From this page you can:
Home |
Search results
1 result(s) search for keyword(s) 'การมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตย'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
SIU THE-T. การมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของประชาชนในจังหวัดตาก / ณรงค์ พึ่งพานิช / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU THE-T Title : การมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของประชาชนในจังหวัดตาก Original title : People Participation in Democratic System at Tak Province Material Type: printed text Authors: ณรงค์ พึ่งพานิช, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: ix, 166 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-06
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การมีส่วนร่วมทางการเมือง -- ตาก
[LCSH]ประชาธิปไตยKeywords: การมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตย Abstract: การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของประชาชนในจังหวัดตาก เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของประชาชนในจังหวัดตาก จำแนกตามลักษณะส่วนบุคคล และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมทางการเมืองกับการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของประชาชนในจังหวัดตาก เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ หน่วยวิเคราะห์คือ ประชาชนในจังหวัดตากที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป ประชากรและกลุ่มตัวอย่างเป็นประชาชนในจังหวัดตากจำนวน 400 ราย สถิติที่ใช้คือ ค่าร้อยละ ความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนแบบมาตรฐาน ค่าสถิต ที – เทส เอฟ – เทส ค่าสถิติเพียร์สัน
การวิจัยพบว่า
1) ระดับการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของประชาชนในจังหวัดตาก ในภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง รองลงมา ระดับการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยสูง
2) การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของประชาชนในจังหวัดตาก พบว่า ปัจจัยความเสมอภาคทางสังคมและทางการเมือง มีค่าเฉลี่ยสูดสุด รองลงมา คือ ปัจจัยสิ่งจูงใจ
3) เพศที่แตกต่างกัน มีผลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาชนในจังหวัดตาก ไม่แตกต่างกัน ส่วน อายุ ระดับการศึกษา รายได้ และอาชีพ ที่แตกต่างกัน มีผลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาชนในจังหวัดตาก แตกต่างกัน
4) ทุกพฤติกรรมทางการเมือง มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของประชาชนในจังหวัดตาก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ณ ระดับความเชื่อมั่น 0.01Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27837 SIU THE-T. การมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของประชาชนในจังหวัดตาก = People Participation in Democratic System at Tak Province [printed text] / ณรงค์ พึ่งพานิช, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - ix, 166 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-06
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การมีส่วนร่วมทางการเมือง -- ตาก
[LCSH]ประชาธิปไตยKeywords: การมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตย Abstract: การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของประชาชนในจังหวัดตาก เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของประชาชนในจังหวัดตาก จำแนกตามลักษณะส่วนบุคคล และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมทางการเมืองกับการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของประชาชนในจังหวัดตาก เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ หน่วยวิเคราะห์คือ ประชาชนในจังหวัดตากที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป ประชากรและกลุ่มตัวอย่างเป็นประชาชนในจังหวัดตากจำนวน 400 ราย สถิติที่ใช้คือ ค่าร้อยละ ความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนแบบมาตรฐาน ค่าสถิต ที – เทส เอฟ – เทส ค่าสถิติเพียร์สัน
การวิจัยพบว่า
1) ระดับการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของประชาชนในจังหวัดตาก ในภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง รองลงมา ระดับการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยสูง
2) การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของประชาชนในจังหวัดตาก พบว่า ปัจจัยความเสมอภาคทางสังคมและทางการเมือง มีค่าเฉลี่ยสูดสุด รองลงมา คือ ปัจจัยสิ่งจูงใจ
3) เพศที่แตกต่างกัน มีผลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาชนในจังหวัดตาก ไม่แตกต่างกัน ส่วน อายุ ระดับการศึกษา รายได้ และอาชีพ ที่แตกต่างกัน มีผลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาชนในจังหวัดตาก แตกต่างกัน
4) ทุกพฤติกรรมทางการเมือง มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของประชาชนในจังหวัดตาก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ณ ระดับความเชื่อมั่น 0.01Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27837 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000598175 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-06 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000598209 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-06 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available