From this page you can:
Home |
Author details
Author เสวกวัชรี อุษณีย์
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesSIU THE-T. การกำกับดูแลกิจการที่มีต่อผลการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย / เบญจพร โมกขะเวส
Collection Title: SIU THE-T Title : การกำกับดูแลกิจการที่มีต่อผลการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย Original title : Corporate Governance Affects on Financial Performance of the Listed Companies on the Stock Exchange of Thailand Material Type: printed text Authors: เบญจพร โมกขะเวส, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name Pagination: x, 271 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2018-09
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2561Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การกำกับดูแลกิจการ
[LCSH]ตลาดหลักทรัพย์ -- ไทยKeywords: การกำกับดูแลกิจการ,
ขนาดคณะกรรมการบริษัท,
ความเป็นอิสระของประธานกรรมการ,
ผลการดำเนินงานทางการเงิน,
ผู้บริหารระดับสูงไม่มีการควบรวมตำแหน่ง,
มูลค่าของกิจการ,
ระดับคะแนนการกำกับดูแลกิจการAbstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงผลของการกำกับดูแลกิจการที่มีต่อผลการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยวัดผลการดำเนินงาน 2 ด้าน คือ 1) ผลการดำเนินงานทางการเงินวัดค่าโดยใช้อัตราส่วนกำไรสุทธิ อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวมและอัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น และ2) ผลการดำเนินงานทางการตลาดวัดค่าโดยใช้มูลค่าของกิจการ (Tobin’s Q) กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย 188 บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยที่มีระดับคะแนนการกำกับดูแลกิจการในระดับดีเลิศ ระดับดีมาก ระดับดีและระดับที่ต่ำกว่าระดับดี ติดต่อกันระหว่างปี 2551-2560 ซึ่งเป็นการวิจัยแบบผสม (mixed methods research) นั่นคือ เป็นทั้งการวิจัยเชิงปริมาณ (quantitative research) โดยใช้การวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุเพื่อทดสอบสมมติฐาน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.01 และ 0.05 และขั้นต่อไปคือการวิจัยเชิงคุณภาพ (quality research) โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้บริหาร (in-depth interview)
ผลการศึกษาพบว่าระดับคะแนนการกำกับดูแลกิจการ ความเป็นอิสระของประธานกรรมการ ขนาดคณะกรรมการบริษัทและผู้บริหารระดับสูงไม่มีการควบรวมตำแหน่งมีผลต่อผลการดำเนินงานของบริษัทซึ่งวัดค่าจากผลการดำเนินงานทางการเงินโดยใช้อัตราส่วนกำไรสุทธิ อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวมและอัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ขณะที่สัดส่วนกรรมการอิสระไม่มีผลต่ออัตราส่วนกำไรสุทธิ อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวมและอัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น นอกจากนี้ยังพบว่าระดับคะแนนการกำกับดูแลกิจการ ความเป็นอิสระของประธานกรรมการ สัดส่วนกรรมการอิสระและผู้บริหารระดับสูงไม่มีการควบรวมตำแหน่งมีผลต่อผลการดำเนินงานของบริษัทซึ่งวัดค่าจากผลการดำเนินงานทางการตลาดโดยใช้มูลค่าของกิจการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ขณะที่ขนาดคณะกรรมการบริษัทไม่มีผลต่อมูลค่าของกิจการ ทั้งนี้ แนวทางการพัฒนาผลของการกำกับดูแลกิจการที่มีต่อผลการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ควรมุ่งเน้น คือ 1) ควรพัฒนาการกำกับดูแลกิจการที่ดีควรให้สอดคล้องกับสถานการณ์และสภาพแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลง 2) ควรมีการส่งเสริมให้บริษัทจดทะเบียนไทยมีนโยบายเกี่ยวกับโครงสร้างคณะกรรมการอย่างชัดเจนและเป็นรูปธรรม 3) คณะกรรมการควรมีภาวะผู้นำ วิสัยทัศน์ที่กว้างไกลและหลากหลายมิติ คุณลักษณะ คุณสมบัติที่หลากหลาย การปฏิบัติหน้าที่อย่างเป็นอิสระจากฝ่ายบริหารจัดการ 4) ต้องมีความรับผิดชอบในการให้บริการลูกค้าในการเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้องไว้อย่างครบถ้วน 5) คณะกรรมการควรมีการกำหนดนโยบายให้ความสำคัญกับการต่อต้านการคอรัปชั่นภายในองค์กรในทุกระดับชั้นของการดำเนินการ 6) คณะกรรมการควรกำหนดนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมอย่างชัดเจนและใช้เป็นแนวทางยึดถือปฏิบัติเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนและเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยให้บริษัทสามารถบรรลุตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ สร้างความมั่งคั่งและการเติบโตอย่างยั่งยืนให้แก่บริษัทCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27962 SIU THE-T. การกำกับดูแลกิจการที่มีต่อผลการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย = Corporate Governance Affects on Financial Performance of the Listed Companies on the Stock Exchange of Thailand [printed text] / เบญจพร โมกขะเวส, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [s.d.] . - x, 271 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: SOM-DBA-2018-09
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2561
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การกำกับดูแลกิจการ
[LCSH]ตลาดหลักทรัพย์ -- ไทยKeywords: การกำกับดูแลกิจการ,
ขนาดคณะกรรมการบริษัท,
ความเป็นอิสระของประธานกรรมการ,
ผลการดำเนินงานทางการเงิน,
ผู้บริหารระดับสูงไม่มีการควบรวมตำแหน่ง,
มูลค่าของกิจการ,
ระดับคะแนนการกำกับดูแลกิจการAbstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงผลของการกำกับดูแลกิจการที่มีต่อผลการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยวัดผลการดำเนินงาน 2 ด้าน คือ 1) ผลการดำเนินงานทางการเงินวัดค่าโดยใช้อัตราส่วนกำไรสุทธิ อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวมและอัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น และ2) ผลการดำเนินงานทางการตลาดวัดค่าโดยใช้มูลค่าของกิจการ (Tobin’s Q) กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย 188 บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยที่มีระดับคะแนนการกำกับดูแลกิจการในระดับดีเลิศ ระดับดีมาก ระดับดีและระดับที่ต่ำกว่าระดับดี ติดต่อกันระหว่างปี 2551-2560 ซึ่งเป็นการวิจัยแบบผสม (mixed methods research) นั่นคือ เป็นทั้งการวิจัยเชิงปริมาณ (quantitative research) โดยใช้การวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุเพื่อทดสอบสมมติฐาน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.01 และ 0.05 และขั้นต่อไปคือการวิจัยเชิงคุณภาพ (quality research) โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้บริหาร (in-depth interview)
ผลการศึกษาพบว่าระดับคะแนนการกำกับดูแลกิจการ ความเป็นอิสระของประธานกรรมการ ขนาดคณะกรรมการบริษัทและผู้บริหารระดับสูงไม่มีการควบรวมตำแหน่งมีผลต่อผลการดำเนินงานของบริษัทซึ่งวัดค่าจากผลการดำเนินงานทางการเงินโดยใช้อัตราส่วนกำไรสุทธิ อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวมและอัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ขณะที่สัดส่วนกรรมการอิสระไม่มีผลต่ออัตราส่วนกำไรสุทธิ อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวมและอัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น นอกจากนี้ยังพบว่าระดับคะแนนการกำกับดูแลกิจการ ความเป็นอิสระของประธานกรรมการ สัดส่วนกรรมการอิสระและผู้บริหารระดับสูงไม่มีการควบรวมตำแหน่งมีผลต่อผลการดำเนินงานของบริษัทซึ่งวัดค่าจากผลการดำเนินงานทางการตลาดโดยใช้มูลค่าของกิจการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ขณะที่ขนาดคณะกรรมการบริษัทไม่มีผลต่อมูลค่าของกิจการ ทั้งนี้ แนวทางการพัฒนาผลของการกำกับดูแลกิจการที่มีต่อผลการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ควรมุ่งเน้น คือ 1) ควรพัฒนาการกำกับดูแลกิจการที่ดีควรให้สอดคล้องกับสถานการณ์และสภาพแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลง 2) ควรมีการส่งเสริมให้บริษัทจดทะเบียนไทยมีนโยบายเกี่ยวกับโครงสร้างคณะกรรมการอย่างชัดเจนและเป็นรูปธรรม 3) คณะกรรมการควรมีภาวะผู้นำ วิสัยทัศน์ที่กว้างไกลและหลากหลายมิติ คุณลักษณะ คุณสมบัติที่หลากหลาย การปฏิบัติหน้าที่อย่างเป็นอิสระจากฝ่ายบริหารจัดการ 4) ต้องมีความรับผิดชอบในการให้บริการลูกค้าในการเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้องไว้อย่างครบถ้วน 5) คณะกรรมการควรมีการกำหนดนโยบายให้ความสำคัญกับการต่อต้านการคอรัปชั่นภายในองค์กรในทุกระดับชั้นของการดำเนินการ 6) คณะกรรมการควรกำหนดนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมอย่างชัดเจนและใช้เป็นแนวทางยึดถือปฏิบัติเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนและเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยให้บริษัทสามารถบรรลุตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ สร้างความมั่งคั่งและการเติบโตอย่างยั่งยืนให้แก่บริษัทCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27962 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607986 SIU THE-T: SOM-DBA-2018-09 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000607983 SIU THE-T: SOM-DBA-2018-09 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การทดสอบปัจจัยที่นำไปสู่การยอมรับภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีในหน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม / กนกพรรณ ญาณภิรัต / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Collection Title: SIU THE-T Title : การทดสอบปัจจัยที่นำไปสู่การยอมรับภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีในหน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม Original title : Factors Leading to the Acceptance of Female Executives’ Leadership in Brodcassting and Telecommunication Organization Material Type: printed text Authors: กนกพรรณ ญาณภิรัต, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: xii, 88 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2020-02
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2563Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]นักบริหารสตรี -- วิจัย
[LCSH]ภาวะผู้นำของสตรี
[LCSH]วิทยุกระจายเสียง
[LCSH]โทรคมนาคมKeywords: ภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรี,
หน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม,
บุคลิกภาพของผู้นำAbstract: การทดสอบปัจจัยที่นำไปสู่การยอมรับภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีในหน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม เป็นงานวิจัยโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการยอมรับของผู้บริหารสตรี และศึกษาภาวะผู้นำประเภทต่างๆ ที่นำไปสู่การยอมรับของผู้ร่วมงาน ลูกน้องและหัวหน้างานในหน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม โดยศึกษาจากประชากรกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม มีการใช้แบบสอบถามและการสัมภาษณ์ผู้บริหารระดับสูงของหน่วยงานในการเก็บข้อมูล และมีการวิเคราะห์ความแปรปรวน Analysis of Variance หรือ ANOVA และการวิเคราะห์การถดถอย (Regression Analysis) ในการทดสอบสมมติฐาน
ผลจากการวิจัยพบว่า คุณลักษณะ และบุคลิกภาพของผู้นำของผู้บริหารสตรีมีความสัมพันธ์ทางบวกโดยตรงกับการบริหารจัดการ และคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารความสัมพันธ์ทางลบโดยตรงและทางบวกโดยอ้อมกับความสำเร็จในการบริหารจัดการของหน่วยงาน ส่วนการบริหารจัดการมีความสัมพันธ์ทางบวกโดยตรงกับความสำเร็จในการบริหารจัดการของหน่วยงาน สำหรับผู้นำทางวิชาชีพ (professional leadership) เป็นตัวแปรที่สำคัญที่สุดของคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารสตรีที่ทำการศึกษาในครั้งนี้ อีกทั้งยังพบว่าปัจจัยด้านบุคลิกภาพซึ่งในที่นี้รวมถึงการวางตัว การแต่งตัว กริยาท่าทางของผู้บริหารสตรี ส่งผลต่อการยอมรับและนำไปสู่ความสำเร็จของการทำงาน ตลอดทั้งการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพสำหรับหน่วยงานกำกับ ดูแลกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมในประเทศไทย ซึ่งโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสมเนื่องจากมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ อีกทั้งในแต่ละองค์ประกอบหรือปัจจัยแต่ละด้าน มีความเที่ยงตรง และเป็นที่ยอมรับได้ สำหรับปัจจัย เป็นตัวแปรที่สำคัญที่สุดของรูปแบบการบริหารจัดการของผู้บริหาร และเป็นตัวแปรที่สำคัญที่สุดของความสำเร็จของการยอมรับผู้บริหารสตรีCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28048 SIU THE-T. การทดสอบปัจจัยที่นำไปสู่การยอมรับภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีในหน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม = Factors Leading to the Acceptance of Female Executives’ Leadership in Brodcassting and Telecommunication Organization [printed text] / กนกพรรณ ญาณภิรัต, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - xii, 88 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: SOM-DBA-2020-02
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2563
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]นักบริหารสตรี -- วิจัย
[LCSH]ภาวะผู้นำของสตรี
[LCSH]วิทยุกระจายเสียง
[LCSH]โทรคมนาคมKeywords: ภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรี,
หน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม,
บุคลิกภาพของผู้นำAbstract: การทดสอบปัจจัยที่นำไปสู่การยอมรับภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีในหน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม เป็นงานวิจัยโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการยอมรับของผู้บริหารสตรี และศึกษาภาวะผู้นำประเภทต่างๆ ที่นำไปสู่การยอมรับของผู้ร่วมงาน ลูกน้องและหัวหน้างานในหน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม โดยศึกษาจากประชากรกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม มีการใช้แบบสอบถามและการสัมภาษณ์ผู้บริหารระดับสูงของหน่วยงานในการเก็บข้อมูล และมีการวิเคราะห์ความแปรปรวน Analysis of Variance หรือ ANOVA และการวิเคราะห์การถดถอย (Regression Analysis) ในการทดสอบสมมติฐาน
ผลจากการวิจัยพบว่า คุณลักษณะ และบุคลิกภาพของผู้นำของผู้บริหารสตรีมีความสัมพันธ์ทางบวกโดยตรงกับการบริหารจัดการ และคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารความสัมพันธ์ทางลบโดยตรงและทางบวกโดยอ้อมกับความสำเร็จในการบริหารจัดการของหน่วยงาน ส่วนการบริหารจัดการมีความสัมพันธ์ทางบวกโดยตรงกับความสำเร็จในการบริหารจัดการของหน่วยงาน สำหรับผู้นำทางวิชาชีพ (professional leadership) เป็นตัวแปรที่สำคัญที่สุดของคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารสตรีที่ทำการศึกษาในครั้งนี้ อีกทั้งยังพบว่าปัจจัยด้านบุคลิกภาพซึ่งในที่นี้รวมถึงการวางตัว การแต่งตัว กริยาท่าทางของผู้บริหารสตรี ส่งผลต่อการยอมรับและนำไปสู่ความสำเร็จของการทำงาน ตลอดทั้งการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพสำหรับหน่วยงานกำกับ ดูแลกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมในประเทศไทย ซึ่งโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสมเนื่องจากมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ อีกทั้งในแต่ละองค์ประกอบหรือปัจจัยแต่ละด้าน มีความเที่ยงตรง และเป็นที่ยอมรับได้ สำหรับปัจจัย เป็นตัวแปรที่สำคัญที่สุดของรูปแบบการบริหารจัดการของผู้บริหาร และเป็นตัวแปรที่สำคัญที่สุดของความสำเร็จของการยอมรับผู้บริหารสตรีCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28048 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607380 SIU THE-T: SOM-DBA-2020-02 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000607377 SIU THE-T: SOM-DBA-2020-02 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การพัฒนากีฬาเพื่อเป็นกลยุทธ์การตลาดของมหาวิทยาลัยเอกชน / มณฑิรา ชุนลิ้ม / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU THE-T Title : การพัฒนากีฬาเพื่อเป็นกลยุทธ์การตลาดของมหาวิทยาลัยเอกชน Original title : Sport Development’s Contribution to the Marketing Strategy of Private University Material Type: printed text Authors: มณฑิรา ชุนลิ้ม, Author ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: ix, 156 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2017-11
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กลยุทธ์การตลาด
[LCSH]กีฬาKeywords: รูปแบบการพัฒนากีฬา,
กลยุทธ์การตลาด,
มหาวิทยาลัยเอกชน,
วิจัยเชิงคุณภาพAbstract: การศึกษาวิจัยเรื่องการพัฒนากีฬาเพื่อเป็นกลยุทธ์การตลาดของมหาวิทยาลัยเอกชนมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาลักษณะการใช้กีฬาเป็นกลยุทธ์ทางการตลาดของมหาวิทยาลัยเอกชน 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกและ/หรือสมัครเข้าเรียนต่อในมหาวิทยาลัยเอกชน 3) เพื่อพัฒนารูปแบบการพัฒนากีฬาที่มีผลต่อการส่งเสริมกลยุทธ์ด้านการตลาดของมหาวิทยาลัยเอกชน ซึ่งเป็นเหตุผลสำคัญที่ทำให้ผู้วิจัยทำการวิจัยในครั้งนี้
การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) โดยวิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก ที่มีการกำหนดกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะ (Purposive Sampling) จากสถาบันอุดมศึกษาเอกชน จำนวน 8 แห่ง ที่มีระดับผลการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 42 แบ่งเป็นกลุ่มสถาบันที่ได้รับเหรียญรางวัลมาก เหรียญรางวัลปานกลาง และเหรียญรางวัลน้อย โดยใช้รูปแบบการสัมภาษณ์คำถามแบบกึ่งโครงสร้าง (Semi-Structured) กับผู้บริหารฝ่ายกิจการนักศึกษาหรือด้านสำนักกีฬา สถาบันละ 2 คน จำนวน 16 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลผู้วิจัยทำการส่งหนังสือขออนุญาตเข้าสัมภาษณ์พร้อมส่งข้อคำถาม ประเด็นการสัมภาษณ์กับผู้ให้ข้อมูลสำคัญและขออนุญาตทำการบันทึกเสียงร่วมกับการจดบันทึกในระหว่างการสัมภาษณ์ และถอดเทปการบันทึกการสัมภาษณ์โดยผู้วิจัยและนำมาวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ในแต่ละประเด็น ร่วมกับจากการศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี แล้วนำมาสรุปและอภิปรายผลของการวิจัยตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย
ผลการวิเคราะห์ของการวิจัย พบว่า สภาวะการแข่งขันทางการกีฬาของสถาบันอุดมศึกษานั้น มีลักษณะการแข่งขันกันในรูปแบบมหาวิทยาลัยของรัฐกับมหาวิทยาลัยเอกชนและในกลุ่มของมหาวิทยาลัยเอกชนด้วยกัน โดยมีระบบการให้ทุนการศึกษาความสามารถพิเศษด้านกีฬาเช่นเดียวกัน โดยมีลักษณะการแข่งขันมุ่งเน้นเหรียญรางวัลและระดับของจำนวนเหรียญรางวัลเพื่อเพิ่ม หรือรักษาระดับของมหาวิทยาลัย (Ranking) และประชาสัมพันธ์ชื่อมหาวิทยาลัย ซึ่งผลงานจากการพัฒนากีฬาของมหาวิทยาลัยมีผลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อของนักเรียน รูปแบบการพัฒนากีฬาของมหาวิทยาลัยเอกชนสามารถแบ่งออกตาม 7 Ps คือ 1) ด้านผลิตภัณฑ์ (Product) ประเภทกีฬาที่ส่งเสริม หลักสูตรการเรียนการสอน หลักสูตรการฝึกอบรมระยะสั้น 2) ด้านผลตอบแทนที่ได้รับจากการเข้ามาศึกษาในมหาวิทยาลัย (Price) ทุนการศึกษา ระบบจูงใจค่าตอบแทน สวัสดิการ 3) ด้านช่องทางการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายในการรับนักศึกษา (Place) สถานที่ตั้งมหาวิทยาลัย การจัดการเรียนการสอน เวลาการให้บริการของเจ้าหน้าที่ 4) ด้านการส่งเสริม (Promotions) โครงการ/กิจกรรมด้านกีฬา การให้บริการด้านอาคาร สนามกีฬาและสิ่งอำนวยความสะดวก 5) ด้านบุคลากร (People) มีคณาจารย์และผู้ฝึกสอนที่มีชื่อเสียง 6) ด้านกายภาพและการนำเสนอ (Physical Evidence/Environment and Presentation) สนามกีฬาและอาคารกีฬา สิ่งอำนวยความสะดวกด้านกีฬา 7) ด้านกระบวนการ (Process) ระบบดูแลเรื่องการเรียน ระบบการฝึกซ้อม การประสานความร่วมมือกับสมาคมกีฬานอกจากนี้ ผลการวิจัยพบว่า มหาวิทยาลัยเอกชนใช้กีฬาเป็นกลยุทธ์การตลาดเพื่อการประชาสัมพันธ์ด้านการสร้างตราสินค้า (Brand Image) ของมหาวิทยาลัยและการให้ทุนการศึกษานักกีฬาที่มีชื่อเสียงเพื่อเป็นทูตตราสินค้า (Brand Ambassador) เพื่อเป็นแบบอย่างดึงดูดนักเรียนที่ชื่นชอบนักกีฬาเลือกเข้าศึกษาต่อได้Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27548 SIU THE-T. การพัฒนากีฬาเพื่อเป็นกลยุทธ์การตลาดของมหาวิทยาลัยเอกชน = Sport Development’s Contribution to the Marketing Strategy of Private University [printed text] / มณฑิรา ชุนลิ้ม, Author ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - ix, 156 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOM-DBA-2017-11
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กลยุทธ์การตลาด
[LCSH]กีฬาKeywords: รูปแบบการพัฒนากีฬา,
กลยุทธ์การตลาด,
มหาวิทยาลัยเอกชน,
วิจัยเชิงคุณภาพAbstract: การศึกษาวิจัยเรื่องการพัฒนากีฬาเพื่อเป็นกลยุทธ์การตลาดของมหาวิทยาลัยเอกชนมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาลักษณะการใช้กีฬาเป็นกลยุทธ์ทางการตลาดของมหาวิทยาลัยเอกชน 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกและ/หรือสมัครเข้าเรียนต่อในมหาวิทยาลัยเอกชน 3) เพื่อพัฒนารูปแบบการพัฒนากีฬาที่มีผลต่อการส่งเสริมกลยุทธ์ด้านการตลาดของมหาวิทยาลัยเอกชน ซึ่งเป็นเหตุผลสำคัญที่ทำให้ผู้วิจัยทำการวิจัยในครั้งนี้
การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) โดยวิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก ที่มีการกำหนดกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะ (Purposive Sampling) จากสถาบันอุดมศึกษาเอกชน จำนวน 8 แห่ง ที่มีระดับผลการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 42 แบ่งเป็นกลุ่มสถาบันที่ได้รับเหรียญรางวัลมาก เหรียญรางวัลปานกลาง และเหรียญรางวัลน้อย โดยใช้รูปแบบการสัมภาษณ์คำถามแบบกึ่งโครงสร้าง (Semi-Structured) กับผู้บริหารฝ่ายกิจการนักศึกษาหรือด้านสำนักกีฬา สถาบันละ 2 คน จำนวน 16 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลผู้วิจัยทำการส่งหนังสือขออนุญาตเข้าสัมภาษณ์พร้อมส่งข้อคำถาม ประเด็นการสัมภาษณ์กับผู้ให้ข้อมูลสำคัญและขออนุญาตทำการบันทึกเสียงร่วมกับการจดบันทึกในระหว่างการสัมภาษณ์ และถอดเทปการบันทึกการสัมภาษณ์โดยผู้วิจัยและนำมาวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ในแต่ละประเด็น ร่วมกับจากการศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี แล้วนำมาสรุปและอภิปรายผลของการวิจัยตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย
ผลการวิเคราะห์ของการวิจัย พบว่า สภาวะการแข่งขันทางการกีฬาของสถาบันอุดมศึกษานั้น มีลักษณะการแข่งขันกันในรูปแบบมหาวิทยาลัยของรัฐกับมหาวิทยาลัยเอกชนและในกลุ่มของมหาวิทยาลัยเอกชนด้วยกัน โดยมีระบบการให้ทุนการศึกษาความสามารถพิเศษด้านกีฬาเช่นเดียวกัน โดยมีลักษณะการแข่งขันมุ่งเน้นเหรียญรางวัลและระดับของจำนวนเหรียญรางวัลเพื่อเพิ่ม หรือรักษาระดับของมหาวิทยาลัย (Ranking) และประชาสัมพันธ์ชื่อมหาวิทยาลัย ซึ่งผลงานจากการพัฒนากีฬาของมหาวิทยาลัยมีผลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อของนักเรียน รูปแบบการพัฒนากีฬาของมหาวิทยาลัยเอกชนสามารถแบ่งออกตาม 7 Ps คือ 1) ด้านผลิตภัณฑ์ (Product) ประเภทกีฬาที่ส่งเสริม หลักสูตรการเรียนการสอน หลักสูตรการฝึกอบรมระยะสั้น 2) ด้านผลตอบแทนที่ได้รับจากการเข้ามาศึกษาในมหาวิทยาลัย (Price) ทุนการศึกษา ระบบจูงใจค่าตอบแทน สวัสดิการ 3) ด้านช่องทางการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายในการรับนักศึกษา (Place) สถานที่ตั้งมหาวิทยาลัย การจัดการเรียนการสอน เวลาการให้บริการของเจ้าหน้าที่ 4) ด้านการส่งเสริม (Promotions) โครงการ/กิจกรรมด้านกีฬา การให้บริการด้านอาคาร สนามกีฬาและสิ่งอำนวยความสะดวก 5) ด้านบุคลากร (People) มีคณาจารย์และผู้ฝึกสอนที่มีชื่อเสียง 6) ด้านกายภาพและการนำเสนอ (Physical Evidence/Environment and Presentation) สนามกีฬาและอาคารกีฬา สิ่งอำนวยความสะดวกด้านกีฬา 7) ด้านกระบวนการ (Process) ระบบดูแลเรื่องการเรียน ระบบการฝึกซ้อม การประสานความร่วมมือกับสมาคมกีฬานอกจากนี้ ผลการวิจัยพบว่า มหาวิทยาลัยเอกชนใช้กีฬาเป็นกลยุทธ์การตลาดเพื่อการประชาสัมพันธ์ด้านการสร้างตราสินค้า (Brand Image) ของมหาวิทยาลัยและการให้ทุนการศึกษานักกีฬาที่มีชื่อเสียงเพื่อเป็นทูตตราสินค้า (Brand Ambassador) เพื่อเป็นแบบอย่างดึงดูดนักเรียนที่ชื่นชอบนักกีฬาเลือกเข้าศึกษาต่อได้Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27548 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000596708 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-11 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000596690 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-11 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเข้ามาของเทคโนโลยีของธนาคารพาณิชย์ไทย / สุธีรา ทิพย์วิวัฒน์พจนา / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU THE-T Title : การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเข้ามาของเทคโนโลยีของธนาคารพาณิชย์ไทย Original title : Human Resource Development to Support Arrival of Technology of Thai Commercial Banks Material Type: printed text Authors: สุธีรา ทิพย์วิวัฒน์พจนา, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: xiii, 161 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500 บาท General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2018-06
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2561Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
[LCSH]ธนาคารพาณิชย์ -- ไทย
[LCSH]นวัตกรรมทางเทคโนโลยีKeywords: การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์,
ธนาคารพาณิชย์ไทย,
การขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเข้ามาของเทคโนโลยีของธนาคารพาณิชย์ไทย (2) ศึกษาการขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมของธนาคารพาณิชย์ไทย (3) เปรียบเทียบความแตกต่างของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเข้ามาของเทคโนโลยีของธนาคารพาณิชย์ไทย ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก (4) เปรียบเทียบความแตกต่างของการขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมของธนาคารพาณิชย์ไทย ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก และ (5) ศึกษาปัจจัยด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเข้ามาของเทคโนโลยีที่สัมพันธ์และมีผลต่อการขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมของธนาคารพาณิชย์ไทย
ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ พนักงานของธนาคารพาณิชย์ไทย กลุ่มที่ 1 จำนวน 14 แห่ง เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางประมาณขนาดกลุ่มตัวอย่างของเครจซีและมอร์แกนที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 445 คน เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ
ผลการวิจัยพบว่า (1) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเข้ามาของเทคโนโลยีของธนาคารพาณิชย์ไทย โดยรวมและรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมาก (2) การขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมของธนาคารพาณิชย์ไทย โดยรวมและรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมาก (3) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเข้ามาของเทคโนโลยีของธนาคารพาณิชย์ไทย ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก ไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 (4) การขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมของธนาคารพาณิชย์ไทย ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก ไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 (5) ปัจจัยด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเข้ามาของเทคโนโลยีมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมของธนาคารพาณิชย์ไทย และร่วมกันพยากรณ์การขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมของธนาคารพาณิชย์ไทย ได้ร้อยละ 95.7 ในเชิงบวกที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01Curricular : BBA/BSCS/GE/MBA/MSIT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27835 SIU THE-T. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเข้ามาของเทคโนโลยีของธนาคารพาณิชย์ไทย = Human Resource Development to Support Arrival of Technology of Thai Commercial Banks [printed text] / สุธีรา ทิพย์วิวัฒน์พจนา, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - xiii, 161 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500 บาท
SIU THE-T: SOM-DBA-2018-06
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2561
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
[LCSH]ธนาคารพาณิชย์ -- ไทย
[LCSH]นวัตกรรมทางเทคโนโลยีKeywords: การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์,
ธนาคารพาณิชย์ไทย,
การขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเข้ามาของเทคโนโลยีของธนาคารพาณิชย์ไทย (2) ศึกษาการขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมของธนาคารพาณิชย์ไทย (3) เปรียบเทียบความแตกต่างของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเข้ามาของเทคโนโลยีของธนาคารพาณิชย์ไทย ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก (4) เปรียบเทียบความแตกต่างของการขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมของธนาคารพาณิชย์ไทย ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก และ (5) ศึกษาปัจจัยด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเข้ามาของเทคโนโลยีที่สัมพันธ์และมีผลต่อการขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมของธนาคารพาณิชย์ไทย
ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ พนักงานของธนาคารพาณิชย์ไทย กลุ่มที่ 1 จำนวน 14 แห่ง เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางประมาณขนาดกลุ่มตัวอย่างของเครจซีและมอร์แกนที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 445 คน เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ
ผลการวิจัยพบว่า (1) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเข้ามาของเทคโนโลยีของธนาคารพาณิชย์ไทย โดยรวมและรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมาก (2) การขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมของธนาคารพาณิชย์ไทย โดยรวมและรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมาก (3) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเข้ามาของเทคโนโลยีของธนาคารพาณิชย์ไทย ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก ไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 (4) การขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมของธนาคารพาณิชย์ไทย ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก ไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 (5) ปัจจัยด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเข้ามาของเทคโนโลยีมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมของธนาคารพาณิชย์ไทย และร่วมกันพยากรณ์การขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมของธนาคารพาณิชย์ไทย ได้ร้อยละ 95.7 ในเชิงบวกที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01Curricular : BBA/BSCS/GE/MBA/MSIT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27835 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000598167 SIU THE-T: SOM-DBA-2018-06 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000598134 SIU THE-T: SOM-DBA-2018-06 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำกับขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน กรณีศึกษา: ข้าราชการตำรวจสังกัดสำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ / เนตินันท์ ด้วงประดิษฐ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำกับขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน กรณีศึกษา: ข้าราชการตำรวจสังกัดสำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ Original title : Relationships between Leadership and Work Morale: A Case of Police Officers at the Office of Strategy Material Type: printed text Authors: เนตินันท์ ด้วงประดิษฐ์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: viii, 123 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOM-MBA-2016-04
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ภาวะผู้นำ -- การศึกษาเฉพาะกรณี
[LCSH]สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ -- ตำรวจKeywords: ภาวะผู้นำ
ข้าราชการตำรวจ
แรงจูงใจในการทำงานAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาวะผู้นำที่มีผลต่อขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน โดยศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำกับขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน ของข้าราชการตำรวจ สังกัด สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัย คือ ข้าราชการตำรวจ สังกัด สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ ซึ่งเป็นการศึกษาเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล จำนวน 169 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน คือ Independent t-test, One-way ANOVA หากพบความแตกต่างจะทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ โดยวิธี LSD (Least Significant Difference) และทดสอบความสัมพันธ์โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน
ผลการศึกษาพบว่า ข้าราชการตำรวจ สังกัด สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ มีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับภาวะผู้นำที่มีผลต่อขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน ภาพรวมมีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ส่วนระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และภาวะผู้นำแบบชี้นำ ผู้นำแบบสนับสนุน ผู้นำแบบมีส่วนร่วม ผู้นำแบบมุ่งเน้นความสำเร็จมีความสัมพันธ์กับขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานอยู่ในระดับสูงมากและเป็นไปในทิศทางเดียวกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 นอกจากนี้ยังพบว่า เพศ อายุ ระดับการศึกษา ระยะเวลาการทำงาน และระดับชั้นยศ ที่แตกต่างกันมีผลต่อขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานที่ไม่แตกต่างกัน ส่วนสถานภาพที่แตกต่างกันมีผลต่อขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานที่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26489 SIU IS-T. ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำกับขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน กรณีศึกษา: ข้าราชการตำรวจสังกัดสำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ = Relationships between Leadership and Work Morale: A Case of Police Officers at the Office of Strategy [printed text] / เนตินันท์ ด้วงประดิษฐ์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - viii, 123 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOM-MBA-2016-04
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ภาวะผู้นำ -- การศึกษาเฉพาะกรณี
[LCSH]สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ -- ตำรวจKeywords: ภาวะผู้นำ
ข้าราชการตำรวจ
แรงจูงใจในการทำงานAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาวะผู้นำที่มีผลต่อขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน โดยศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำกับขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน ของข้าราชการตำรวจ สังกัด สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัย คือ ข้าราชการตำรวจ สังกัด สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ ซึ่งเป็นการศึกษาเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล จำนวน 169 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน คือ Independent t-test, One-way ANOVA หากพบความแตกต่างจะทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ โดยวิธี LSD (Least Significant Difference) และทดสอบความสัมพันธ์โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน
ผลการศึกษาพบว่า ข้าราชการตำรวจ สังกัด สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ มีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับภาวะผู้นำที่มีผลต่อขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน ภาพรวมมีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ส่วนระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และภาวะผู้นำแบบชี้นำ ผู้นำแบบสนับสนุน ผู้นำแบบมีส่วนร่วม ผู้นำแบบมุ่งเน้นความสำเร็จมีความสัมพันธ์กับขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานอยู่ในระดับสูงมากและเป็นไปในทิศทางเดียวกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 นอกจากนี้ยังพบว่า เพศ อายุ ระดับการศึกษา ระยะเวลาการทำงาน และระดับชั้นยศ ที่แตกต่างกันมีผลต่อขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานที่ไม่แตกต่างกัน ส่วนสถานภาพที่แตกต่างกันมีผลต่อขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานที่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26489 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591550 SIU IS-T: SOM-MBA-2016-04 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจกับการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ กรณีศึกษา กองวินัยสำนักงานตำรวจแห่งชาติ / ปิยะพร ป๊อกแก้ว / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจกับการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ กรณีศึกษา กองวินัยสำนักงานตำรวจแห่งชาติ Original title : The Relationship between Motivation and Performance of the Police: A Case Study of the Disciplinary Division Material Type: printed text Authors: ปิยะพร ป๊อกแก้ว, Author ; เพชรรัตน์ โล้วิชากรติกุล, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: ix, 105 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOM-MBA-2016-01
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กองวินัยสำนักงานตำรวจแห่งชาติ -- ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]การจูงใจในการทำงาน
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานAbstract: การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจกับการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ กองวินัย สำนักงานตำรวจแห่งชาติ จำนวน 120 คน ใช้วิธีการวิจัย 2 วิธีคือ 1) การวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม (มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในการวิเคราะห์ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์และการวิเคราะห์โดยใช้สถิติ t-test, F-test (ANOVA) และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson' s Correlation Coefficient ) ในการทดสอบสมมุติฐาน 2) การวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26483 SIU IS-T. ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจกับการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ กรณีศึกษา กองวินัยสำนักงานตำรวจแห่งชาติ = The Relationship between Motivation and Performance of the Police: A Case Study of the Disciplinary Division [printed text] / ปิยะพร ป๊อกแก้ว, Author ; เพชรรัตน์ โล้วิชากรติกุล, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - ix, 105 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOM-MBA-2016-01
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กองวินัยสำนักงานตำรวจแห่งชาติ -- ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]การจูงใจในการทำงาน
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานAbstract: การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจกับการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ กองวินัย สำนักงานตำรวจแห่งชาติ จำนวน 120 คน ใช้วิธีการวิจัย 2 วิธีคือ 1) การวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม (มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในการวิเคราะห์ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์และการวิเคราะห์โดยใช้สถิติ t-test, F-test (ANOVA) และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson' s Correlation Coefficient ) ในการทดสอบสมมุติฐาน 2) การวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26483 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591543 SIU IS-T: SOM-MBA-2016-01 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความสุขในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน) / คนธรส ชมเทศ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ความสุขในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน) Original title : Work Happiness of Police Officers at General Support Division, Border Patrol Police Bureau Material Type: printed text Authors: คนธรส ชมเทศ, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: viii, 101 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOM-MBA-2016-05
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน -- ข้าราชการ -- ความพอใจในการทำงาน
[LCSH]ความสุขในการทำงาน -- วิจัย
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานKeywords: ข้าราชการตำรวจ
ความสุขในการปฏิบัติงาน
คุณค่าAbstract: การวิจัยนี้ศึกษาระดับความสุข และเปรียบเทียบความสุขในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน ในด้านสัมพันธภาพกับบุคลากรในองค์กร ความสำเร็จในงาน การตระหนักในคุณค่าของวิชาชีพตำรวจ การเป็นที่ยอมรับ
ทางสังคม การได้รับการสนับสนุนด้านสวัสดิการขององค์กร จำแนกตามข้อมูลด้านประชากรศาสตร์
ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสนับสนุนกองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน จำนวน 156 คน ใช้สถิติเชิงพรรณนาในการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคล และ
การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-Way ANOVA) ในการทดสอบสมมติฐาน
ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชายมากกว่าเพศหญิง มีอายุระหว่าง
41 – 50 ปี มีสถานภาพสมรส มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี มีชั้นยศเป็นชั้นประทวน มีรายเพียงพอแต่ไม่เหลือเก็บ อายุการทำงานมากกว่า 20 ปี ปฏิบัติงานอยู่ในฝ่ายสนับสนุน 3 ผลการวิจัยยังพบว่าความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า การตระหนักในคุณค่าของวิชาชีพตำรวจมากที่สุด รองลงมาคือการเป็นที่ยอมรับทางสังคม และด้านความสำเร็จในงาน ตามลำดับ นอกจากนี้ยังพบว่าข้าราชการกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน ที่มีภูมิหลังแตกต่างกัน มีความสุขในการปฏิบัติงานในแต่ละด้านไม่แตกต่างกันCurricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26490 SIU IS-T. ความสุขในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน) = Work Happiness of Police Officers at General Support Division, Border Patrol Police Bureau [printed text] / คนธรส ชมเทศ, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - viii, 101 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOM-MBA-2016-05
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน -- ข้าราชการ -- ความพอใจในการทำงาน
[LCSH]ความสุขในการทำงาน -- วิจัย
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานKeywords: ข้าราชการตำรวจ
ความสุขในการปฏิบัติงาน
คุณค่าAbstract: การวิจัยนี้ศึกษาระดับความสุข และเปรียบเทียบความสุขในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน ในด้านสัมพันธภาพกับบุคลากรในองค์กร ความสำเร็จในงาน การตระหนักในคุณค่าของวิชาชีพตำรวจ การเป็นที่ยอมรับ
ทางสังคม การได้รับการสนับสนุนด้านสวัสดิการขององค์กร จำแนกตามข้อมูลด้านประชากรศาสตร์
ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสนับสนุนกองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน จำนวน 156 คน ใช้สถิติเชิงพรรณนาในการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคล และ
การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-Way ANOVA) ในการทดสอบสมมติฐาน
ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชายมากกว่าเพศหญิง มีอายุระหว่าง
41 – 50 ปี มีสถานภาพสมรส มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี มีชั้นยศเป็นชั้นประทวน มีรายเพียงพอแต่ไม่เหลือเก็บ อายุการทำงานมากกว่า 20 ปี ปฏิบัติงานอยู่ในฝ่ายสนับสนุน 3 ผลการวิจัยยังพบว่าความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า การตระหนักในคุณค่าของวิชาชีพตำรวจมากที่สุด รองลงมาคือการเป็นที่ยอมรับทางสังคม และด้านความสำเร็จในงาน ตามลำดับ นอกจากนี้ยังพบว่าข้าราชการกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน ที่มีภูมิหลังแตกต่างกัน มีความสุขในการปฏิบัติงานในแต่ละด้านไม่แตกต่างกันCurricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26490 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591584 SIU IS-T: SOM-MBA-2016-05 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจ : กรณีศึกษา หน่วยงานระดับกองบังคับการขึ้นตรงต่อสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ / ณิชากร นาคทอง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจ : กรณีศึกษา หน่วยงานระดับกองบังคับการขึ้นตรงต่อสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ Original title : Quality of Work Life of Police Officers : Case Studies of Office of the Commissioner General, Royal Thai Police Material Type: printed text Authors: ณิชากร นาคทอง, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: viii, 79 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOM-MBA-2016-06
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ข้าราชการตำรวจ -- คุณภาพชีวิต
[LCSH]ตำรวจ -- การทำงานKeywords: คุณภาพชีวิตในการทำงาน Abstract: งานค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตในการทำงาน 8 ด้าน ของข้าราชการตำรวจ และเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตในการทำงานของข้าราชการตำรวจ สังกัดหน่วยงานระดับ
กองบังคับการขึ้นตรงต่อสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ จำแนกตามข้อมูลด้านประชากรศาสตร์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ข้าราชการตำรวจ สังกัดหน่วยงานระดับกองบังคับการขึ้นตรงต่อสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ จำนวน 280 ตัวอย่าง โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วย ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ประกอบด้วย Independent Samples t-test และ One-way ANOVA
ผลการศึกษาพบว่า ข้าราชการตำรวจส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 21 - 30 ปี มีระดับการศึกษาปริญญาตรี มีสถานภาพโสด รายได้ต่อเดือน 25,001 บาทขึ้นไป มีชั้นยศระดับประทวน และมีระยะเวลาในการปฏิบัติงานน้อยกว่า 5 ปี โดยมีคุณภาพชีวิตในการทำงานภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมาก คือ ด้านความภูมิในองค์กร
ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ข้าราชการตำรวจสังกัดหน่วยงานระดับกองบังคับการ ขึ้นตรงต่อสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ที่มีข้อมูลภูมิหลังด้านประชากรศาสตร์ ได้แก่ เพศ อายุ การศึกษา สถานภาพสมรส รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ชั้นยศ และระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ที่แตกต่างกันมีคุณภาพชีวิตในการทำงานที่ไม่แตกต่างกันCurricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26491 SIU IS-T. คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจ : กรณีศึกษา หน่วยงานระดับกองบังคับการขึ้นตรงต่อสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ = Quality of Work Life of Police Officers : Case Studies of Office of the Commissioner General, Royal Thai Police [printed text] / ณิชากร นาคทอง, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - viii, 79 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOM-MBA-2016-06
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ข้าราชการตำรวจ -- คุณภาพชีวิต
[LCSH]ตำรวจ -- การทำงานKeywords: คุณภาพชีวิตในการทำงาน Abstract: งานค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตในการทำงาน 8 ด้าน ของข้าราชการตำรวจ และเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตในการทำงานของข้าราชการตำรวจ สังกัดหน่วยงานระดับ
กองบังคับการขึ้นตรงต่อสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ จำแนกตามข้อมูลด้านประชากรศาสตร์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ข้าราชการตำรวจ สังกัดหน่วยงานระดับกองบังคับการขึ้นตรงต่อสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ จำนวน 280 ตัวอย่าง โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วย ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ประกอบด้วย Independent Samples t-test และ One-way ANOVA
ผลการศึกษาพบว่า ข้าราชการตำรวจส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 21 - 30 ปี มีระดับการศึกษาปริญญาตรี มีสถานภาพโสด รายได้ต่อเดือน 25,001 บาทขึ้นไป มีชั้นยศระดับประทวน และมีระยะเวลาในการปฏิบัติงานน้อยกว่า 5 ปี โดยมีคุณภาพชีวิตในการทำงานภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมาก คือ ด้านความภูมิในองค์กร
ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ข้าราชการตำรวจสังกัดหน่วยงานระดับกองบังคับการ ขึ้นตรงต่อสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ที่มีข้อมูลภูมิหลังด้านประชากรศาสตร์ ได้แก่ เพศ อายุ การศึกษา สถานภาพสมรส รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ชั้นยศ และระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ที่แตกต่างกันมีคุณภาพชีวิตในการทำงานที่ไม่แตกต่างกันCurricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26491 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591576 SIU IS-T: SOM-MBA-2016-06 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. นวัตวิถีการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์อยุธยาโมเดล / เกษียร วรศิริ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU THE-T Title : นวัตวิถีการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์อยุธยาโมเดล Original title : Historical Tourism Innovative : Ayutthaya Model Material Type: printed text Authors: เกษียร วรศิริ, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: vii, 181 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2018-07
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2561Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การท่องเที่ยว -- การจัดการ
[LCSH]การบริหารKeywords: การบริหารจัดการ,
อัตลักษณ์,
นวัตวิถี,
มรดกโลกที่มีชีวิตAbstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยใดที่ก่อให้เกิดปัญหา
ในการบริหารจัดการท่องเที่ยวในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 2) ปัจจัยใดที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผล
ของการบริหารจัดการท่องเที่ยว 3) มีการพัฒนาอะไรที่จะทำให้การท่องเที่ยวเขตเมืองมรดกโลก
ของอุทยานประวัติศาสตร์ มีเอกลักษณ์ มีความยั่งยืนสอดคล้องกับวิถีชุมชน และ 4) รายรับจากการท่องเที่ยวส่งผลให้เกิดการหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจอย่างไร ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง แบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ 1) หน่วยงานภาครัฐ จำนวน 30 คน 2) หน่วยงานเอกชน จำนวน 10 คน 3) หน่วยงานส่วนท้องถิ่นและนักท่องเที่ยว จำนวน 20 คน รวมกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 60 คน กลุ่มตัวอย่างแบบลูกโซ่และต่อเนื่องด้วยการอ้างอิงด้วยบุคคลและผู้เชี่ยวชาญ ผลการวิจัย พบว่า ปัญหาหลักในการบริหารงานของอยุธยา คือ ความขัดแย้งทางกฎหมายและข้อบังคับจากหน่วยงานต่างๆ ในจังหวัด ความรับผิดชอบที่ทับซ้อนเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพในการให้บริการ ซึ่งผู้เชี่ยวชาญหลายคนแนะนำให้จังหวัดอยุธยาปฏิบัติตามเส้นทางเดียวกันเพื่อให้เป็นเขตเทศบาลพิเศษ เหมือนเขตพัทยา และกรุงเทพฯ และระบุกฎหมายพิเศษในการจัดการพื้นที่ดังกล่าว ผู้บริหารระดับสูงของจังหวัดมีบทบาทสำคัญในการที่จะทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางของการบูรณาการและวางนโยบายและยุทธศาสตร์ที่ถูกต้องตามประเพณี วัฒนธรรม และสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติของชุมชน ในท้ายที่สุดเจ้าหน้าที่ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมุ่งเป้าไปที่
การรักษาประเพณีท้องถิ่นและประวัติของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาซึ่งจะนำไปสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน
ของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในจังหวัด และสุดท้ายนี้ปัจจัยที่สำคัญที่ทำให้นักท่องเที่ยวที่มาเยือน
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา คือ สามารถสัมผัสกับมรดกโลกที่แท้จริงซึ่งสามารถมองเห็นวิถีชีวิตของชุมชน
ในท้องถิ่นได้ รวมทั้งจังหวัดพระนครศรีอยุธยามีศักยภาพในการดึงดูดนักท่องเที่ยวจำนวนมากที่สามารถสร้างรายได้ให้กับประเทศมากขึ้น การลดความเสี่ยงและผลกระทบในทางลบต่อชีวิตของชุมชนท้องถิ่น
ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการเติบโตอย่างยั่งยืนของมรดกโลกที่มีลักษณะเป็น "นวัตกรรมทางประวัติศาสตร์อยุธยา" ดังที่ได้กล่าวมาแล้วCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27884 SIU THE-T. นวัตวิถีการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์อยุธยาโมเดล = Historical Tourism Innovative : Ayutthaya Model [printed text] / เกษียร วรศิริ, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - vii, 181 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: SOM-DBA-2018-07
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2561
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การท่องเที่ยว -- การจัดการ
[LCSH]การบริหารKeywords: การบริหารจัดการ,
อัตลักษณ์,
นวัตวิถี,
มรดกโลกที่มีชีวิตAbstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยใดที่ก่อให้เกิดปัญหา
ในการบริหารจัดการท่องเที่ยวในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 2) ปัจจัยใดที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผล
ของการบริหารจัดการท่องเที่ยว 3) มีการพัฒนาอะไรที่จะทำให้การท่องเที่ยวเขตเมืองมรดกโลก
ของอุทยานประวัติศาสตร์ มีเอกลักษณ์ มีความยั่งยืนสอดคล้องกับวิถีชุมชน และ 4) รายรับจากการท่องเที่ยวส่งผลให้เกิดการหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจอย่างไร ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง แบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ 1) หน่วยงานภาครัฐ จำนวน 30 คน 2) หน่วยงานเอกชน จำนวน 10 คน 3) หน่วยงานส่วนท้องถิ่นและนักท่องเที่ยว จำนวน 20 คน รวมกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 60 คน กลุ่มตัวอย่างแบบลูกโซ่และต่อเนื่องด้วยการอ้างอิงด้วยบุคคลและผู้เชี่ยวชาญ ผลการวิจัย พบว่า ปัญหาหลักในการบริหารงานของอยุธยา คือ ความขัดแย้งทางกฎหมายและข้อบังคับจากหน่วยงานต่างๆ ในจังหวัด ความรับผิดชอบที่ทับซ้อนเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพในการให้บริการ ซึ่งผู้เชี่ยวชาญหลายคนแนะนำให้จังหวัดอยุธยาปฏิบัติตามเส้นทางเดียวกันเพื่อให้เป็นเขตเทศบาลพิเศษ เหมือนเขตพัทยา และกรุงเทพฯ และระบุกฎหมายพิเศษในการจัดการพื้นที่ดังกล่าว ผู้บริหารระดับสูงของจังหวัดมีบทบาทสำคัญในการที่จะทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางของการบูรณาการและวางนโยบายและยุทธศาสตร์ที่ถูกต้องตามประเพณี วัฒนธรรม และสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติของชุมชน ในท้ายที่สุดเจ้าหน้าที่ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมุ่งเป้าไปที่
การรักษาประเพณีท้องถิ่นและประวัติของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาซึ่งจะนำไปสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน
ของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในจังหวัด และสุดท้ายนี้ปัจจัยที่สำคัญที่ทำให้นักท่องเที่ยวที่มาเยือน
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา คือ สามารถสัมผัสกับมรดกโลกที่แท้จริงซึ่งสามารถมองเห็นวิถีชีวิตของชุมชน
ในท้องถิ่นได้ รวมทั้งจังหวัดพระนครศรีอยุธยามีศักยภาพในการดึงดูดนักท่องเที่ยวจำนวนมากที่สามารถสร้างรายได้ให้กับประเทศมากขึ้น การลดความเสี่ยงและผลกระทบในทางลบต่อชีวิตของชุมชนท้องถิ่น
ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการเติบโตอย่างยั่งยืนของมรดกโลกที่มีลักษณะเป็น "นวัตกรรมทางประวัติศาสตร์อยุธยา" ดังที่ได้กล่าวมาแล้วCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27884 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000599017 SIU THE-T: SOM-DBA-2018-07 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000598993 SIU THE-T: SOM-DBA-2018-07 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์กรของพนักงานฝ่ายข่าว: สถานีโทรทัศน์ช่อง 8 / ณธภัฐน์ วงษ์สะอาด / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : ประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์กรของพนักงานฝ่ายข่าว: สถานีโทรทัศน์ช่อง 8 Original title : The Effective Organizational Communication of the News Department Staff: A Case of the television station channel 8 Material Type: printed text Authors: ณธภัฐน์ วงษ์สะอาด, Author ; เพชรรัตน์ โล้วิชากรติกุล, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 61 น. Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOM-MBA-2017-03
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การสื่อสาร
[LCSH]สถานีโทรทัศน์ -- ช่อง 8Keywords: ประสิทธิภาพ,
การสื่อสารภายในองค์กร,
พนักงานฝ่ายข่าวAbstract: การวิจัยเรื่องประสิทธิภาพของการสื่อสารองค์กรของพนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 มีจุดมุ่งหมาย 1) เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์กรของพนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยกระบวนการในการสื่อสารภายในองค์กรโดยจำแนกตามลักษณะส่วนบุคคลของพนักงานได้แก่เพศ อายุ ระดับการศึกษา ตำแหน่งงาน และระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ประชากรที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ พนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ในปี พ.ศ. 2559 จำนวน 100 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลครั้งนี้ได้แก่ แบบสอบถามเกี่ยวกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากร 5 ด้านสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ ค่าร้อยละค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มใช้การทดสอบที (t - Test) ส่วนการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยจากกลุ่มตัวอย่างมากกว่า 2 กลุ่มใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One - Way ANOVA)
ผลการวิจัยพบว่าพนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ที่มีเพศต่างกันมีปัจจัยกระบวนการในการสื่อสารภายในองค์กรไม่แตกต่างกันพนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ที่มีอายุต่างกันมีปัจจัยกระบวนการในการสื่อสารภายในองค์กรแตกต่างกันยกเว้นด้านข้อมูลข่าวสาร ด้านช่องทางการสื่อสาร และด้านประสิทธิภาพในการสื่อสารในองค์กร พนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ที่มีระดับการศึกษาต่างกันมีปัจจัยกระบวนการในการสื่อสารภายในองค์กรแตกต่างกันยกเว้นด้านข้อมูลข่าวสาร พนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ที่มีตำแหน่งงานต่างกันมีปัจจัยกระบวนการในการสื่อสารภายในองค์กรแตกต่างกัน ยกเว้นด้านประสิทธิภาพในการสื่อสารในองค์กร พนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ที่มีระยะเวลาในการปฏิบัติงานต่างกันมีปัจจัยกระบวนการในการสื่อสารภายในองค์กรแตกต่างกัน ยกเว้นด้านข้อมูลข่าวสารและด้านช่องทางการสื่อสารCurricular : BBA/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27542 SIU IS-T. ประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์กรของพนักงานฝ่ายข่าว: สถานีโทรทัศน์ช่อง 8 = The Effective Organizational Communication of the News Department Staff: A Case of the television station channel 8 [printed text] / ณธภัฐน์ วงษ์สะอาด, Author ; เพชรรัตน์ โล้วิชากรติกุล, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 61 น. : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOM-MBA-2017-03
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การสื่อสาร
[LCSH]สถานีโทรทัศน์ -- ช่อง 8Keywords: ประสิทธิภาพ,
การสื่อสารภายในองค์กร,
พนักงานฝ่ายข่าวAbstract: การวิจัยเรื่องประสิทธิภาพของการสื่อสารองค์กรของพนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 มีจุดมุ่งหมาย 1) เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์กรของพนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยกระบวนการในการสื่อสารภายในองค์กรโดยจำแนกตามลักษณะส่วนบุคคลของพนักงานได้แก่เพศ อายุ ระดับการศึกษา ตำแหน่งงาน และระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ประชากรที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ พนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ในปี พ.ศ. 2559 จำนวน 100 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลครั้งนี้ได้แก่ แบบสอบถามเกี่ยวกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากร 5 ด้านสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ ค่าร้อยละค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มใช้การทดสอบที (t - Test) ส่วนการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยจากกลุ่มตัวอย่างมากกว่า 2 กลุ่มใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One - Way ANOVA)
ผลการวิจัยพบว่าพนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ที่มีเพศต่างกันมีปัจจัยกระบวนการในการสื่อสารภายในองค์กรไม่แตกต่างกันพนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ที่มีอายุต่างกันมีปัจจัยกระบวนการในการสื่อสารภายในองค์กรแตกต่างกันยกเว้นด้านข้อมูลข่าวสาร ด้านช่องทางการสื่อสาร และด้านประสิทธิภาพในการสื่อสารในองค์กร พนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ที่มีระดับการศึกษาต่างกันมีปัจจัยกระบวนการในการสื่อสารภายในองค์กรแตกต่างกันยกเว้นด้านข้อมูลข่าวสาร พนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ที่มีตำแหน่งงานต่างกันมีปัจจัยกระบวนการในการสื่อสารภายในองค์กรแตกต่างกัน ยกเว้นด้านประสิทธิภาพในการสื่อสารในองค์กร พนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ที่มีระยะเวลาในการปฏิบัติงานต่างกันมีปัจจัยกระบวนการในการสื่อสารภายในองค์กรแตกต่างกัน ยกเว้นด้านข้อมูลข่าวสารและด้านช่องทางการสื่อสารCurricular : BBA/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27542 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000596567 SIU IS-T: SOM-MBA-2017-03 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000596534 SIU IS-T: SOM-MBA-2017-03 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรภาครัฐ : กรณีศึกษาสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ กระทรวงการคลัง / พีรัฐติ วิทยประพัฒน์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรภาครัฐ : กรณีศึกษาสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ กระทรวงการคลัง Original title : Reinforcing Motivation Factors in Performance of Government Official: A Case Study of Public Debt Management Office, Ministry of Finance Material Type: printed text Authors: พีรัฐติ วิทยประพัฒน์, Author ; เพชรรัตน์ โล้วิชากรติกุล, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: viii, 60 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOM-MBA-2017-01
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กระทรวงการคลัง -- บุคลากร -- สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
[LCSH]แรงจูงใจในการทำงานKeywords: แรงจูงใจ,
บุคลากรองค์กรภาครัฐAbstract: การวิจัยเรื่องปัจจัยเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรภาครัฐ : กรณีศึกษาสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ กระทรวงการคลัง มีจุดมุ่งหมาย 1) เพื่อศึกษาแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากร 2) เพื่อเปรียบเทียบแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรโดยรวม และรายด้าน ได้แก่ ด้านความสำเร็จในการปฏิบัติงาน ด้านการยอมรับนับถือ ด้านลักษณะงานที่ปฏิบัติ ด้านความรับผิดชอบ และด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่การงาน ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ บุคลากรของสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ในปี พ.ศ. 2559 จำนวน 250 คน กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 154 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถามเกี่ยวกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากร 5 ด้าน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มใช้การทดสอบที (t - Test) ส่วนการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยจากกลุ่มตัวอย่างมากกว่า 2 กลุ่มใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One - Way ANOVA)
โดยผลการวิจัยพบว่า 1) บุคลากรเพศชายและหญิงมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานโดยรวมและในแต่ละด้านไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) บุคลากรที่มีอายุแตกต่างกันมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานโดยรวมแตกต่างกัน เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่การงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) บุคลากรที่มีระดับการศึกษาแตกต่างกันมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานโดยรวมไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านการยอมรับนับถือ และด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่การงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4) บุคลากรที่มีรายได้แตกต่างกันมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานโดยรวมและในแต่ละด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 5) บุคลากรที่มีประเภทตำแหน่งแตกต่างกันมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานโดยรวมแตกต่างกัน เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านลักษณะงานที่ปฏิบัติ และด้านความรับผิดชอบไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 6) บุคลากรที่มีประสบการณ์ทำงานแตกต่างกันมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานโดยรวมแตกต่างกัน เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่การงานไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
Curricular : BBA/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26624 SIU IS-T. ปัจจัยเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรภาครัฐ : กรณีศึกษาสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ กระทรวงการคลัง = Reinforcing Motivation Factors in Performance of Government Official: A Case Study of Public Debt Management Office, Ministry of Finance [printed text] / พีรัฐติ วิทยประพัฒน์, Author ; เพชรรัตน์ โล้วิชากรติกุล, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - viii, 60 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOM-MBA-2017-01
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กระทรวงการคลัง -- บุคลากร -- สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
[LCSH]แรงจูงใจในการทำงานKeywords: แรงจูงใจ,
บุคลากรองค์กรภาครัฐAbstract: การวิจัยเรื่องปัจจัยเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรภาครัฐ : กรณีศึกษาสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ กระทรวงการคลัง มีจุดมุ่งหมาย 1) เพื่อศึกษาแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากร 2) เพื่อเปรียบเทียบแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรโดยรวม และรายด้าน ได้แก่ ด้านความสำเร็จในการปฏิบัติงาน ด้านการยอมรับนับถือ ด้านลักษณะงานที่ปฏิบัติ ด้านความรับผิดชอบ และด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่การงาน ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ บุคลากรของสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ในปี พ.ศ. 2559 จำนวน 250 คน กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 154 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถามเกี่ยวกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากร 5 ด้าน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มใช้การทดสอบที (t - Test) ส่วนการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยจากกลุ่มตัวอย่างมากกว่า 2 กลุ่มใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One - Way ANOVA)
โดยผลการวิจัยพบว่า 1) บุคลากรเพศชายและหญิงมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานโดยรวมและในแต่ละด้านไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) บุคลากรที่มีอายุแตกต่างกันมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานโดยรวมแตกต่างกัน เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่การงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) บุคลากรที่มีระดับการศึกษาแตกต่างกันมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานโดยรวมไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านการยอมรับนับถือ และด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่การงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4) บุคลากรที่มีรายได้แตกต่างกันมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานโดยรวมและในแต่ละด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 5) บุคลากรที่มีประเภทตำแหน่งแตกต่างกันมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานโดยรวมแตกต่างกัน เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านลักษณะงานที่ปฏิบัติ และด้านความรับผิดชอบไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 6) บุคลากรที่มีประสบการณ์ทำงานแตกต่างกันมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานโดยรวมแตกต่างกัน เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่การงานไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
Curricular : BBA/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26624 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592731 SIU IS-T: SOM-MBA-2017-01 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000592764 SIU IS-T: SOM-MBA-2017-01 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. รูปแบบการบริหารจัดการที่ส่งผลต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล / รุ่งนภา กุลภักดี / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU THE-T Title : รูปแบบการบริหารจัดการที่ส่งผลต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล Original title : Management Model Affecting the Success in Nursing Education Institutions Material Type: printed text Authors: รุ่งนภา กุลภักดี, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: xii, 255 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2017-10
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารจัดการ
[LCSH]ผู้นำ -- คุณลักษณะKeywords: ความสำเร็จของสถาบัน,
การบริหารจัดการ,
คุณลักษณะผู้นำ,
สถาบันการศึกษาพยาบาลAbstract: การวิจัยเชิงพรรณนานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์หาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่เกี่ยวข้องระหว่างคุณลักษณะผู้นำและการบริหารจัดการสถาบันที่ส่งผลต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล และกำหนดรูปแบบการบริหารจัดการที่ส่งผลต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล กลุ่มตัวอย่างคณบดี/ผู้อำนวยการและอาจารย์พยาบาลปฏิบัติหน้าที่บริหารงานของสถาบันการศึกษาพยาบาลในการวิจัยเชิงปริมาณ จำนวน 365 คน และการวิจัยเชิงคุณภาพ จำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ ใช้สถิติเชิงพรรณนาได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ สถิติวิเคราะห์เส้นทางอิทธิพล (path analysis) สถิติการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง (structural equation modeling : SEM) และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (content analysis)
ผลการวิจัยพบว่า คุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารมีอิทธิพลทางตรงกับการบริหารจัดการ (DE=1.18) และคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารมีอิทธิพลทางตรงและทางอ้อมกับความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล (DE=-.52, IE=1.67) ส่วนการบริหารจัดการมีอิทธิพลทางตรงกับความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล (DE=1.42) และโมเดลสมการโครงสร้างความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่เกี่ยวข้องระหว่างคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารและการบริหารจัดการที่ส่งผลต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาลที่พัฒนาขึ้นมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (χ2=5.909, df=6, P=.433, CMIN/df=.985, GFI=.996, AGFI=.976, RMSEA=.000) ซึ่งสามารถอธิบายผลสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาลได้ร้อยละ 54.10 ผลการวิจัยเชิงคุณภาพสอดคล้องกับเชิงปริมาณในทุกมิติ และเสนอแนะให้พัฒนาคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารที่เอื้อต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล รวมทั้งการรวมกลุ่มกันเป็นเครือข่ายเพื่อพัฒนาศักยภาพและกำหนดทิศทางการพัฒนาร่วมกันในการเสริมสร้างความแข็งแกร่งและความได้เปรียบในการแข่งขันให้กับสถาบันการศึกษาพยาบาลCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27547 SIU THE-T. รูปแบบการบริหารจัดการที่ส่งผลต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล = Management Model Affecting the Success in Nursing Education Institutions [printed text] / รุ่งนภา กุลภักดี, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - xii, 255 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOM-DBA-2017-10
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารจัดการ
[LCSH]ผู้นำ -- คุณลักษณะKeywords: ความสำเร็จของสถาบัน,
การบริหารจัดการ,
คุณลักษณะผู้นำ,
สถาบันการศึกษาพยาบาลAbstract: การวิจัยเชิงพรรณนานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์หาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่เกี่ยวข้องระหว่างคุณลักษณะผู้นำและการบริหารจัดการสถาบันที่ส่งผลต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล และกำหนดรูปแบบการบริหารจัดการที่ส่งผลต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล กลุ่มตัวอย่างคณบดี/ผู้อำนวยการและอาจารย์พยาบาลปฏิบัติหน้าที่บริหารงานของสถาบันการศึกษาพยาบาลในการวิจัยเชิงปริมาณ จำนวน 365 คน และการวิจัยเชิงคุณภาพ จำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ ใช้สถิติเชิงพรรณนาได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ สถิติวิเคราะห์เส้นทางอิทธิพล (path analysis) สถิติการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง (structural equation modeling : SEM) และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (content analysis)
ผลการวิจัยพบว่า คุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารมีอิทธิพลทางตรงกับการบริหารจัดการ (DE=1.18) และคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารมีอิทธิพลทางตรงและทางอ้อมกับความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล (DE=-.52, IE=1.67) ส่วนการบริหารจัดการมีอิทธิพลทางตรงกับความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล (DE=1.42) และโมเดลสมการโครงสร้างความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่เกี่ยวข้องระหว่างคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารและการบริหารจัดการที่ส่งผลต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาลที่พัฒนาขึ้นมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (χ2=5.909, df=6, P=.433, CMIN/df=.985, GFI=.996, AGFI=.976, RMSEA=.000) ซึ่งสามารถอธิบายผลสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาลได้ร้อยละ 54.10 ผลการวิจัยเชิงคุณภาพสอดคล้องกับเชิงปริมาณในทุกมิติ และเสนอแนะให้พัฒนาคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารที่เอื้อต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล รวมทั้งการรวมกลุ่มกันเป็นเครือข่ายเพื่อพัฒนาศักยภาพและกำหนดทิศทางการพัฒนาร่วมกันในการเสริมสร้างความแข็งแกร่งและความได้เปรียบในการแข่งขันให้กับสถาบันการศึกษาพยาบาลCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27547 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000596674 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-10 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000596682 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-10 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available