From this page you can:
Home |
Author details
Author โล้วิชากรติกุล เพชรรัตน์
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesSIU THE-T. การรับรู้ของพนักงานที่มีต่อรูปแบบการบริหารงานของผู้จัดการชาวไทย / สาลินี ชัยวัฒนพร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU THE-T Title : การรับรู้ของพนักงานที่มีต่อรูปแบบการบริหารงานของผู้จัดการชาวไทย Original title : Perceptions of Employees towards Thai Manager’s Management Style Material Type: printed text Authors: สาลินี ชัยวัฒนพร, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; เพชรรัตน์ โล้วิชากรติกุล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: xvi, 344 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2017-01
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารงาน
[LCSH]วัฒนธรรมองค์การ -- การจัดการ
[LCSH]แรงจูงใจในการทำงานKeywords: การรับรู้ของพนักงาน,
การยอมรับของพนักงาน,
การบริหารงาน,
ผู้จัดการชาวไทยAbstract: งานวิจัยนี้ เพื่อศึกษาการรับรู้ของพนักงานเกี่ยวกับรูปแบบของของผู้จัดการชาวไทย โดยมี
กลุ่มตัวอย่าง 800 คน และศึกษาผู้ที่สาเร็จปริญญาตรีและประกอบอาชีพในหน่วยงานภาครัฐและ
ภาคส่วนเอกชน อย่างละ 400 คน ซึ่งแบบสอบถามได้ถูกพัฒนามาจากแนวคิด 5 มิติทางวัฒนธรรมของ ฮอฟสตีท (Hofstede) และได้ไปพัฒนาต่อเนื่องและถูกใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง งานวิจัยนี้ใช้สถิติเชิงพรรณนาในการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม และทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปร โดยใช้สถิติเชิงอนุมาณในการหาค่า t-test และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว One-way ANOVA ในการทดสอบสมมติฐาน
ผลการวิจัยพบว่า ในส่วนงานราชการมีการรับรู้การบริหารของผู้จัดการชาวไทยรับรู้ว่า
หัวหน้างานมักหลีกเลี่ยงความเสี่ยงเป็นอันดับแรก (มิติการหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอน) รองลงมาคือการตั้งเป้าหมายในระยะยาว (มิติเป้าหมายระยะยาว) การรักษาระยะห่างจากลูกน้อง (มิติความเหลื่อมล้าในอานาจ) แบ่งแยกความสาคัญระหว่างผู้ชายกับผู้หญิง (มิติการแบ่งแยกชายหญิง) และมีความนิยมเป็นหมู่เหล่าค่อนข้างมาก (ปัจเจกบุคคลและกลุ่มนิยม) ตามลาดับ ส่วนการยอมรับการบริหารงานของผู้จัดการชาวไทยของพนักงานในส่วนงานราชการพบว่าให้ความสาคัญเกี่ยวกับลักษณะผู้นาของผู้บริหารเป็นอันดับแรก ถัดมาคือความพึงพอใจในการทางาน ความพึงพอใจในตัวผู้บังคับบัญชา ระบบการให้คุณให้โทษ การปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมในการทางาน ระบบการประเมินผล ตามลาดับ
นอกจากนี้ ผลการวิจัยในส่วนงานเอกชนมีการรับรู้ของพนักงานที่แตกต่างกัน โดยรับรู้ว่า
ผู้จัดการชาวไทยให้ความสาคัญกับการมีเป้าหมายในระยะยาวมากที่สุด รองลงมาคือการหลีกเลี่ยง
ความเสี่ยง (มิติหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอน) รักษาระยะห่างระหว่างตนเองกับลูกน้อง (มิติความเหลื่อมล้าในอานาจ) มีความรักพวกพ้อง (มิติปัจเจกบุคคลและกลุ่มนิยม) และเห็นว่าผู้หญิงมีความสาคัญเท่าเทียมกับผู้ชาย (มิติการแบ่งแยกชายหญิง) ตามลาดับ นอกจากนั้นผลการวิจัยยังแสดงให้เห็นว่าพนักงานชาวไทยทั้งภาครัฐและเอกชนส่วนใหญ่ การยอมรับการทางานภายใต้การบริหารงานของผู้จัดการชาวไทยว่ามีความพึงพอใจในการทางานเป็นอันดับแรก รองลงมาเป็นการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมในการทางาน ลักษณะของผู้นาของผู้บริหาร ความพึงพอใจในตัวผู้บังคับบัญชา ระบบการประเมินผลงาน และระบบการให้คุณให้โทษ ตามลาดับCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26777 SIU THE-T. การรับรู้ของพนักงานที่มีต่อรูปแบบการบริหารงานของผู้จัดการชาวไทย = Perceptions of Employees towards Thai Manager’s Management Style [printed text] / สาลินี ชัยวัฒนพร, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; เพชรรัตน์ โล้วิชากรติกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - xvi, 344 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOM-DBA-2017-01
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารงาน
[LCSH]วัฒนธรรมองค์การ -- การจัดการ
[LCSH]แรงจูงใจในการทำงานKeywords: การรับรู้ของพนักงาน,
การยอมรับของพนักงาน,
การบริหารงาน,
ผู้จัดการชาวไทยAbstract: งานวิจัยนี้ เพื่อศึกษาการรับรู้ของพนักงานเกี่ยวกับรูปแบบของของผู้จัดการชาวไทย โดยมี
กลุ่มตัวอย่าง 800 คน และศึกษาผู้ที่สาเร็จปริญญาตรีและประกอบอาชีพในหน่วยงานภาครัฐและ
ภาคส่วนเอกชน อย่างละ 400 คน ซึ่งแบบสอบถามได้ถูกพัฒนามาจากแนวคิด 5 มิติทางวัฒนธรรมของ ฮอฟสตีท (Hofstede) และได้ไปพัฒนาต่อเนื่องและถูกใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง งานวิจัยนี้ใช้สถิติเชิงพรรณนาในการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม และทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปร โดยใช้สถิติเชิงอนุมาณในการหาค่า t-test และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว One-way ANOVA ในการทดสอบสมมติฐาน
ผลการวิจัยพบว่า ในส่วนงานราชการมีการรับรู้การบริหารของผู้จัดการชาวไทยรับรู้ว่า
หัวหน้างานมักหลีกเลี่ยงความเสี่ยงเป็นอันดับแรก (มิติการหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอน) รองลงมาคือการตั้งเป้าหมายในระยะยาว (มิติเป้าหมายระยะยาว) การรักษาระยะห่างจากลูกน้อง (มิติความเหลื่อมล้าในอานาจ) แบ่งแยกความสาคัญระหว่างผู้ชายกับผู้หญิง (มิติการแบ่งแยกชายหญิง) และมีความนิยมเป็นหมู่เหล่าค่อนข้างมาก (ปัจเจกบุคคลและกลุ่มนิยม) ตามลาดับ ส่วนการยอมรับการบริหารงานของผู้จัดการชาวไทยของพนักงานในส่วนงานราชการพบว่าให้ความสาคัญเกี่ยวกับลักษณะผู้นาของผู้บริหารเป็นอันดับแรก ถัดมาคือความพึงพอใจในการทางาน ความพึงพอใจในตัวผู้บังคับบัญชา ระบบการให้คุณให้โทษ การปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมในการทางาน ระบบการประเมินผล ตามลาดับ
นอกจากนี้ ผลการวิจัยในส่วนงานเอกชนมีการรับรู้ของพนักงานที่แตกต่างกัน โดยรับรู้ว่า
ผู้จัดการชาวไทยให้ความสาคัญกับการมีเป้าหมายในระยะยาวมากที่สุด รองลงมาคือการหลีกเลี่ยง
ความเสี่ยง (มิติหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอน) รักษาระยะห่างระหว่างตนเองกับลูกน้อง (มิติความเหลื่อมล้าในอานาจ) มีความรักพวกพ้อง (มิติปัจเจกบุคคลและกลุ่มนิยม) และเห็นว่าผู้หญิงมีความสาคัญเท่าเทียมกับผู้ชาย (มิติการแบ่งแยกชายหญิง) ตามลาดับ นอกจากนั้นผลการวิจัยยังแสดงให้เห็นว่าพนักงานชาวไทยทั้งภาครัฐและเอกชนส่วนใหญ่ การยอมรับการทางานภายใต้การบริหารงานของผู้จัดการชาวไทยว่ามีความพึงพอใจในการทางานเป็นอันดับแรก รองลงมาเป็นการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมในการทางาน ลักษณะของผู้นาของผู้บริหาร ความพึงพอใจในตัวผู้บังคับบัญชา ระบบการประเมินผลงาน และระบบการให้คุณให้โทษ ตามลาดับCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26777 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593390 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-01 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593424 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-01 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจกับการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ กรณีศึกษา กองวินัยสำนักงานตำรวจแห่งชาติ / ปิยะพร ป๊อกแก้ว / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจกับการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ กรณีศึกษา กองวินัยสำนักงานตำรวจแห่งชาติ Original title : The Relationship between Motivation and Performance of the Police: A Case Study of the Disciplinary Division Material Type: printed text Authors: ปิยะพร ป๊อกแก้ว, Author ; เพชรรัตน์ โล้วิชากรติกุล, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: ix, 105 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOM-MBA-2016-01
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กองวินัยสำนักงานตำรวจแห่งชาติ -- ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]การจูงใจในการทำงาน
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานAbstract: การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจกับการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ กองวินัย สำนักงานตำรวจแห่งชาติ จำนวน 120 คน ใช้วิธีการวิจัย 2 วิธีคือ 1) การวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม (มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในการวิเคราะห์ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์และการวิเคราะห์โดยใช้สถิติ t-test, F-test (ANOVA) และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson' s Correlation Coefficient ) ในการทดสอบสมมุติฐาน 2) การวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26483 SIU IS-T. ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจกับการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ กรณีศึกษา กองวินัยสำนักงานตำรวจแห่งชาติ = The Relationship between Motivation and Performance of the Police: A Case Study of the Disciplinary Division [printed text] / ปิยะพร ป๊อกแก้ว, Author ; เพชรรัตน์ โล้วิชากรติกุล, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - ix, 105 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOM-MBA-2016-01
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กองวินัยสำนักงานตำรวจแห่งชาติ -- ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]การจูงใจในการทำงาน
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานAbstract: การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจกับการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ กองวินัย สำนักงานตำรวจแห่งชาติ จำนวน 120 คน ใช้วิธีการวิจัย 2 วิธีคือ 1) การวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม (มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในการวิเคราะห์ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์และการวิเคราะห์โดยใช้สถิติ t-test, F-test (ANOVA) และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson' s Correlation Coefficient ) ในการทดสอบสมมุติฐาน 2) การวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26483 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591543 SIU IS-T: SOM-MBA-2016-01 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์กรของพนักงานฝ่ายข่าว: สถานีโทรทัศน์ช่อง 8 / ณธภัฐน์ วงษ์สะอาด / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : ประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์กรของพนักงานฝ่ายข่าว: สถานีโทรทัศน์ช่อง 8 Original title : The Effective Organizational Communication of the News Department Staff: A Case of the television station channel 8 Material Type: printed text Authors: ณธภัฐน์ วงษ์สะอาด, Author ; เพชรรัตน์ โล้วิชากรติกุล, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 61 น. Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOM-MBA-2017-03
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การสื่อสาร
[LCSH]สถานีโทรทัศน์ -- ช่อง 8Keywords: ประสิทธิภาพ,
การสื่อสารภายในองค์กร,
พนักงานฝ่ายข่าวAbstract: การวิจัยเรื่องประสิทธิภาพของการสื่อสารองค์กรของพนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 มีจุดมุ่งหมาย 1) เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์กรของพนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยกระบวนการในการสื่อสารภายในองค์กรโดยจำแนกตามลักษณะส่วนบุคคลของพนักงานได้แก่เพศ อายุ ระดับการศึกษา ตำแหน่งงาน และระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ประชากรที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ พนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ในปี พ.ศ. 2559 จำนวน 100 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลครั้งนี้ได้แก่ แบบสอบถามเกี่ยวกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากร 5 ด้านสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ ค่าร้อยละค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มใช้การทดสอบที (t - Test) ส่วนการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยจากกลุ่มตัวอย่างมากกว่า 2 กลุ่มใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One - Way ANOVA)
ผลการวิจัยพบว่าพนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ที่มีเพศต่างกันมีปัจจัยกระบวนการในการสื่อสารภายในองค์กรไม่แตกต่างกันพนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ที่มีอายุต่างกันมีปัจจัยกระบวนการในการสื่อสารภายในองค์กรแตกต่างกันยกเว้นด้านข้อมูลข่าวสาร ด้านช่องทางการสื่อสาร และด้านประสิทธิภาพในการสื่อสารในองค์กร พนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ที่มีระดับการศึกษาต่างกันมีปัจจัยกระบวนการในการสื่อสารภายในองค์กรแตกต่างกันยกเว้นด้านข้อมูลข่าวสาร พนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ที่มีตำแหน่งงานต่างกันมีปัจจัยกระบวนการในการสื่อสารภายในองค์กรแตกต่างกัน ยกเว้นด้านประสิทธิภาพในการสื่อสารในองค์กร พนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ที่มีระยะเวลาในการปฏิบัติงานต่างกันมีปัจจัยกระบวนการในการสื่อสารภายในองค์กรแตกต่างกัน ยกเว้นด้านข้อมูลข่าวสารและด้านช่องทางการสื่อสารCurricular : BBA/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27542 SIU IS-T. ประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์กรของพนักงานฝ่ายข่าว: สถานีโทรทัศน์ช่อง 8 = The Effective Organizational Communication of the News Department Staff: A Case of the television station channel 8 [printed text] / ณธภัฐน์ วงษ์สะอาด, Author ; เพชรรัตน์ โล้วิชากรติกุล, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 61 น. : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOM-MBA-2017-03
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การสื่อสาร
[LCSH]สถานีโทรทัศน์ -- ช่อง 8Keywords: ประสิทธิภาพ,
การสื่อสารภายในองค์กร,
พนักงานฝ่ายข่าวAbstract: การวิจัยเรื่องประสิทธิภาพของการสื่อสารองค์กรของพนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 มีจุดมุ่งหมาย 1) เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์กรของพนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยกระบวนการในการสื่อสารภายในองค์กรโดยจำแนกตามลักษณะส่วนบุคคลของพนักงานได้แก่เพศ อายุ ระดับการศึกษา ตำแหน่งงาน และระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ประชากรที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ พนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ในปี พ.ศ. 2559 จำนวน 100 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลครั้งนี้ได้แก่ แบบสอบถามเกี่ยวกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากร 5 ด้านสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ ค่าร้อยละค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มใช้การทดสอบที (t - Test) ส่วนการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยจากกลุ่มตัวอย่างมากกว่า 2 กลุ่มใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One - Way ANOVA)
ผลการวิจัยพบว่าพนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ที่มีเพศต่างกันมีปัจจัยกระบวนการในการสื่อสารภายในองค์กรไม่แตกต่างกันพนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ที่มีอายุต่างกันมีปัจจัยกระบวนการในการสื่อสารภายในองค์กรแตกต่างกันยกเว้นด้านข้อมูลข่าวสาร ด้านช่องทางการสื่อสาร และด้านประสิทธิภาพในการสื่อสารในองค์กร พนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ที่มีระดับการศึกษาต่างกันมีปัจจัยกระบวนการในการสื่อสารภายในองค์กรแตกต่างกันยกเว้นด้านข้อมูลข่าวสาร พนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ที่มีตำแหน่งงานต่างกันมีปัจจัยกระบวนการในการสื่อสารภายในองค์กรแตกต่างกัน ยกเว้นด้านประสิทธิภาพในการสื่อสารในองค์กร พนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ที่มีระยะเวลาในการปฏิบัติงานต่างกันมีปัจจัยกระบวนการในการสื่อสารภายในองค์กรแตกต่างกัน ยกเว้นด้านข้อมูลข่าวสารและด้านช่องทางการสื่อสารCurricular : BBA/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27542 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000596567 SIU IS-T: SOM-MBA-2017-03 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000596534 SIU IS-T: SOM-MBA-2017-03 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรภาครัฐ : กรณีศึกษาสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ กระทรวงการคลัง / พีรัฐติ วิทยประพัฒน์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรภาครัฐ : กรณีศึกษาสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ กระทรวงการคลัง Original title : Reinforcing Motivation Factors in Performance of Government Official: A Case Study of Public Debt Management Office, Ministry of Finance Material Type: printed text Authors: พีรัฐติ วิทยประพัฒน์, Author ; เพชรรัตน์ โล้วิชากรติกุล, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: viii, 60 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOM-MBA-2017-01
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กระทรวงการคลัง -- บุคลากร -- สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
[LCSH]แรงจูงใจในการทำงานKeywords: แรงจูงใจ,
บุคลากรองค์กรภาครัฐAbstract: การวิจัยเรื่องปัจจัยเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรภาครัฐ : กรณีศึกษาสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ กระทรวงการคลัง มีจุดมุ่งหมาย 1) เพื่อศึกษาแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากร 2) เพื่อเปรียบเทียบแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรโดยรวม และรายด้าน ได้แก่ ด้านความสำเร็จในการปฏิบัติงาน ด้านการยอมรับนับถือ ด้านลักษณะงานที่ปฏิบัติ ด้านความรับผิดชอบ และด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่การงาน ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ บุคลากรของสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ในปี พ.ศ. 2559 จำนวน 250 คน กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 154 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถามเกี่ยวกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากร 5 ด้าน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มใช้การทดสอบที (t - Test) ส่วนการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยจากกลุ่มตัวอย่างมากกว่า 2 กลุ่มใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One - Way ANOVA)
โดยผลการวิจัยพบว่า 1) บุคลากรเพศชายและหญิงมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานโดยรวมและในแต่ละด้านไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) บุคลากรที่มีอายุแตกต่างกันมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานโดยรวมแตกต่างกัน เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่การงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) บุคลากรที่มีระดับการศึกษาแตกต่างกันมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานโดยรวมไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านการยอมรับนับถือ และด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่การงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4) บุคลากรที่มีรายได้แตกต่างกันมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานโดยรวมและในแต่ละด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 5) บุคลากรที่มีประเภทตำแหน่งแตกต่างกันมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานโดยรวมแตกต่างกัน เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านลักษณะงานที่ปฏิบัติ และด้านความรับผิดชอบไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 6) บุคลากรที่มีประสบการณ์ทำงานแตกต่างกันมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานโดยรวมแตกต่างกัน เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่การงานไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
Curricular : BBA/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26624 SIU IS-T. ปัจจัยเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรภาครัฐ : กรณีศึกษาสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ กระทรวงการคลัง = Reinforcing Motivation Factors in Performance of Government Official: A Case Study of Public Debt Management Office, Ministry of Finance [printed text] / พีรัฐติ วิทยประพัฒน์, Author ; เพชรรัตน์ โล้วิชากรติกุล, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - viii, 60 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOM-MBA-2017-01
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กระทรวงการคลัง -- บุคลากร -- สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
[LCSH]แรงจูงใจในการทำงานKeywords: แรงจูงใจ,
บุคลากรองค์กรภาครัฐAbstract: การวิจัยเรื่องปัจจัยเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรภาครัฐ : กรณีศึกษาสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ กระทรวงการคลัง มีจุดมุ่งหมาย 1) เพื่อศึกษาแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากร 2) เพื่อเปรียบเทียบแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรโดยรวม และรายด้าน ได้แก่ ด้านความสำเร็จในการปฏิบัติงาน ด้านการยอมรับนับถือ ด้านลักษณะงานที่ปฏิบัติ ด้านความรับผิดชอบ และด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่การงาน ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ บุคลากรของสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ในปี พ.ศ. 2559 จำนวน 250 คน กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 154 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถามเกี่ยวกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากร 5 ด้าน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มใช้การทดสอบที (t - Test) ส่วนการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยจากกลุ่มตัวอย่างมากกว่า 2 กลุ่มใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One - Way ANOVA)
โดยผลการวิจัยพบว่า 1) บุคลากรเพศชายและหญิงมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานโดยรวมและในแต่ละด้านไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) บุคลากรที่มีอายุแตกต่างกันมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานโดยรวมแตกต่างกัน เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่การงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) บุคลากรที่มีระดับการศึกษาแตกต่างกันมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานโดยรวมไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านการยอมรับนับถือ และด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่การงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4) บุคลากรที่มีรายได้แตกต่างกันมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานโดยรวมและในแต่ละด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 5) บุคลากรที่มีประเภทตำแหน่งแตกต่างกันมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานโดยรวมแตกต่างกัน เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านลักษณะงานที่ปฏิบัติ และด้านความรับผิดชอบไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 6) บุคลากรที่มีประสบการณ์ทำงานแตกต่างกันมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานโดยรวมแตกต่างกัน เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่การงานไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
Curricular : BBA/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26624 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592731 SIU IS-T: SOM-MBA-2017-01 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000592764 SIU IS-T: SOM-MBA-2017-01 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีที่ประสบความสำเร็จในสถาบันอาชีวศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาภาครัฐในเขตกรุงเทพมหานคร / รุจิรา ฟูเจริญ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU THE-T Title : ภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีที่ประสบความสำเร็จในสถาบันอาชีวศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาภาครัฐในเขตกรุงเทพมหานคร Original title : Leaderships of Successful Female Executives in Public Vocational Education Institutions under Commission on Vocational in Bangkok Material Type: printed text Authors: รุจิรา ฟูเจริญ, Author ; ธนสุวิทย์ ทับหิรัญรักษ์, Associated Name ; เพชรรัตน์ โล้วิชากรติกุล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: viii, 109 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2017-04
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้นำ
[LCSH]สตรี
[LCSH]อาชีวศึกษาKeywords: ความสำเร็จภาวะผู้นำ,
ผู้บริหารสตรี,
สถาบันอาชีวศึกษาAbstract: วิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีที่ประสบความสำเร็จในสถาบันอาชีวศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาภาครัฐ ในเขตกรุงเทพมหานครและศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างขององค์ประกอบคุณลักษณะภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นบุคลากรด้านการศึกษาที่ทำงานในสถาบันอาชีวศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาภาครัฐ ในเขตกรุงเทพมหานครจำนวน 400คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา และสถิติเชิงอนุมานเพื่อทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรและทดสอบสมมุติฐาน
ผลจากการวิจัยพบว่าผู้บริหารสตรีมีภาวะผู้นำด้านมุ่งเกณฑ์ (separated) ในระดับสูงสุด รองลงมาคือภาวะผู้นำด้านมุ่งงาน (task oriented) ในระดับสูงภาวะผู้นำด้านมุ่งประสาน (integrated) ในระดับสูง และภาวะผู้นำด้านมุ่งสัมพันธ์ (related) ในระดับสูง ตามลำดับ สำหรับด้านทัศนคติของผู้ร่วมงานเกี่ยวกับการยอมรับผู้บริหารสตรีพบว่าอยู่ในระดับดี ความพึงพอใจของผู้ตามในภาพรวมอยู่ในระดับมากผู้ตามมีแรงจูงใจอยู่ในระดับสูงและเชื่อว่าผู้บริหารสตรีสามารถนำให้ทำงานบรรลุเป้าหมายได้ดี นอกจากนี้ผลการวิจัยพบว่าคุณลักษณะของผู้ตามที่แตกต่างกันมีความสัมพันธ์กับภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีที่ประสบความสำเร็จในสถาบันอาชีวศึกษาแตกต่างกันผลการวิจัยยังพบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกันของผู้ตามมีผลต่อการรับรู้ลักษณะผู้นำของผู้บริหารสตรีแตกต่างกันและผลการวิจัยยังพบความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะผู้นำแบบพื้นฐาน 4 แบบกับความสำเร็จของผู้บริหารสตรีในสถาบันอาชีวศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาภาครัฐที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27293 SIU THE-T. ภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีที่ประสบความสำเร็จในสถาบันอาชีวศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาภาครัฐในเขตกรุงเทพมหานคร = Leaderships of Successful Female Executives in Public Vocational Education Institutions under Commission on Vocational in Bangkok [printed text] / รุจิรา ฟูเจริญ, Author ; ธนสุวิทย์ ทับหิรัญรักษ์, Associated Name ; เพชรรัตน์ โล้วิชากรติกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - viii, 109 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOM-DBA-2017-04
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้นำ
[LCSH]สตรี
[LCSH]อาชีวศึกษาKeywords: ความสำเร็จภาวะผู้นำ,
ผู้บริหารสตรี,
สถาบันอาชีวศึกษาAbstract: วิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีที่ประสบความสำเร็จในสถาบันอาชีวศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาภาครัฐ ในเขตกรุงเทพมหานครและศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างขององค์ประกอบคุณลักษณะภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นบุคลากรด้านการศึกษาที่ทำงานในสถาบันอาชีวศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาภาครัฐ ในเขตกรุงเทพมหานครจำนวน 400คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา และสถิติเชิงอนุมานเพื่อทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรและทดสอบสมมุติฐาน
ผลจากการวิจัยพบว่าผู้บริหารสตรีมีภาวะผู้นำด้านมุ่งเกณฑ์ (separated) ในระดับสูงสุด รองลงมาคือภาวะผู้นำด้านมุ่งงาน (task oriented) ในระดับสูงภาวะผู้นำด้านมุ่งประสาน (integrated) ในระดับสูง และภาวะผู้นำด้านมุ่งสัมพันธ์ (related) ในระดับสูง ตามลำดับ สำหรับด้านทัศนคติของผู้ร่วมงานเกี่ยวกับการยอมรับผู้บริหารสตรีพบว่าอยู่ในระดับดี ความพึงพอใจของผู้ตามในภาพรวมอยู่ในระดับมากผู้ตามมีแรงจูงใจอยู่ในระดับสูงและเชื่อว่าผู้บริหารสตรีสามารถนำให้ทำงานบรรลุเป้าหมายได้ดี นอกจากนี้ผลการวิจัยพบว่าคุณลักษณะของผู้ตามที่แตกต่างกันมีความสัมพันธ์กับภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีที่ประสบความสำเร็จในสถาบันอาชีวศึกษาแตกต่างกันผลการวิจัยยังพบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกันของผู้ตามมีผลต่อการรับรู้ลักษณะผู้นำของผู้บริหารสตรีแตกต่างกันและผลการวิจัยยังพบความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะผู้นำแบบพื้นฐาน 4 แบบกับความสำเร็จของผู้บริหารสตรีในสถาบันอาชีวศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาภาครัฐที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27293 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000595098 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-04 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000595106 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-04 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU Thesis. ความสัมพันธ์ระหว่างความจงรักภักดีกับการคงอยู่ของพนักงาน ธนาคารพาณิชย์ไทย / พรทิวา บัญชาพัฒนศักดา / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU Thesis Title : ความสัมพันธ์ระหว่างความจงรักภักดีกับการคงอยู่ของพนักงาน ธนาคารพาณิชย์ไทย Original title : Relationships between Loyalty and Employee Retaining of Thai Commercial Banks’ Employees Material Type: printed text Authors: พรทิวา บัญชาพัฒนศักดา, Author ; เพชรรัตน์ โล้วิชากรติกุล, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2017-08
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ธนาคารพาณิชย์ -- พนักงาน Keywords: ความจงรักภักดี,
การคงอยู่,
พนักงานธนาคารพาณิชย์Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความจงรักภักดีกับการคงอยู่ของพนักงานธนาคารพาณิชย์ไทย เครื่องมือวิจัยคือแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างคือ พนักงานของธนาคารพาณิชย์ไทย จำนวน 400 คน ด้วยวิธีสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิตามสัดส่วน วิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนาเพื่อหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมานการวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และการวิเคราะห์การถดถอย (Regression analysis) ในการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรและทดสอบสมมุติฐาน
ผลการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 36 - 40 ปี มีรายได้รวมเฉลี่ยต่อเดือน 15,001 - 30,000 บาท การศึกษาระดับปริญญาโท สถานภาพสมรส ตำแหน่งเจ้าหน้าที่ มีอายุงานในงานปัจจุบันอยู่ในช่วง 2 - 4 ปี และมีอายุงานรวมกับการทำงานที่ธนาคารพาณิชย์อื่นๆ 6 - 10 ปี ผลการวิจัยยังพบว่าปัจจัยแวดล้อมในการทำงาน ปัจจัยการสร้างแรงจูงใจ ปัจจัยการบริหารองค์กร ปัจจัยค่านิยมร่วม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับสูง เรียงตามลำดับ ส่วนเรื่องความจงรักภักดีด้านจิตใจพบว่าพนักงานมีความเต็มใจทุ่มเทและอุทิศตนให้กับองค์กรเพื่อให้บรรลุเป้าหมายในระดับสูงโดยความจงรักภักดีด้านบรรทัดฐานพบว่าพนักงานยอมทำตามความต้องการขององค์กรเพื่อให้ได้ผลตอบแทนในระดับสูง ด้านการคงอยู่พบว่าพนักงานมีความจงรักภักดีกับองค์กรอยู่ในระดับสูง ผลการทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรพบว่าปัจจัยส่วนบุคคลของพนักงานธนาคารพาณิชย์ไทยมีความสัมพันธ์กับการรับรู้เกี่ยวกับความภักดีในองค์กร ปัจจัยแวดล้อมในการทำงานมีผลต่อความภักดีในองค์กรด้านจิตใจและด้านบรรทัดฐาน ปัจจัยด้านการบริหารองค์กรมีอิทธิพลต่อความจงรักภักดีของพนักงานทั้งด้านจิตใจ และด้านบรรทัดฐาน ปัจจัยค่านิยมร่วมมีอิทธิพลต่อความจงรักภักดีของพนักงานด้านจิตใจและด้านบรรทัดฐาน ปัจจัยการสร้างแรงจูงใจของพนักงานมีอิทธิพลต่อความจงรักภักดีของพนักงานด้านจิตใจและด้านบรรทัดฐาน นอกจากนี้ผลการวิจัยพบว่าความผูกพันด้านจิตใจ และความผูกพันด้านบรรทัดฐาน มีความสัมพันธ์กับการคงอยู่ของพนักงานธนาคารพาณิชย์ไทยCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27319 SIU Thesis. ความสัมพันธ์ระหว่างความจงรักภักดีกับการคงอยู่ของพนักงาน ธนาคารพาณิชย์ไทย = Relationships between Loyalty and Employee Retaining of Thai Commercial Banks’ Employees [printed text] / พรทิวา บัญชาพัฒนศักดา, Author ; เพชรรัตน์ โล้วิชากรติกุล, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
SIU THE-T: SOM-DBA-2017-08
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ธนาคารพาณิชย์ -- พนักงาน Keywords: ความจงรักภักดี,
การคงอยู่,
พนักงานธนาคารพาณิชย์Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความจงรักภักดีกับการคงอยู่ของพนักงานธนาคารพาณิชย์ไทย เครื่องมือวิจัยคือแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างคือ พนักงานของธนาคารพาณิชย์ไทย จำนวน 400 คน ด้วยวิธีสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิตามสัดส่วน วิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนาเพื่อหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมานการวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และการวิเคราะห์การถดถอย (Regression analysis) ในการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรและทดสอบสมมุติฐาน
ผลการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 36 - 40 ปี มีรายได้รวมเฉลี่ยต่อเดือน 15,001 - 30,000 บาท การศึกษาระดับปริญญาโท สถานภาพสมรส ตำแหน่งเจ้าหน้าที่ มีอายุงานในงานปัจจุบันอยู่ในช่วง 2 - 4 ปี และมีอายุงานรวมกับการทำงานที่ธนาคารพาณิชย์อื่นๆ 6 - 10 ปี ผลการวิจัยยังพบว่าปัจจัยแวดล้อมในการทำงาน ปัจจัยการสร้างแรงจูงใจ ปัจจัยการบริหารองค์กร ปัจจัยค่านิยมร่วม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับสูง เรียงตามลำดับ ส่วนเรื่องความจงรักภักดีด้านจิตใจพบว่าพนักงานมีความเต็มใจทุ่มเทและอุทิศตนให้กับองค์กรเพื่อให้บรรลุเป้าหมายในระดับสูงโดยความจงรักภักดีด้านบรรทัดฐานพบว่าพนักงานยอมทำตามความต้องการขององค์กรเพื่อให้ได้ผลตอบแทนในระดับสูง ด้านการคงอยู่พบว่าพนักงานมีความจงรักภักดีกับองค์กรอยู่ในระดับสูง ผลการทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรพบว่าปัจจัยส่วนบุคคลของพนักงานธนาคารพาณิชย์ไทยมีความสัมพันธ์กับการรับรู้เกี่ยวกับความภักดีในองค์กร ปัจจัยแวดล้อมในการทำงานมีผลต่อความภักดีในองค์กรด้านจิตใจและด้านบรรทัดฐาน ปัจจัยด้านการบริหารองค์กรมีอิทธิพลต่อความจงรักภักดีของพนักงานทั้งด้านจิตใจ และด้านบรรทัดฐาน ปัจจัยค่านิยมร่วมมีอิทธิพลต่อความจงรักภักดีของพนักงานด้านจิตใจและด้านบรรทัดฐาน ปัจจัยการสร้างแรงจูงใจของพนักงานมีอิทธิพลต่อความจงรักภักดีของพนักงานด้านจิตใจและด้านบรรทัดฐาน นอกจากนี้ผลการวิจัยพบว่าความผูกพันด้านจิตใจ และความผูกพันด้านบรรทัดฐาน มีความสัมพันธ์กับการคงอยู่ของพนักงานธนาคารพาณิชย์ไทยCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27319 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000595346 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-08 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000595312 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-08 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU Thesis. คุณลักษณะสำคัญของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมที่ประสบความสำเร็จในหมวดการค้า / วินัย วารมา / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU Thesis Title : คุณลักษณะสำคัญของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมที่ประสบความสำเร็จในหมวดการค้า Original title : Essential Characteristic of Successful SMEs Entrepreneurs in Trade Section Material Type: printed text Authors: วินัย วารมา, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; เพชรรัตน์ โล้วิชากรติกุล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: ix, 110 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2017-07
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้ประกอบการ
[LCSH]วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมKeywords: คุณลักษณะผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม Abstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์องค์ประกอบสำคัญของคุณลักษณะของผู้ประกอบการและความสำเร็จของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมและพยากรณ์รูปแบบความสัมพันธ์ขององค์ประกอบคุณลักษณะของผู้ประกอบการที่มีผลต่อความสำเร็จของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในหมวดการค้าโดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ประกอบการของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในหมวดการค้าที่ประกอบธุรกิจค้าส่งและค้าปลีกจำนวน 400 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา และการวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) ในการทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรและทดสอบสมมุติฐาน
ผลการศึกษาเกี่ยวกับคุณลักษณะของผู้ประกอบการที่สำคัญ พบว่ามีความสำคัญเรียงตามลำดับ คือ ความสามารถในการวิเคราะห์ปัญหาของผู้ประกอบการ ทักษะในการสื่อสารและการสนทนากับลูกค้า ความคิดสร้างสรรค์ ทักษะในด้านการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ ศิลปะในการจูงใจลูกค้าความสามารถในการนำเสนอสินค้าให้เวลาในการบริหารงาน ความสามารถในการสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า ความสามารถในการวางแผน ทักษะด้านการคำนวณและดูแลสุขภาพร่างกาย ผลจากการวิจัยด้านกลยุทธ์ด้านการตลาดพบว่า ผู้ประกอบการให้ความสำคัญกับปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ปัจจัยด้านช่องทางการจัดจำหน่าย และปัจจัยด้านราคาเรียงตามลำดับความสำคัญ นอกจากนี้ผลจากการทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรสามารถนำมาสรุปได้ว่า คุณลักษณะของผู้ประกอบการมีความสัมพันธ์กับความสำเร็จของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางหรือขนาดย่อมในหมวดการค้า อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยจากคุณลักษณะของผู้ประกอบการทั้ง 16 องค์ประกอบ ที่ทำการทดสอบ พบว่ามี 11 องค์ประกอบ ประกอบด้วย ด้านสุขภาพ ด้านเวลาในการบริหารงาน ด้านศิลปะในการจูงใจลูกค้า ด้านทักษะในการสื่อสาร ด้านการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ด้านการนำเสนอสินค้า ด้านการคำนวน ด้านการวิเคราะห์ปัญหา ด้านตัดสินใจ ด้านลักษณะผู้นำ และด้านการสร้างเครือข่าย มีความสัมพันธ์กับความสำเร็จในการประกอบธุรกิจในหมวดการค้า อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทั้ง 4 ด้าน คือ ความสำเร็จทางธุรกิจ แนวโน้มของจำนวนพนักงาน แนวโน้มของจำนวนลูกค้า และแนวโน้มของยอดขายCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27318 SIU Thesis. คุณลักษณะสำคัญของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมที่ประสบความสำเร็จในหมวดการค้า = Essential Characteristic of Successful SMEs Entrepreneurs in Trade Section [printed text] / วินัย วารมา, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; เพชรรัตน์ โล้วิชากรติกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - ix, 110 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOM-DBA-2017-07
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้ประกอบการ
[LCSH]วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมKeywords: คุณลักษณะผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม Abstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์องค์ประกอบสำคัญของคุณลักษณะของผู้ประกอบการและความสำเร็จของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมและพยากรณ์รูปแบบความสัมพันธ์ขององค์ประกอบคุณลักษณะของผู้ประกอบการที่มีผลต่อความสำเร็จของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในหมวดการค้าโดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ประกอบการของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในหมวดการค้าที่ประกอบธุรกิจค้าส่งและค้าปลีกจำนวน 400 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา และการวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) ในการทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรและทดสอบสมมุติฐาน
ผลการศึกษาเกี่ยวกับคุณลักษณะของผู้ประกอบการที่สำคัญ พบว่ามีความสำคัญเรียงตามลำดับ คือ ความสามารถในการวิเคราะห์ปัญหาของผู้ประกอบการ ทักษะในการสื่อสารและการสนทนากับลูกค้า ความคิดสร้างสรรค์ ทักษะในด้านการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ ศิลปะในการจูงใจลูกค้าความสามารถในการนำเสนอสินค้าให้เวลาในการบริหารงาน ความสามารถในการสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า ความสามารถในการวางแผน ทักษะด้านการคำนวณและดูแลสุขภาพร่างกาย ผลจากการวิจัยด้านกลยุทธ์ด้านการตลาดพบว่า ผู้ประกอบการให้ความสำคัญกับปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ปัจจัยด้านช่องทางการจัดจำหน่าย และปัจจัยด้านราคาเรียงตามลำดับความสำคัญ นอกจากนี้ผลจากการทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรสามารถนำมาสรุปได้ว่า คุณลักษณะของผู้ประกอบการมีความสัมพันธ์กับความสำเร็จของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางหรือขนาดย่อมในหมวดการค้า อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยจากคุณลักษณะของผู้ประกอบการทั้ง 16 องค์ประกอบ ที่ทำการทดสอบ พบว่ามี 11 องค์ประกอบ ประกอบด้วย ด้านสุขภาพ ด้านเวลาในการบริหารงาน ด้านศิลปะในการจูงใจลูกค้า ด้านทักษะในการสื่อสาร ด้านการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ด้านการนำเสนอสินค้า ด้านการคำนวน ด้านการวิเคราะห์ปัญหา ด้านตัดสินใจ ด้านลักษณะผู้นำ และด้านการสร้างเครือข่าย มีความสัมพันธ์กับความสำเร็จในการประกอบธุรกิจในหมวดการค้า อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทั้ง 4 ด้าน คือ ความสำเร็จทางธุรกิจ แนวโน้มของจำนวนพนักงาน แนวโน้มของจำนวนลูกค้า และแนวโน้มของยอดขายCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27318 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000595320 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-07 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000595296 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-07 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available