสนาของพุทธศาสนิกชนยุคโลกาภิวัตน์ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อศรัทธาความเชื่อในหลักธรรมคำสั่งสอนทางพระพุทธศาสนาของพุทธศาสนิกชนยุคโลกาภิวัตน์ 3) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาหรือยกระดับศรัทธาความเชื่อในหลักธรรมคำสั่งสอนทางพระพุทธศาสนาของพุทธศาสนิกชนยุคโลกาภิวัตน์ให้ยั่งยืนสืบทอดต่อไป ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสม ใช้สถิติบรรยาย (Description Statistics) คือ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการวิเคราะห์การถดถอยแบบเชิงพหุคูณ (Multiple - Regression Analysis)
ผลการวิจัย พบว่า
1. พุทธศาสนานิกชนยังคงมีศรัทธาในหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาอย่างต่อเนื่อง มีความเข้าใจในเรื่องศรัทธาและปัญญา, อริยสัจ4, การมุ่งเน้นเรื่องการพ้นทุกข์และให้รู้จักทุกข์และวิธีดับทุกข์ ให้พ้นจากความไม่รุ้จริงในธรรมชาติอันเป็นเหตุให้เกิดทุกข์
2. ศรัทธาความเชื่อในหลักธรรมคำสั่งสอนทางพระพุทธศาสนาในยุคโลกาภิวัตน์ พบว่า ปัจจัยด้านหลักธรรมคำสั่งสอนทางพระพุทธศาสนา ปัจจัยด้านภาวะผู้นำ ปัจจัยด้านการมีส่วนร่วมและปัจจัยด้านการสื่อสารมวลชน มีผลกระทบต่อศรัทธาความเชื่อในหลักธรรมคำสั่งสอนทางพระพุทธศาสนาในยุคโลกาภิวัตน์ โดยองค์ประกอบทุกองค์ประกอบมีความสัมพันธ์กันทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 สามารถอธิบายความผันแปรของศรัทธาในหลักธรรมคำสั่งสอนในทางพรพุทธศาสนาได้ ร้อยละ 62.20
3. องค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์ด้านแนวทางการพัฒนาศรัทธา หรือยกระดับศรัทธาในหลักธรรมคำสั่งสอนทางพระพุทธศาสนาของพุทธศาสนิกชนยุคโลกาภิวัตน์ให้ยั่งยืน ที่จะต้องมีและนำไปสู่การปฏิบัติที่เป็นรูปธรรมท่ามกลางสภาวะการเปลี่ยนแปลงทางสังคม มีองค์ประกอบสำคัญที่เป็นแนวทางในการพัฒนา ดังต่อไปนี้
3.1 การสืบทอดพระพุทธศาสนาเป็นพันธกิจของพระสงฆ์ ซึ่งประกอบด้วยพระสงฆ์ที่ทำหน้าที่เจ้าอาวาส และพระสงฆ์ในวัด พระสงฆ์ที่ทำหน้าที่เจ้าอาวาส มีความจำเป็นในการพัฒนาตนเองในเรื่องภาวะผู้นำ บริหารกิจการวัดโดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วม เปิดโอกาสให้พระในวัด พุทธศาสนิกชนรอบวัดและ/หรือบุคคลอื่น ๆ ที่มีส่วนได้ส่วนเสียร่วมในการบริหารกิจการของวัด
3.2 วัด เป็นศาสนสถานที่พุทธบริษัทประกอบกิจกรรมทางศาสนา ต้องมีการปรับบทบาทรับใช้สังคมมากขึ้น ด้วยการดำเนินกิจกรรมด้านสาธารณะ ปรับความสัมพันธ์ระหว่างคณะสงฆ์และประชาชนให้กระชับแน่นยิ่งขึ้น ใช้ความเป็นกัลยาณมิตร วัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ เปิดโอกาสให้พุทธศาสนิกชนทุกคนเข้าร่วมอย่างเท่าเทียม รวมทั้ง “เปิดวัด” ให้ชุมชนเข้าร่วมรับผิดชอบการดำเนินการกิจการของสงฆ์มากขึ้น
3.3 องค์กรสงฆ์ เป็นองค์กรบริหาร ปกครองสงฆ์ ต้องกำหนดนโยบายในการรื้อฟื้นให้พุทธศาสนิกชนหันมาสนใจและเข้าใจว่าพระพุทธศาสนา พระสงฆ์และพุทธศาสนิกชน มีหน้าที่เดียวกันในการสร้างศรัทธาในหลักธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธศาสนาให้ดำรงอยู่ต่อไปอย่างยั่งยืน
Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27939 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607990 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-01 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607987 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-01 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available