From this page you can:
Home |
Author details
Author สวัสดิ์เรียวกุล ประยุทธ์
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesSIU RS-T. อุปสรรคของกฏหมายต่อโครงการพลังงานไฟฟ้าจากขยะมูลฝอยชุมชน / พันฤทธิ์ โมกขะสมิต / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU RS-T Title : อุปสรรคของกฏหมายต่อโครงการพลังงานไฟฟ้าจากขยะมูลฝอยชุมชน Original title : Legal Barriers to Municipal Solid Waste Power Plant Projects Material Type: printed text Authors: พันฤทธิ์ โมกขะสมิต, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: vii, 19 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-11
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ขยะมูลฝอย -- การจัดการ
[LCSH]พลังงานทางเลือก
[LCSH]พลังงานไฟฟ้า -- การผลิตKeywords: อุปสรรคของกฏหมาย
พลังงานไฟฟ้าจากขยะ
ขยะมูลฝอยชุมชนAbstract: ขยะมูลฝอยชุมชนเป็นพลังงานทางเลือกรูปแบบหนึ่ง ที่นำมาใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตไฟฟ้าและพลังงานความร้อน กระทรวงพลังงานได้กำหนดเป้าหมายภายในปี 2564 ต้องผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานขยะได้เท่ากับ 400 เมกะวัตต์ต่อปี ตามแนวทางการส่งเสริมพลังงานขยะ ตามนโยบายการเปลี่ยนขยะเป็นพลังงาน ซึ่งในปัจจุบัน มีการผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานขยะเพียง 137.243 เมกะวัตต์ ประเทศไทยยังไม่มีกฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการขยะมูลฝอยแบบบูรณาการโดยตรง โดยมีกฏหมายที่เกี่ยวข้องอยู่หลายฉบับและหน่วยงานที่มีอำนาจตามกฏหมายอยู่หลายหน่วยงาน ผู้ประกอบการโรงไฟฟ้าจากขยะ ต้องปฏิบัติตามกฏหมายหลายฉบับ และติดต่อกับหน่วยงานหลายหน่วยงานเกินไป ภาครัฐและหน่วยงานที่ดูแลรับผิดชอบตามกฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน และโครงการผลิตไฟฟ้าจากขยะชุมชน ควรร่วมกันกำหนดแนวทาง หลักเกณฑ์ และวิธีการสำหรับผู้ประกอบการกิจการไฟฟ้าจากขยะชุมชน ที่สามารถพิจารณาอนุมัติได้ง่ายขึ้นและรวดเร็วขึ้น รวมทั้งบูรณาการการขออนุญาตให้เป็นศูนย์เดียว เพื่อความสะดวกรวดเร็ว และเป็นมาตรฐานเดียวกัน Curricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26597 SIU RS-T. อุปสรรคของกฏหมายต่อโครงการพลังงานไฟฟ้าจากขยะมูลฝอยชุมชน = Legal Barriers to Municipal Solid Waste Power Plant Projects [printed text] / พันฤทธิ์ โมกขะสมิต, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - vii, 19 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-11
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ขยะมูลฝอย -- การจัดการ
[LCSH]พลังงานทางเลือก
[LCSH]พลังงานไฟฟ้า -- การผลิตKeywords: อุปสรรคของกฏหมาย
พลังงานไฟฟ้าจากขยะ
ขยะมูลฝอยชุมชนAbstract: ขยะมูลฝอยชุมชนเป็นพลังงานทางเลือกรูปแบบหนึ่ง ที่นำมาใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตไฟฟ้าและพลังงานความร้อน กระทรวงพลังงานได้กำหนดเป้าหมายภายในปี 2564 ต้องผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานขยะได้เท่ากับ 400 เมกะวัตต์ต่อปี ตามแนวทางการส่งเสริมพลังงานขยะ ตามนโยบายการเปลี่ยนขยะเป็นพลังงาน ซึ่งในปัจจุบัน มีการผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานขยะเพียง 137.243 เมกะวัตต์ ประเทศไทยยังไม่มีกฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการขยะมูลฝอยแบบบูรณาการโดยตรง โดยมีกฏหมายที่เกี่ยวข้องอยู่หลายฉบับและหน่วยงานที่มีอำนาจตามกฏหมายอยู่หลายหน่วยงาน ผู้ประกอบการโรงไฟฟ้าจากขยะ ต้องปฏิบัติตามกฏหมายหลายฉบับ และติดต่อกับหน่วยงานหลายหน่วยงานเกินไป ภาครัฐและหน่วยงานที่ดูแลรับผิดชอบตามกฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน และโครงการผลิตไฟฟ้าจากขยะชุมชน ควรร่วมกันกำหนดแนวทาง หลักเกณฑ์ และวิธีการสำหรับผู้ประกอบการกิจการไฟฟ้าจากขยะชุมชน ที่สามารถพิจารณาอนุมัติได้ง่ายขึ้นและรวดเร็วขึ้น รวมทั้งบูรณาการการขออนุญาตให้เป็นศูนย์เดียว เพื่อความสะดวกรวดเร็ว และเป็นมาตรฐานเดียวกัน Curricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26597 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592392 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-11 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000592426 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-11 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU IS-T. การจัดการความรู้ (KM) ในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กรณีศึกษา ฝ่ายอำนวยการตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสงคราม / ปวีร์ญธรณ์ เหลือคลังทอง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การจัดการความรู้ (KM) ในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กรณีศึกษา ฝ่ายอำนวยการตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสงคราม Original title : Knowledge Management in Operation of Police Officers: A Case of General Staff Sub-Division, Samut Songkhram Provincial Police Material Type: printed text Authors: ปวีร์ญธรณ์ เหลือคลังทอง, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 67 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-40
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารองค์ความรู้
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานKeywords: การจัดการความรู้,
ตำรวจAbstract: งานค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางในการจัดการความรู้ สภาพปัญหาและอุปสรรค แนวทางการปรับปรุงการดำเนินการจัดการความรู้ของฝ่ายอำนวยการตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสงคราม ใช้วิธีวิจัยเอกสารและวิธีวิจัยสนาม เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกกลุ่มเป้าหมายที่เป็นตัวแทน จำนวน 12 คน
ผลการวิจัยพบว่า แนวทางในการจัดการความรู้ของข้าราชการตำรวจฝ่ายอำนวยการตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสงคราม มีการจัดความรู้ในรูปแบบการทำงานร่วมกันเป็นทีม มีการถ่ายทอดความรู้ผ่านการสอนงานแบบพี่เลี้ยง และมีการแสวงหาความรู้ใหม่ในการสืบค้นจากฐานข้อมูลในระบบสารสนเทศข้อมูลอาชญากรรม ซึ่งได้แก่ ระบบ POLIS : Police Information System และ ระบบ C.R.I.M.E.S (Criminal Record And Information Management Enterprise System) ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ สภาพปัญหาและอุปสรรคที่พบ คือ ปัญหาด้านขาดแคลนบุคลากรทั้งด้านจำนวนและคุณสมบัติ การถ่ายทอดความรู้ไม่มีความต่อเนื่อง ไม่มีงบประมาณเป็นการเฉพาะ วัสดุสำนักงานและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีไม่เพียงพอ ข้อเสนอแนะจากงานวิจัยพบว่าแนวทางการปรับปรุงการดำเนินการจัดการความรู้ คือ ควรขอรับการจัดสรรบุคลากรและงบประมาณเพิ่มเติม จากตำรวจภูธรภาค 7 มาเพิ่ม หรือขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากนอกหน่วยงาน ควรจัดอบรมข้าราชการตำรวจฝ่ายอำนวยการ เพื่อเพิ่มความรู้ในการปฏิบัติงาน การสร้างบรรยากาศในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความคิดเห็นกับบุคลากรหน่วยงานอื่น โดยจัดกิจกรรมหรือการประชุมต่างๆ นอกสถานที่ และเชิญข้าราชการหน่วยงานอื่นเข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยนความรู้ด้วยกัน รวมทั้งควรมีการสร้างขวัญและกำลังใจในการทำงานCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27275 SIU IS-T. การจัดการความรู้ (KM) ในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กรณีศึกษา ฝ่ายอำนวยการตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสงคราม = Knowledge Management in Operation of Police Officers: A Case of General Staff Sub-Division, Samut Songkhram Provincial Police [printed text] / ปวีร์ญธรณ์ เหลือคลังทอง, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 67 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-40
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารองค์ความรู้
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานKeywords: การจัดการความรู้,
ตำรวจAbstract: งานค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางในการจัดการความรู้ สภาพปัญหาและอุปสรรค แนวทางการปรับปรุงการดำเนินการจัดการความรู้ของฝ่ายอำนวยการตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสงคราม ใช้วิธีวิจัยเอกสารและวิธีวิจัยสนาม เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกกลุ่มเป้าหมายที่เป็นตัวแทน จำนวน 12 คน
ผลการวิจัยพบว่า แนวทางในการจัดการความรู้ของข้าราชการตำรวจฝ่ายอำนวยการตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสงคราม มีการจัดความรู้ในรูปแบบการทำงานร่วมกันเป็นทีม มีการถ่ายทอดความรู้ผ่านการสอนงานแบบพี่เลี้ยง และมีการแสวงหาความรู้ใหม่ในการสืบค้นจากฐานข้อมูลในระบบสารสนเทศข้อมูลอาชญากรรม ซึ่งได้แก่ ระบบ POLIS : Police Information System และ ระบบ C.R.I.M.E.S (Criminal Record And Information Management Enterprise System) ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ สภาพปัญหาและอุปสรรคที่พบ คือ ปัญหาด้านขาดแคลนบุคลากรทั้งด้านจำนวนและคุณสมบัติ การถ่ายทอดความรู้ไม่มีความต่อเนื่อง ไม่มีงบประมาณเป็นการเฉพาะ วัสดุสำนักงานและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีไม่เพียงพอ ข้อเสนอแนะจากงานวิจัยพบว่าแนวทางการปรับปรุงการดำเนินการจัดการความรู้ คือ ควรขอรับการจัดสรรบุคลากรและงบประมาณเพิ่มเติม จากตำรวจภูธรภาค 7 มาเพิ่ม หรือขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากนอกหน่วยงาน ควรจัดอบรมข้าราชการตำรวจฝ่ายอำนวยการ เพื่อเพิ่มความรู้ในการปฏิบัติงาน การสร้างบรรยากาศในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความคิดเห็นกับบุคลากรหน่วยงานอื่น โดยจัดกิจกรรมหรือการประชุมต่างๆ นอกสถานที่ และเชิญข้าราชการหน่วยงานอื่นเข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยนความรู้ด้วยกัน รวมทั้งควรมีการสร้างขวัญและกำลังใจในการทำงานCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27275 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000595049 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-40 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000595031 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-40 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การดำเนินการโครงการตามมาตรการส่งเสริมความเป็นอยู่ระดับตำบล กรณีศึกษาอำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี / ผุสดี บุญเซียม / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การดำเนินการโครงการตามมาตรการส่งเสริมความเป็นอยู่ระดับตำบล กรณีศึกษาอำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี Original title : Performance of Operating Projects following the Measures for Sub - District Well - Being Promotions of Meuang District, Surat Thani Province Material Type: printed text Authors: ผุสดี บุญเซียม, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: viii, 75 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-22
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ชุมชน -- การศึกษาเฉพาะกรณี Keywords: ความเป็นอยู่,
มาตรการ,
ส่งเสริม,
ระดับตำบลAbstract: วัตถุประสงค์ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ศึกษาผลการดำเนินงาน ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินโครงการตามมาตรการส่งเสริมความเป็นอยู่ระดับตำบล กรณีศึกษาอำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ เจ้าหน้าที่ระดับอำเภอ เจ้าหน้าที่ระดับจังหวัด และประชาขนทั่วไป จำนวน 405 คน ใช้แบบสอบถามแบบในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า การดำเนินโครงการตามมาตรการส่งเสริมความเป็นอยู่ระดับตำบล กรณีศึกษาของอำเภอเมืองฯ จังหวัดสุราษฎร์ธานีในภาพรวมทุกด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ประสิทธิผลและผลลัพธ์โครงการมีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ ความพร้อมระหว่างดำเนินการ วัตถุประสงค์ดำเนินการโครงการ และการมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่ดำเนินการมีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ตามลำดับ สำหรับปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานพบว่าควรชี้แจงผู้ปฏิบัติงานให้เห็นถึงวัตถุประสงค์และเข้าใจในเนื้อหาหลักของโครงการ ควรมีการบูรณาการทุกภาคส่วนเพื่อมุ่งเป้าหมายในการแก้ปัญหา มีแนวทางแก้ไขปัญหา แนวทางป้องกันปัญหาที่เป็นรูปธรรม ปฏิบัติได้จริงอย่างมีระบบ การชี้แจงให้ผู้ปฏิบัติงานมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการ และมีการวางแผนกำหนดแนวทางการดำเนินงานและติดตามประเมินผลโครงการอย่างต่อเนื่องCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26828 SIU IS-T. การดำเนินการโครงการตามมาตรการส่งเสริมความเป็นอยู่ระดับตำบล กรณีศึกษาอำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี = Performance of Operating Projects following the Measures for Sub - District Well - Being Promotions of Meuang District, Surat Thani Province [printed text] / ผุสดี บุญเซียม, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - viii, 75 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-22
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ชุมชน -- การศึกษาเฉพาะกรณี Keywords: ความเป็นอยู่,
มาตรการ,
ส่งเสริม,
ระดับตำบลAbstract: วัตถุประสงค์ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ศึกษาผลการดำเนินงาน ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินโครงการตามมาตรการส่งเสริมความเป็นอยู่ระดับตำบล กรณีศึกษาอำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ เจ้าหน้าที่ระดับอำเภอ เจ้าหน้าที่ระดับจังหวัด และประชาขนทั่วไป จำนวน 405 คน ใช้แบบสอบถามแบบในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า การดำเนินโครงการตามมาตรการส่งเสริมความเป็นอยู่ระดับตำบล กรณีศึกษาของอำเภอเมืองฯ จังหวัดสุราษฎร์ธานีในภาพรวมทุกด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ประสิทธิผลและผลลัพธ์โครงการมีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ ความพร้อมระหว่างดำเนินการ วัตถุประสงค์ดำเนินการโครงการ และการมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่ดำเนินการมีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ตามลำดับ สำหรับปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานพบว่าควรชี้แจงผู้ปฏิบัติงานให้เห็นถึงวัตถุประสงค์และเข้าใจในเนื้อหาหลักของโครงการ ควรมีการบูรณาการทุกภาคส่วนเพื่อมุ่งเป้าหมายในการแก้ปัญหา มีแนวทางแก้ไขปัญหา แนวทางป้องกันปัญหาที่เป็นรูปธรรม ปฏิบัติได้จริงอย่างมีระบบ การชี้แจงให้ผู้ปฏิบัติงานมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการ และมีการวางแผนกำหนดแนวทางการดำเนินงานและติดตามประเมินผลโครงการอย่างต่อเนื่องCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26828 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593598 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-22 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000593606 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-22 c.2 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงอำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ / ภาวินีย์ คงชินศาสตร์ธิติ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงอำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ Original title : The Policy Implementation of Cash Allowance for the Elderly in Wangpong Subdistric Administration Organization, Pran Buri District, Prachuap Khiri Khan Province Material Type: printed text Authors: ภาวินีย์ คงชินศาสตร์ธิติ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: v, 75 น. Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-11
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- ประจวบคีรีขันธ์ -- ปราณบุรี -- -- วังก์พง
[LCSH]เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุKeywords: นโยบาย,
เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ,
องค์การบริหารส่วนตำบลAbstract: การศึกษาเรื่องการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พง อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบล ศึกษาปัญหาและอุปสรรค และศึกษาแนวทางแก้ไขปรับปรุงการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงอำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากร เจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พง อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์จำนวน 9 คนใช้การวิจัยแบบสัมภาษณ์ที่มีโครงสร้าง (Structured Interview) โดยคำถามเป็นแบบปลายเปิด ใช้วิธีสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลแบบสามเส้า (Triangulate)
ผลการศึกษา พบว่า วิธีการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติมีกระบวนการดำเนินงานคือ 1. ทำการศึกษารายละเอียดระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยหลักเกณฑ์การจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2552 2.ทำการประชุม วางแผน มอบหมายหน้าที่ 3. ทำการประชาสัมพันธ์ 4. รับขึ้นทะเบียนผู้สูงอายุ ด้านขั้นตอนและกระบวนการดำเนินงานตามนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุมาปฏิบัติขององค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงว่ามีความเหมาะสม ส่วนปัญหาและอุปสรรคในการนำนโยบายไปปฏิบัติ พบว่ามีปัญหาจากนโยบายระเบียบและแนวทางการปฏิบัติ ไม่สอดคล้องกับพื้นที่การปฏิบัติงานของบุคลากรและความต้องการของประชาชน ปัญหาการประสานงานร่วมมือกับหน่วยงานหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องต่างๆ ปัญหาด้านการประชาสัมพันธ์ และปัญหาเรื่องการจ่ายเงินให้ผู้สูงอายุที่เสียชีวิตแล้ว ส่วนปัจจัยที่ทำให้การนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุมาปฏิบัติเกิดผลสำเร็จหรือเกิดความล้มเหลว ได้แก่ ตัวของนโยบาย ผู้ที่คิดนโยบาย ผู้นำนโยบายไปปฏิบัติและผู้สูงอายุ ผลการวิจัยด้านการปรับปรุง พัฒนาการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติให้ดีขึ้นพบว่า สิ่งที่ควรปรับปรุง คือ บุคลากรหรือพนักงานที่เกี่ยวข้องควรศึกษานโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุให้ละเอียดและเข้าใจ รวมทั้งการประชาสัมพันธ์ควรมีการประชาสัมพันธ์ชี้แจงให้ผู้สูงอายุเข้าใจหลักเกณฑ์การจ่ายเบี้ยยังชีพ เพื่อความเข้าใจและสะดวกรวดเร็ว นอกจากนี้ ควรมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลการย้ายเข้า ย้ายออกของผู้สูงอายุกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และควรเปลี่ยนหลักเกณฑ์จากการจ่ายเบี้ยยังชีพให้เป็นแบบจำนวนที่เท่ากันและควรเพิ่มจำนวนเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุอื่นๆให้มากขึ้นด้วยCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26893 SIU IS-T. การนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงอำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ = The Policy Implementation of Cash Allowance for the Elderly in Wangpong Subdistric Administration Organization, Pran Buri District, Prachuap Khiri Khan Province [printed text] / ภาวินีย์ คงชินศาสตร์ธิติ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - v, 75 น. ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-11
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- ประจวบคีรีขันธ์ -- ปราณบุรี -- -- วังก์พง
[LCSH]เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุKeywords: นโยบาย,
เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ,
องค์การบริหารส่วนตำบลAbstract: การศึกษาเรื่องการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พง อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบล ศึกษาปัญหาและอุปสรรค และศึกษาแนวทางแก้ไขปรับปรุงการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงอำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากร เจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องในองค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พง อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์จำนวน 9 คนใช้การวิจัยแบบสัมภาษณ์ที่มีโครงสร้าง (Structured Interview) โดยคำถามเป็นแบบปลายเปิด ใช้วิธีสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลแบบสามเส้า (Triangulate)
ผลการศึกษา พบว่า วิธีการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติมีกระบวนการดำเนินงานคือ 1. ทำการศึกษารายละเอียดระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยหลักเกณฑ์การจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2552 2.ทำการประชุม วางแผน มอบหมายหน้าที่ 3. ทำการประชาสัมพันธ์ 4. รับขึ้นทะเบียนผู้สูงอายุ ด้านขั้นตอนและกระบวนการดำเนินงานตามนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุมาปฏิบัติขององค์การบริหารส่วนตำบลวังก์พงว่ามีความเหมาะสม ส่วนปัญหาและอุปสรรคในการนำนโยบายไปปฏิบัติ พบว่ามีปัญหาจากนโยบายระเบียบและแนวทางการปฏิบัติ ไม่สอดคล้องกับพื้นที่การปฏิบัติงานของบุคลากรและความต้องการของประชาชน ปัญหาการประสานงานร่วมมือกับหน่วยงานหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องต่างๆ ปัญหาด้านการประชาสัมพันธ์ และปัญหาเรื่องการจ่ายเงินให้ผู้สูงอายุที่เสียชีวิตแล้ว ส่วนปัจจัยที่ทำให้การนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุมาปฏิบัติเกิดผลสำเร็จหรือเกิดความล้มเหลว ได้แก่ ตัวของนโยบาย ผู้ที่คิดนโยบาย ผู้นำนโยบายไปปฏิบัติและผู้สูงอายุ ผลการวิจัยด้านการปรับปรุง พัฒนาการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุไปปฏิบัติให้ดีขึ้นพบว่า สิ่งที่ควรปรับปรุง คือ บุคลากรหรือพนักงานที่เกี่ยวข้องควรศึกษานโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุให้ละเอียดและเข้าใจ รวมทั้งการประชาสัมพันธ์ควรมีการประชาสัมพันธ์ชี้แจงให้ผู้สูงอายุเข้าใจหลักเกณฑ์การจ่ายเบี้ยยังชีพ เพื่อความเข้าใจและสะดวกรวดเร็ว นอกจากนี้ ควรมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลการย้ายเข้า ย้ายออกของผู้สูงอายุกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และควรเปลี่ยนหลักเกณฑ์จากการจ่ายเบี้ยยังชีพให้เป็นแบบจำนวนที่เท่ากันและควรเพิ่มจำนวนเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุอื่นๆให้มากขึ้นด้วยCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26893 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593713 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-11 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593721 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-11 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย ในทัศนะของข้าราชการส่วนท้องถิ่น กรณีศึกษา ข้าราชการส่วนท้องถิ่นที่เข้าฝึกอบรม ณ สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น / ณัฐชนน เหลืองสมานกุล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย ในทัศนะของข้าราชการส่วนท้องถิ่น กรณีศึกษา ข้าราชการส่วนท้องถิ่นที่เข้าฝึกอบรม ณ สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น Original title : Good Governance of Local Governments in Thailand : Local Officials’ Perspectives Case Study; Local Officials Training at Local Personnel Development Institution Material Type: printed text Authors: ณัฐชนน เหลืองสมานกุล, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: ix, 79 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-23
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ข้าราชการ -- ทัศนคติ
[LCSH]ธรรมาภิบาล
[LCSH]องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -- ไทยKeywords: หลักธรรมาภิบาล
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นการใช้หลักธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย เปรียบเทียบการใช้หลักธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในทัศนะของข้าราชการส่วนท้องถิ่นไทย และเสนอแนะแนวทางส่งเสริมการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ ข้าราชการที่ปฏิบัติงานอยู่ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย ที่เข้ารับการอบรมกับสถาบันพัฒนาบุคลากรส่วนท้องถิ่น จำนวน 200 คน Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26544 SIU IS-T. การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย ในทัศนะของข้าราชการส่วนท้องถิ่น กรณีศึกษา ข้าราชการส่วนท้องถิ่นที่เข้าฝึกอบรม ณ สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น = Good Governance of Local Governments in Thailand : Local Officials’ Perspectives Case Study; Local Officials Training at Local Personnel Development Institution [printed text] / ณัฐชนน เหลืองสมานกุล, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - ix, 79 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-23
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ข้าราชการ -- ทัศนคติ
[LCSH]ธรรมาภิบาล
[LCSH]องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -- ไทยKeywords: หลักธรรมาภิบาล
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นการใช้หลักธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย เปรียบเทียบการใช้หลักธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในทัศนะของข้าราชการส่วนท้องถิ่นไทย และเสนอแนะแนวทางส่งเสริมการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ ข้าราชการที่ปฏิบัติงานอยู่ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย ที่เข้ารับการอบรมกับสถาบันพัฒนาบุคลากรส่วนท้องถิ่น จำนวน 200 คน Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26544 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591840 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-23 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000591816 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-23 c.2 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การบริหารจัดการในการส่งเสริมมวยไทยสู่สากล / สิทธิศักดิ์ สุทธิสาคร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การบริหารจัดการในการส่งเสริมมวยไทยสู่สากล Original title : Managing the Promotion of Thai Boxing to International Level Material Type: printed text Authors: สิทธิศักดิ์ สุทธิสาคร, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 72 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-27
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารจัดการ
[LCSH]มวยไทยKeywords: การบริหารจัดการ,
การส่งเสริม,
มวยไทยAbstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นมา ภูมิปัญญา สภาพปัญหาและรูปแบบการบริหารจัดการในการส่งเสริมศิลปะมวยไทยสู่สากล โดยใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างถูกเลือกแบบเจาะจง จำนวน 6 คน ได้แก่ ผู้รู้ 1 คน ผู้ปฏิบัติ 1 คน และผู้เกี่ยวข้อง 4 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ การสังเกต ใช้การพรรณนาวิเคราะห์ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการวิจัยพบว่า การศึกษามวยไทยเริ่มจากสมัยสุววรณภูมิถึงสมัยรัตนโกสินทร์ ในปัจจุบันมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่องตามยุคสมัย มีเป้าหมายการฝึกเพื่อป้องกันตนเองและประเทศชาติ สมัยอยุธยามีความรุ่งเรืองมาก สภาพปัญหาการจัดการมวยไทยมีการพัฒนารูปแบบการจัดการมี 4 ด้าน คือ ประการแรกการพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้องแบบครบวงจร มีรูปแบบการบริหารจัดการ แผนพัฒนาสร้างหลักสูตรอบรมบุคลากรทุกระดับ นำวิทยาศาสตร์การกีฬามาพัฒนาทักษะมวยไทย ตั้งสถาบันผลิตบุคลากร รัฐมีนโยบายเชิงรุก องค์กรภาครัฐและภาคเอกชนกำหนดทิศทางการบริหารจัดการเป็นระบบ ประการที่สอง คือ พัฒนาการจัดการแข่งขันให้เป็นมาตราฐานสากล หน่วยงานองค์กรรับผิดชอบควรกำหนดกฎระเบียบข้อบังคับและรูปแบบให้เป็นมาตราฐานเดียวกันและเป็นสากล ประการที่สามการพัฒนาปัจจัยพื้นฐาน สิ่งอำนวยความสะดวก สนามมวย ค่ายมวยและการนำวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีทางกีฬามาประยุกต์ใช้กับมวยไทย และประการสุดท้าย คือ การพัฒนาระบบการบริหารการจัดการกีฬามวยไทยอาชีพเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26899 SIU IS-T. การบริหารจัดการในการส่งเสริมมวยไทยสู่สากล = Managing the Promotion of Thai Boxing to International Level [printed text] / สิทธิศักดิ์ สุทธิสาคร, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 72 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-27
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารจัดการ
[LCSH]มวยไทยKeywords: การบริหารจัดการ,
การส่งเสริม,
มวยไทยAbstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นมา ภูมิปัญญา สภาพปัญหาและรูปแบบการบริหารจัดการในการส่งเสริมศิลปะมวยไทยสู่สากล โดยใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างถูกเลือกแบบเจาะจง จำนวน 6 คน ได้แก่ ผู้รู้ 1 คน ผู้ปฏิบัติ 1 คน และผู้เกี่ยวข้อง 4 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ การสังเกต ใช้การพรรณนาวิเคราะห์ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการวิจัยพบว่า การศึกษามวยไทยเริ่มจากสมัยสุววรณภูมิถึงสมัยรัตนโกสินทร์ ในปัจจุบันมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่องตามยุคสมัย มีเป้าหมายการฝึกเพื่อป้องกันตนเองและประเทศชาติ สมัยอยุธยามีความรุ่งเรืองมาก สภาพปัญหาการจัดการมวยไทยมีการพัฒนารูปแบบการจัดการมี 4 ด้าน คือ ประการแรกการพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้องแบบครบวงจร มีรูปแบบการบริหารจัดการ แผนพัฒนาสร้างหลักสูตรอบรมบุคลากรทุกระดับ นำวิทยาศาสตร์การกีฬามาพัฒนาทักษะมวยไทย ตั้งสถาบันผลิตบุคลากร รัฐมีนโยบายเชิงรุก องค์กรภาครัฐและภาคเอกชนกำหนดทิศทางการบริหารจัดการเป็นระบบ ประการที่สอง คือ พัฒนาการจัดการแข่งขันให้เป็นมาตราฐานสากล หน่วยงานองค์กรรับผิดชอบควรกำหนดกฎระเบียบข้อบังคับและรูปแบบให้เป็นมาตราฐานเดียวกันและเป็นสากล ประการที่สามการพัฒนาปัจจัยพื้นฐาน สิ่งอำนวยความสะดวก สนามมวย ค่ายมวยและการนำวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีทางกีฬามาประยุกต์ใช้กับมวยไทย และประการสุดท้าย คือ การพัฒนาระบบการบริหารการจัดการกีฬามวยไทยอาชีพเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26899 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593812 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-27 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593846 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-27 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การประเมินผลนโยบายรถยนต์คันแรก / อารีวรรณ สว่างธรรมขจร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การประเมินผลนโยบายรถยนต์คันแรก Original title : The Evaluation of First Car Policy Material Type: printed text Authors: อารีวรรณ สว่างธรรมขจร, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 95 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-10
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]นโยบายเศรษฐกิจ
[LCSH]รถยนต์ -- การซื้อKeywords: การประเมินผล,
นโยบาย,
รถยนต์คันแรกAbstract: การศึกษาเรื่องการประเมินผลนโยบายรถยนต์คันแรก มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการนำนโยบายรถยนต์คันแรกมาปฏิบัติ และ ประเมินปัญหาในการนำนโยบายรถยนต์คันแรกไปปฏิบัติในเขตกรุงเทพมหานคร
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ประชาชนที่ได้ซื้อรถยนต์คันแรก และได้รับสิทธิ์คืนภาษีรถยนต์คันแรก ในกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย ประชาชนผู้ใช้สิทธิ์ซื้อรถยนต์คันแรก 4 คน ผู้ประกอบกิจการรถยนต์ 2 คน และ บุคคลที่เกี่ยวข้อง 2 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ที่มีโครงสร้าง (Structured Interview) ลักษณะคำถามแบบปลายเปิด ใช้วิธีสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึก ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลแบบสามเส้า (Triangulate)
ผลการศึกษา พบว่า ผู้ประกอบกิจการรถยนต์และบุคคลที่เกี่ยวข้องเป็นเพศหญิง 7 คน และเพศชาย 1 คน ผลกระทบหลักของนโยบายรถยนต์คันแรก คือ ทำให้เศรษฐกิจดีขึ้นเป็นกระตุ้นรายได้ของภาคอุตสาหกรรมรถยนต์และอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องได้อย่างมาก ช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชนในด้านการคมนาคม กระบวนการบริหารจัดการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ตรงตามนโยบายที่รัฐบาลตั้งไว้ขั้นตอนในการบริหารชัดเจน และประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นไปอย่างมีระบบ ส่วนผลกระทบของนโยบายรถยนต์คันแรก ได้แก่ ทำให้เกิดปัญหาการจราจรติดขัดเพิ่มมากขึ้น มีมลภาวะทางอากาศเพิ่มขึ้น เพิ่มภาระหนี้ให้กับประชาชน เพราะไม่ได้วางแผนในการใช้เงินอย่างเป็นระบบ ส่วนปัญหาในการนำนโยบายรถยนต์คันแรกไปปฏิบัติ พบปัญหาด้านการจราจรที่ติดขัด เนื่องจากระบบคมนาคมไม่พร้อมในการรองรับรถยนต์คันแรกที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและมีที่จอดรถไม่เพียงพอ เนื่องจากนโยบายรถยนต์คันแรกของรัฐบาลเป็นนโยบายเร่งด่วน ปัญหาด้านการบริหารจัดการนโยบาย พบว่า ผู้รับสิทธิ์ได้รับเงินคืนภาษีล่าช้า การคืนเงินให้ไม่ตรงตามกำหนดระยะเวลาที่แจ้งไว้ และหลักเกณฑ์ที่รัฐบาลกำหนดไม่ตรงกับกับเงื่อนไขบางประเภท และปัญหาด้านการสิ้นเปลืองพลังงาน เมื่อมีการใช้รถยนต์มากขึ้นก็จะทำให้สูญเสียพลังงานมากขึ้นเช่นกันCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26894 SIU IS-T. การประเมินผลนโยบายรถยนต์คันแรก = The Evaluation of First Car Policy [printed text] / อารีวรรณ สว่างธรรมขจร, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 95 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-10
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]นโยบายเศรษฐกิจ
[LCSH]รถยนต์ -- การซื้อKeywords: การประเมินผล,
นโยบาย,
รถยนต์คันแรกAbstract: การศึกษาเรื่องการประเมินผลนโยบายรถยนต์คันแรก มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการนำนโยบายรถยนต์คันแรกมาปฏิบัติ และ ประเมินปัญหาในการนำนโยบายรถยนต์คันแรกไปปฏิบัติในเขตกรุงเทพมหานคร
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ประชาชนที่ได้ซื้อรถยนต์คันแรก และได้รับสิทธิ์คืนภาษีรถยนต์คันแรก ในกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย ประชาชนผู้ใช้สิทธิ์ซื้อรถยนต์คันแรก 4 คน ผู้ประกอบกิจการรถยนต์ 2 คน และ บุคคลที่เกี่ยวข้อง 2 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ที่มีโครงสร้าง (Structured Interview) ลักษณะคำถามแบบปลายเปิด ใช้วิธีสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึก ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลแบบสามเส้า (Triangulate)
ผลการศึกษา พบว่า ผู้ประกอบกิจการรถยนต์และบุคคลที่เกี่ยวข้องเป็นเพศหญิง 7 คน และเพศชาย 1 คน ผลกระทบหลักของนโยบายรถยนต์คันแรก คือ ทำให้เศรษฐกิจดีขึ้นเป็นกระตุ้นรายได้ของภาคอุตสาหกรรมรถยนต์และอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องได้อย่างมาก ช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชนในด้านการคมนาคม กระบวนการบริหารจัดการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ตรงตามนโยบายที่รัฐบาลตั้งไว้ขั้นตอนในการบริหารชัดเจน และประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นไปอย่างมีระบบ ส่วนผลกระทบของนโยบายรถยนต์คันแรก ได้แก่ ทำให้เกิดปัญหาการจราจรติดขัดเพิ่มมากขึ้น มีมลภาวะทางอากาศเพิ่มขึ้น เพิ่มภาระหนี้ให้กับประชาชน เพราะไม่ได้วางแผนในการใช้เงินอย่างเป็นระบบ ส่วนปัญหาในการนำนโยบายรถยนต์คันแรกไปปฏิบัติ พบปัญหาด้านการจราจรที่ติดขัด เนื่องจากระบบคมนาคมไม่พร้อมในการรองรับรถยนต์คันแรกที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและมีที่จอดรถไม่เพียงพอ เนื่องจากนโยบายรถยนต์คันแรกของรัฐบาลเป็นนโยบายเร่งด่วน ปัญหาด้านการบริหารจัดการนโยบาย พบว่า ผู้รับสิทธิ์ได้รับเงินคืนภาษีล่าช้า การคืนเงินให้ไม่ตรงตามกำหนดระยะเวลาที่แจ้งไว้ และหลักเกณฑ์ที่รัฐบาลกำหนดไม่ตรงกับกับเงื่อนไขบางประเภท และปัญหาด้านการสิ้นเปลืองพลังงาน เมื่อมีการใช้รถยนต์มากขึ้นก็จะทำให้สูญเสียพลังงานมากขึ้นเช่นกันCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26894 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593739 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-10 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593747 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-10 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษในการปฏิบัติงาน ของข้าราชการตำรวจสายตรวจ 191 / พลภัทร พรหมท้าว / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : การพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษในการปฏิบัติงาน ของข้าราชการตำรวจสายตรวจ 191 Original title : Developing English Communication at Work for Police Officers of Patrol Division 191 Material Type: printed text Authors: พลภัทร พรหมท้าว, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: viii, 65 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-06
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ข้าราชการ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ตำรวจ -- ไทย
[LCSH]ภาษาอังกฤษ -- การสื่อสารKeywords: การพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษ
ข้าราชการตำรวจกองกำกับการสายตรวจ191Abstract: ใน ปี พ.ศ. 2558 ประเทศไทยจะเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) และตามยุทธศาสตร์การพัฒนาบุคลากรสำนักงานตำรวจแห่งชาติพัฒนาทักษะความเป็นสากลให้แก่ข้าราชการเพื่อส่งเสริมบทบาทของสำนักงานตำรวจแห่งชาติจึงมีความจำเป็นเร่งด่วนที่ต้องให้ความรู้เรื่องประชาคมอาเซียนให้แก่บุคลากรข้าราชการตำรวจเพื่อก้าวย่างเข้าสู่การเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในภูมิภาคอาเซียนและรองรับการให้บริการประชาชนและนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศ ในการศึกษาวิจัย เรื่อง การพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษของข้าราชการตำรวจกองกำกับการสายตรวจ 191 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเข้าใจถึงการพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษและเพื่อศึกษาแนวทางในการนำไปพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษของข้าราชการตำรวจกองกำกับการสายตรวจ 191 Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26081 SIU IS-T. การพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษในการปฏิบัติงาน ของข้าราชการตำรวจสายตรวจ 191 = Developing English Communication at Work for Police Officers of Patrol Division 191 [printed text] / พลภัทร พรหมท้าว, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - viii, 65 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-06
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ข้าราชการ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ตำรวจ -- ไทย
[LCSH]ภาษาอังกฤษ -- การสื่อสารKeywords: การพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษ
ข้าราชการตำรวจกองกำกับการสายตรวจ191Abstract: ใน ปี พ.ศ. 2558 ประเทศไทยจะเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) และตามยุทธศาสตร์การพัฒนาบุคลากรสำนักงานตำรวจแห่งชาติพัฒนาทักษะความเป็นสากลให้แก่ข้าราชการเพื่อส่งเสริมบทบาทของสำนักงานตำรวจแห่งชาติจึงมีความจำเป็นเร่งด่วนที่ต้องให้ความรู้เรื่องประชาคมอาเซียนให้แก่บุคลากรข้าราชการตำรวจเพื่อก้าวย่างเข้าสู่การเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในภูมิภาคอาเซียนและรองรับการให้บริการประชาชนและนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศ ในการศึกษาวิจัย เรื่อง การพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษของข้าราชการตำรวจกองกำกับการสายตรวจ 191 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเข้าใจถึงการพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษและเพื่อศึกษาแนวทางในการนำไปพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษของข้าราชการตำรวจกองกำกับการสายตรวจ 191 Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26081 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000506814 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-06 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000506897 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-06 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การพัฒนาและความก้าวหน้าของข้าราชการตำรวจ กรณีศึกษา สถานีตำรวจน้ำ 3 กองกำกับการ 10 กองบังคับการตำรวจน้ำ / ปัณณภัสร์ ปัญญา / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การพัฒนาและความก้าวหน้าของข้าราชการตำรวจ กรณีศึกษา สถานีตำรวจน้ำ 3 กองกำกับการ 10 กองบังคับการตำรวจน้ำ Original title : Career Advancement of Polices: A Case of 3rd Marine Police Station, Subdivision 10, Marine Police Division Material Type: printed text Authors: ปัณณภัสร์ ปัญญา, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vi, 54 น. Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-38
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพัฒนา
[LCSH]ตำรวจน้ำ -- ไทยKeywords: ความก้าวหน้า,
ตำรวจน้ำ,
อาชีพAbstract: การศึกษาเรื่อง การศึกษางานค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาบุคลากรของเพื่อศึกษาความก้าวหน้าและการพัฒนาบุคลากร และเพื่อศึกษาแนวทางในการปรับปรุงการพัฒนาบุคลากรของข้าราชการตำรวจ สถานีตำรวจน้ำ 3 กองกำกับการ 10 กองบังคับการตำรวจน้ำ ใช้วิธีวิจัยเอกสารและวิธีวิจัยสนาม โดยใช้การสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายที่เป็นตัวแทน จำนวน 5 คน ผลการวิจัยพบว่า ควรปรับทัศนคติของบุคลากรในหน่วยงานให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อหลอมบุคลากรทุกระดับ ให้มีทัศนคติ ค่านิยม ความคิด วิธีการทำงาน และเป้าหมายทิศทางเดียวกันเพื่อมุ่งเป้าหมายความสำเร็จเดียวกัน ควรให้ความสำคัญกับบุคลากรในหน่วยงานอย่างเท่าเทียมกัน ผู้บังคับบัญชาควรให้ความสำคัญกับผู้ใต้บังคับบัญชาในทุกตำแหน่งอย่างเท่าเทียมกัน อย่าให้ความสำคัญกับตำแหน่งหนึ่งตำแหน่งใด เพราะอาจจะทำให้เกิดความแบ่งแยกกันระหว่างบุคลากร และควรสนับสนุนให้บุคลากรได้รับการฝึกอบรม การเข้าร่วมประชุมสัมมนา หรือดูงานนอกสถานที่ เพื่อว่าจะเป็นการเพิ่มศักยภาพของบุคลากร และสามารถนำความรู้มาใช้ในการปฏิบัติงาน เพื่อเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้กับหน่วยงานต่อไป Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27314 SIU IS-T. การพัฒนาและความก้าวหน้าของข้าราชการตำรวจ กรณีศึกษา สถานีตำรวจน้ำ 3 กองกำกับการ 10 กองบังคับการตำรวจน้ำ = Career Advancement of Polices: A Case of 3rd Marine Police Station, Subdivision 10, Marine Police Division [printed text] / ปัณณภัสร์ ปัญญา, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vi, 54 น. : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-38
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพัฒนา
[LCSH]ตำรวจน้ำ -- ไทยKeywords: ความก้าวหน้า,
ตำรวจน้ำ,
อาชีพAbstract: การศึกษาเรื่อง การศึกษางานค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาบุคลากรของเพื่อศึกษาความก้าวหน้าและการพัฒนาบุคลากร และเพื่อศึกษาแนวทางในการปรับปรุงการพัฒนาบุคลากรของข้าราชการตำรวจ สถานีตำรวจน้ำ 3 กองกำกับการ 10 กองบังคับการตำรวจน้ำ ใช้วิธีวิจัยเอกสารและวิธีวิจัยสนาม โดยใช้การสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายที่เป็นตัวแทน จำนวน 5 คน ผลการวิจัยพบว่า ควรปรับทัศนคติของบุคลากรในหน่วยงานให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อหลอมบุคลากรทุกระดับ ให้มีทัศนคติ ค่านิยม ความคิด วิธีการทำงาน และเป้าหมายทิศทางเดียวกันเพื่อมุ่งเป้าหมายความสำเร็จเดียวกัน ควรให้ความสำคัญกับบุคลากรในหน่วยงานอย่างเท่าเทียมกัน ผู้บังคับบัญชาควรให้ความสำคัญกับผู้ใต้บังคับบัญชาในทุกตำแหน่งอย่างเท่าเทียมกัน อย่าให้ความสำคัญกับตำแหน่งหนึ่งตำแหน่งใด เพราะอาจจะทำให้เกิดความแบ่งแยกกันระหว่างบุคลากร และควรสนับสนุนให้บุคลากรได้รับการฝึกอบรม การเข้าร่วมประชุมสัมมนา หรือดูงานนอกสถานที่ เพื่อว่าจะเป็นการเพิ่มศักยภาพของบุคลากร และสามารถนำความรู้มาใช้ในการปฏิบัติงาน เพื่อเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้กับหน่วยงานต่อไป Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27314 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000595247 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-38 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000595213 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-38 c.2 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การมีส่วนร่วมของคนในชุมชน เพื่อการแก้ไขปัญหายาเสพติด ในกลุ่มเด็กและเยาวชน ในชุมชนแฟลตตำรวจส่วนกลางลาดยาว แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร / พนัชกร ทองแถม / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : การมีส่วนร่วมของคนในชุมชน เพื่อการแก้ไขปัญหายาเสพติด ในกลุ่มเด็กและเยาวชน ในชุมชนแฟลตตำรวจส่วนกลางลาดยาว แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร Original title : The Participation of the Community to Resolve the Drug Problem among Children and Youth in Lat Yao Police Housing, Lat Yao Sub-district, Chatuchak District, Bangkok Material Type: printed text Authors: พนัชกร ทองแถม, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: ix, 89 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-13
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ชุมชน -- การมีส่วนร่วมของประชาชน
[LCSH]ธรรมาภิบาล
[LCSH]ยาเสพติด -- กรุงเทพมหานคร -- การควบคุมKeywords: การมีส่วนร่วมของคนในชุมชน
การแก้ปัญหายาเสพติด
กลุ่มเด็กและเยาวชนAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนเพื่อการแก้ไขปัญหายาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชนในชุมชนแฟลตตำรวจส่วนกลางลาดยาว แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 2) ปัญหาและอุปสรรคในการแก้ไขปัญหายาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชนในชุมชนแฟลตตำรวจส่วนกลางลาดยาว
โดยออกแบบการวิจัยเป็นการศึกษาเชิงปริมาณ ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 273 คน โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย โดยการใช้สูตรของทาโร่ ยามาเน่ การมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชนในชุมชนแฟลตตำรวจส่วนกลางลาดยาว แขวงลาดยาว เขตจตุจักร โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.78
การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในการแก้ปัญหายาเสพติดในภาพรวม พบว่า ระดับการมีส่วนร่วมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.75
การมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน กิจกรรมในการแก้ปัญหายาเสพติดในภาพรวม พบว่า ระดับการมีส่วนร่วมในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.96 ประชาชนในชุมชนแฟลตตำรวจส่วนกลางลาดยาว มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชนในระดับมากในภาพรวม และทุกด้านไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26538 SIU IS-T. การมีส่วนร่วมของคนในชุมชน เพื่อการแก้ไขปัญหายาเสพติด ในกลุ่มเด็กและเยาวชน ในชุมชนแฟลตตำรวจส่วนกลางลาดยาว แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร = The Participation of the Community to Resolve the Drug Problem among Children and Youth in Lat Yao Police Housing, Lat Yao Sub-district, Chatuchak District, Bangkok [printed text] / พนัชกร ทองแถม, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - ix, 89 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-13
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ชุมชน -- การมีส่วนร่วมของประชาชน
[LCSH]ธรรมาภิบาล
[LCSH]ยาเสพติด -- กรุงเทพมหานคร -- การควบคุมKeywords: การมีส่วนร่วมของคนในชุมชน
การแก้ปัญหายาเสพติด
กลุ่มเด็กและเยาวชนAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนเพื่อการแก้ไขปัญหายาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชนในชุมชนแฟลตตำรวจส่วนกลางลาดยาว แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 2) ปัญหาและอุปสรรคในการแก้ไขปัญหายาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชนในชุมชนแฟลตตำรวจส่วนกลางลาดยาว
โดยออกแบบการวิจัยเป็นการศึกษาเชิงปริมาณ ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 273 คน โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย โดยการใช้สูตรของทาโร่ ยามาเน่ การมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชนในชุมชนแฟลตตำรวจส่วนกลางลาดยาว แขวงลาดยาว เขตจตุจักร โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.78
การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในการแก้ปัญหายาเสพติดในภาพรวม พบว่า ระดับการมีส่วนร่วมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.75
การมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน กิจกรรมในการแก้ปัญหายาเสพติดในภาพรวม พบว่า ระดับการมีส่วนร่วมในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.96 ประชาชนในชุมชนแฟลตตำรวจส่วนกลางลาดยาว มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชนในระดับมากในภาพรวม และทุกด้านไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26538 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591824 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-13 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การมีส่วนร่วมของประชาชนต่อโครงการเพื่อการต่อต้านยาเสพติดในเด็กนักเรียน กรณีศึกษาสถานศึกษาในเขตพื้นที่สถานีตำรวจนครบาลปทุมวัน กองบังคับการตำรวจนครบาล 6 / นุชจารี เรือนก้อน / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การมีส่วนร่วมของประชาชนต่อโครงการเพื่อการต่อต้านยาเสพติดในเด็กนักเรียน กรณีศึกษาสถานศึกษาในเขตพื้นที่สถานีตำรวจนครบาลปทุมวัน กองบังคับการตำรวจนครบาล 6 Original title : People’s Participations in Drugs Abuse Resistance in Schools Program: A Case of Schools in Pathumwan Police Station Area, Metropolitan Police Division 6 Material Type: printed text Authors: นุชจารี เรือนก้อน, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 73 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-41
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การมีส่วนร่วมของประชาชน
[LCSH]ยาเสพติด -- การควบคุม
[LCSH]ยาเสพติดกับนักเรียนKeywords: การมีส่วนร่วม,
ต่อต้าน,
ยาเสพติด,
โรงเรียนAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วมของประชาชน และเพื่อศึกษาเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของประชาชนต่อโครงการเพื่อการต่อต้านยาเสพติดในเด็กนักเรียน กลุ่มตัวอย่างเป็นประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตพื้นที่สถานีตำรวจนครบาลปทุมวัน จำนวน 400 คน ใช้สถิติเชิงพรรณาในการวิเคราะห์ข้อมูล และการวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) ในการทดสอบสมมุติฐาน
ผลการศึกษาพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นผู้ชายมีอายุระหว่าง 26 – 35 ปี จบการศึกษาปริญญาตรี มีอาชีพเป็นพนักงานบริษัทเอกชน และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,000 - 20,000 บาท ผลการวิจัยยังพบว่าประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตพื้นที่สถานีตำรวจนครบาลปทุมวัน มีระดับการมีส่วนร่วมต่อโครงการเพื่อการต่อต้านยาเสพติดในเด็กนักเรียน ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการมีส่วนร่วมในผลประโยชน์ รองลงมา คือ ด้านการมีส่วนร่วมในการประเมินผล ด้านการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติการ และด้านการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ ตามลำดับ ส่วนการเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของประชาชนที่มีต่อโครงการเพื่อการต่อต้านยาเสพติดในเด็กนักเรียน พบว่า ประชาชนที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนแตกต่างกันมีส่วนร่วมต่อโครงการเพื่อการต่อต้านยาเสพติดในเด็กนักเรียนไม่แตกต่างกันCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27269 SIU IS-T. การมีส่วนร่วมของประชาชนต่อโครงการเพื่อการต่อต้านยาเสพติดในเด็กนักเรียน กรณีศึกษาสถานศึกษาในเขตพื้นที่สถานีตำรวจนครบาลปทุมวัน กองบังคับการตำรวจนครบาล 6 = People’s Participations in Drugs Abuse Resistance in Schools Program: A Case of Schools in Pathumwan Police Station Area, Metropolitan Police Division 6 [printed text] / นุชจารี เรือนก้อน, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 73 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-41
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การมีส่วนร่วมของประชาชน
[LCSH]ยาเสพติด -- การควบคุม
[LCSH]ยาเสพติดกับนักเรียนKeywords: การมีส่วนร่วม,
ต่อต้าน,
ยาเสพติด,
โรงเรียนAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วมของประชาชน และเพื่อศึกษาเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของประชาชนต่อโครงการเพื่อการต่อต้านยาเสพติดในเด็กนักเรียน กลุ่มตัวอย่างเป็นประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตพื้นที่สถานีตำรวจนครบาลปทุมวัน จำนวน 400 คน ใช้สถิติเชิงพรรณาในการวิเคราะห์ข้อมูล และการวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) ในการทดสอบสมมุติฐาน
ผลการศึกษาพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นผู้ชายมีอายุระหว่าง 26 – 35 ปี จบการศึกษาปริญญาตรี มีอาชีพเป็นพนักงานบริษัทเอกชน และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,000 - 20,000 บาท ผลการวิจัยยังพบว่าประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตพื้นที่สถานีตำรวจนครบาลปทุมวัน มีระดับการมีส่วนร่วมต่อโครงการเพื่อการต่อต้านยาเสพติดในเด็กนักเรียน ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการมีส่วนร่วมในผลประโยชน์ รองลงมา คือ ด้านการมีส่วนร่วมในการประเมินผล ด้านการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติการ และด้านการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ ตามลำดับ ส่วนการเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของประชาชนที่มีต่อโครงการเพื่อการต่อต้านยาเสพติดในเด็กนักเรียน พบว่า ประชาชนที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนแตกต่างกันมีส่วนร่วมต่อโครงการเพื่อการต่อต้านยาเสพติดในเด็กนักเรียนไม่แตกต่างกันCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27269 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594919 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-41 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000594927 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-41 c.2 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการปกครองท้องที่ระดับหมู่บ้าน กรณีศึกษาอำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร / สกูลศักดิ์ เกื้อกูล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การมีส่วนร่วมของประชาชนในการปกครองท้องที่ระดับหมู่บ้าน กรณีศึกษาอำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร Original title : People’s Participation in Local Authority Administration at Village Level: A Case of Amphoe Thung Thako, Chumporn Province Material Type: printed text Authors: สกูลศักดิ์ เกื้อกูล, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: viii, 65 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-20
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การปกครองส่วนท้องถิ่น -- ชุมพร -- การมีส่วนร่วมของประชาชน
[LCSH]การมีส่วนร่วมKeywords: การมีส่วนร่วม,
การปกครองท้องที่,
หมู่บ้านAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการปกครองท้องที่ระดับหมู่บ้าน กรณีศึกษาอำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร จำแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพหลัก ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นประชาชนผู้มีสิทธิเลือกผู้ใหญ่บ้านในอำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร จำนวน 372 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนของตัวแปรแบบทางเดียว (One-Way ANOVA)
ผลการวิจัย พบว่า การมีส่วนร่วมของประชาชนในการปกครองท้องที่ระดับหมู่บ้าน ในอำเภอทุ่งตะโก โดยภาพรวมทุกด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ การมีส่วนร่วมในการประเมินผล รองลงมา ได้แก่ การมีส่วนร่วมในการดำเนินโครงการหรือกิจกรรมต่างๆ ของหมู่บ้าน และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ การมีส่วนร่วมในการแบ่งปันผลประโยชน์ ผลการเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของประชาชนในการปกครองท้องที่ระดับหมู่บ้าน จำแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา ไม่มีความแตกต่างกันที่ ยกเว้นเมื่อจำแนกตามอาชีพหลักพบว่ามีความแตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26797 SIU IS-T. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการปกครองท้องที่ระดับหมู่บ้าน กรณีศึกษาอำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร = People’s Participation in Local Authority Administration at Village Level: A Case of Amphoe Thung Thako, Chumporn Province [printed text] / สกูลศักดิ์ เกื้อกูล, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - viii, 65 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-20
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การปกครองส่วนท้องถิ่น -- ชุมพร -- การมีส่วนร่วมของประชาชน
[LCSH]การมีส่วนร่วมKeywords: การมีส่วนร่วม,
การปกครองท้องที่,
หมู่บ้านAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการปกครองท้องที่ระดับหมู่บ้าน กรณีศึกษาอำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร จำแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพหลัก ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นประชาชนผู้มีสิทธิเลือกผู้ใหญ่บ้านในอำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร จำนวน 372 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนของตัวแปรแบบทางเดียว (One-Way ANOVA)
ผลการวิจัย พบว่า การมีส่วนร่วมของประชาชนในการปกครองท้องที่ระดับหมู่บ้าน ในอำเภอทุ่งตะโก โดยภาพรวมทุกด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ การมีส่วนร่วมในการประเมินผล รองลงมา ได้แก่ การมีส่วนร่วมในการดำเนินโครงการหรือกิจกรรมต่างๆ ของหมู่บ้าน และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ การมีส่วนร่วมในการแบ่งปันผลประโยชน์ ผลการเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของประชาชนในการปกครองท้องที่ระดับหมู่บ้าน จำแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา ไม่มีความแตกต่างกันที่ ยกเว้นเมื่อจำแนกตามอาชีพหลักพบว่ามีความแตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26797 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593549 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-20 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000593531 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-20 c.2 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาท้องถิ่นขององค์การบริหารส่วนตำบล ในอำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี / ณรงค์ชัย ทองตำลึง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาท้องถิ่นขององค์การบริหารส่วนตำบล ในอำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี Original title : People’s Participation in Local Development of Sub-District Administrative Organizations in Amphoe Phunpin, Surat Thani Province Material Type: printed text Authors: ณรงค์ชัย ทองตำลึง, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 68 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-23
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพัฒนา
[LCSH]ชุมชน -- การมีส่วนร่วม
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- สุราษฎร์ธานี -- พุนพินKeywords: การมีส่วนร่วม,
ประชาชน,
พัฒนา,
ท้องถิ่นAbstract: การค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาท้องถิ่นขององค์การบริหารส่วนตำบลในอำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งเป็นประชาชนที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ซึ่งมีสิทธิเลือกตั้งในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล ในอำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 375 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ใช้สถิติเชิงพรรณาในการวิเคราะห์ข้อมูลประชากรศาสตร์และระดับการมีส่วนร่วม และใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One – Way ANOVA) ในการทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปร
ผลการวิจัยพบว่า ในภาพรวมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาท้องถิ่น ขององค์การบริหาร ส่วนตำบลในอำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า การมีส่วนร่วมในการประเมินผลมีค่าเฉลี่ยในระดับสูงสุด รองลงมา ได้แก่ การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ การมีส่วนร่วมในผลประโยชน์ และการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติมีค่าเฉลี่ยในระดับต่ำสุด ตามลำดับ ส่วนการวิเคราะห์เปรียบเทียบเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาท้องถิ่นขององค์การบริหารส่วนตำบล จำแนกตามเพศ ตามอายุ ระดับการศึกษา อาชีพหลัก โดยการทดสอบค่าที (t-test) ไม่พบความแตกต่าง ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหาและอุปสรรคต่อการมีส่วนร่วม ควรประชาชนไม่มีความรู้และขาดข้อมูลที่เกี่ยวข้องในการวางแผนและตัดสินใจ ประชาชนควรให้ความสำคัญต่อการมีส่วนร่วมในการดำเนินโครงการอย่างจริงจัง ท้องถิ่นควรได้ และการแต่งตั้งคณะกรรมการ ในการประเมินผลงานหรือโครงการCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26830 SIU IS-T. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาท้องถิ่นขององค์การบริหารส่วนตำบล ในอำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี = People’s Participation in Local Development of Sub-District Administrative Organizations in Amphoe Phunpin, Surat Thani Province [printed text] / ณรงค์ชัย ทองตำลึง, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 68 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-23
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพัฒนา
[LCSH]ชุมชน -- การมีส่วนร่วม
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- สุราษฎร์ธานี -- พุนพินKeywords: การมีส่วนร่วม,
ประชาชน,
พัฒนา,
ท้องถิ่นAbstract: การค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาท้องถิ่นขององค์การบริหารส่วนตำบลในอำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งเป็นประชาชนที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ซึ่งมีสิทธิเลือกตั้งในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล ในอำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 375 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ใช้สถิติเชิงพรรณาในการวิเคราะห์ข้อมูลประชากรศาสตร์และระดับการมีส่วนร่วม และใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One – Way ANOVA) ในการทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปร
ผลการวิจัยพบว่า ในภาพรวมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาท้องถิ่น ขององค์การบริหาร ส่วนตำบลในอำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า การมีส่วนร่วมในการประเมินผลมีค่าเฉลี่ยในระดับสูงสุด รองลงมา ได้แก่ การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ การมีส่วนร่วมในผลประโยชน์ และการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติมีค่าเฉลี่ยในระดับต่ำสุด ตามลำดับ ส่วนการวิเคราะห์เปรียบเทียบเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาท้องถิ่นขององค์การบริหารส่วนตำบล จำแนกตามเพศ ตามอายุ ระดับการศึกษา อาชีพหลัก โดยการทดสอบค่าที (t-test) ไม่พบความแตกต่าง ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหาและอุปสรรคต่อการมีส่วนร่วม ควรประชาชนไม่มีความรู้และขาดข้อมูลที่เกี่ยวข้องในการวางแผนและตัดสินใจ ประชาชนควรให้ความสำคัญต่อการมีส่วนร่วมในการดำเนินโครงการอย่างจริงจัง ท้องถิ่นควรได้ และการแต่งตั้งคณะกรรมการ ในการประเมินผลงานหรือโครงการCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26830 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593630 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-23 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000593648 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-23 c.2 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์ประเพณีชักพระ ของวัดในอำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี / พระมหาสมชาย กนฺตสีโล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์ประเพณีชักพระ ของวัดในอำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี Original title : People’s Participation in the Traditional Conservation of Chak Phra Festival at Wat in Bannasang Sub-District, Surat Thani Province Material Type: printed text Authors: พระมหาสมชาย กนฺตสีโล, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: viii, 78 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-30
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การมีส่วนร่วม
[LCSH]ประชาชน
[LCSH]ประเพณีชักพระKeywords: การมีส่วนร่วมของประชาชน,
การอนุรักษ์ประเพณีชักพระAbstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้คือศึกษาและเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์ประเพณีชักพระของวัดของประชาชนที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ ต่างกัน ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลกลุ่มตัวอย่างจำนวน 393 คน นำมาวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณา และสถิติเชิงอนุมาน คือการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) ในการวิเคราะห์ข้อมูลและทดสอบสมมุติฐาน
ผลการวิจัยพบว่า การมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์ประเพณีชักพระทุกด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ด้านมีส่วนรวมในการรับผลประโยชน์ รองลงมาได้แก่ ด้านมีส่วนรวมในการประเมินผล ด้านมีส่วนรวมในการตัดสินใจและ ด้านมีส่วนรวมในการดำเนินการ ตามลำดับ ผลการ วิเคราะห์เปรียบเทียบการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ประเพณีชักพระของวัดในอำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำแนกตามข้อมูลส่วนบุคคล พบว่า กลุ่มรายได้ไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ส่วนเพศมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยทางสถิตจึงได้ทดสอบเป็นรายคู่ด้วยวิธีของ scheffe ด้านการมีส่วนรวมในการรับผลประโยชน์ประชาชนที่เป็นเพศหญิง มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ประเพณีชักพระมากกว่าเพศชาย ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหาและการแก้ไขปัญหาการอนุรักษ์ประเพณีชักพระของวัดใน อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี ควรมีการปรับปรุงแก้ไข แบ่งงานกันทำ ลงมือปฏิบัติและพัฒนาวิธีการเพื่อให้ประเพณีชักพระอยู่สืบทอดให้ยั่งยืนไปสู่ระดับประเพณีวัฒนธรรมอาเซียนในอนาคต
Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27201 SIU IS-T. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์ประเพณีชักพระ ของวัดในอำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี = People’s Participation in the Traditional Conservation of Chak Phra Festival at Wat in Bannasang Sub-District, Surat Thani Province [printed text] / พระมหาสมชาย กนฺตสีโล, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - viii, 78 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-30
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การมีส่วนร่วม
[LCSH]ประชาชน
[LCSH]ประเพณีชักพระKeywords: การมีส่วนร่วมของประชาชน,
การอนุรักษ์ประเพณีชักพระAbstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้คือศึกษาและเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์ประเพณีชักพระของวัดของประชาชนที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ ต่างกัน ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลกลุ่มตัวอย่างจำนวน 393 คน นำมาวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณา และสถิติเชิงอนุมาน คือการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) ในการวิเคราะห์ข้อมูลและทดสอบสมมุติฐาน
ผลการวิจัยพบว่า การมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์ประเพณีชักพระทุกด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ด้านมีส่วนรวมในการรับผลประโยชน์ รองลงมาได้แก่ ด้านมีส่วนรวมในการประเมินผล ด้านมีส่วนรวมในการตัดสินใจและ ด้านมีส่วนรวมในการดำเนินการ ตามลำดับ ผลการ วิเคราะห์เปรียบเทียบการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ประเพณีชักพระของวัดในอำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำแนกตามข้อมูลส่วนบุคคล พบว่า กลุ่มรายได้ไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ส่วนเพศมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยทางสถิตจึงได้ทดสอบเป็นรายคู่ด้วยวิธีของ scheffe ด้านการมีส่วนรวมในการรับผลประโยชน์ประชาชนที่เป็นเพศหญิง มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ประเพณีชักพระมากกว่าเพศชาย ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหาและการแก้ไขปัญหาการอนุรักษ์ประเพณีชักพระของวัดใน อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี ควรมีการปรับปรุงแก้ไข แบ่งงานกันทำ ลงมือปฏิบัติและพัฒนาวิธีการเพื่อให้ประเพณีชักพระอยู่สืบทอดให้ยั่งยืนไปสู่ระดับประเพณีวัฒนธรรมอาเซียนในอนาคต
Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27201 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594612 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-30 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000594604 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-30 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การมีส่วนร่วมของประชาชนในงานตำรวจชุมชนและมวลชนสัมพันธ์ในการป้องกันอาชญากรรม กรณีศึกษา พื้นที่รับผิดชอบของสถานีตำรวจภูธรรัตนาธิเบศร์ / ไพรริน โมศิริ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การมีส่วนร่วมของประชาชนในงานตำรวจชุมชนและมวลชนสัมพันธ์ในการป้องกันอาชญากรรม กรณีศึกษา พื้นที่รับผิดชอบของสถานีตำรวจภูธรรัตนาธิเบศร์ Original title : People Participation in Police’s Community Relations and Crime Prevention Jobs: A Case of Ratanatibet Provincial Police Station Material Type: printed text Authors: ไพรริน โมศิริ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 57 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-32
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การป้องกันอาชญากรรม -- นนทบุรี -- รัตนาธิเบศร์
[LCSH]ตำรวจชุมชน
[LCSH]พลเมือง -- การมีส่วนร่วมKeywords: การมีส่วนร่วม,
ชุมชน,
การป้องกัน,
ตำรวจAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาระดับ ปัญหา และอุปสรรค ในการมีส่วนร่วมของประชาชน และศึกษาแนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานตำรวจชุมชนและมวลชนสัมพันธ์ ในการป้องกันปัญหาอาชญากรรมในพื้นที่รับผิดชอบของสถานีตำรวจภูธรรัตนาธิเบศร์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ประชาชนที่อาศัยอยู่ในตำบลบางกระสอ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี เขตพื้นที่ของสถานีตำรวจภูธรรัตนาธิเบศร์ จำนวน 400 คน ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลและใช้สถิติเชิงพรรณาในการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุตั้งแต่ 31 - 40 ปี สถานภาพโสด มีระดับการศึกษาในปริญญาตรี มีอาชีพเป็นพนักงานบริษัทเอกชน มีรายได้เฉลี่ย 15,000 ถึง 20,000 บาท ต่อเดือน พักอาศัยอยู่ในชุมชน 6 - 10 ปี พักอาศัยเป็นแฟลตหรืออพาร์ทเมนต์ โดยกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ไม่เคยมีประสบการณ์การตกเป็นเหยื่ออาชญากรรม นอกจากนี้ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการมีส่วนร่วมของประชาชนยัง พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีส่วนร่วมโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ประชาชนผู้ตอบแบบสอบถามมีส่วนร่วมสูงที่สุดตามค่าเฉลี่ย คือ ด้านการวางแผนซึ่งอยู่ในระดับปานกลาง รองลงมาคือการมีส่วนร่วมด้านการปฏิบัติงาน และการมีส่วนร่วมด้านการประเมินผล เลียงตามลำดับ ส่วนด้านปัญหาและอุปสรรคในการมีส่วนร่วมของประชาชนงานตำรวจชุมชนและมวลชนสัมพันธ์พบว่าอยู่ในระดับปานกลางCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27276 SIU IS-T. การมีส่วนร่วมของประชาชนในงานตำรวจชุมชนและมวลชนสัมพันธ์ในการป้องกันอาชญากรรม กรณีศึกษา พื้นที่รับผิดชอบของสถานีตำรวจภูธรรัตนาธิเบศร์ = People Participation in Police’s Community Relations and Crime Prevention Jobs: A Case of Ratanatibet Provincial Police Station [printed text] / ไพรริน โมศิริ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 57 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-32
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การป้องกันอาชญากรรม -- นนทบุรี -- รัตนาธิเบศร์
[LCSH]ตำรวจชุมชน
[LCSH]พลเมือง -- การมีส่วนร่วมKeywords: การมีส่วนร่วม,
ชุมชน,
การป้องกัน,
ตำรวจAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาระดับ ปัญหา และอุปสรรค ในการมีส่วนร่วมของประชาชน และศึกษาแนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานตำรวจชุมชนและมวลชนสัมพันธ์ ในการป้องกันปัญหาอาชญากรรมในพื้นที่รับผิดชอบของสถานีตำรวจภูธรรัตนาธิเบศร์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ประชาชนที่อาศัยอยู่ในตำบลบางกระสอ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี เขตพื้นที่ของสถานีตำรวจภูธรรัตนาธิเบศร์ จำนวน 400 คน ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลและใช้สถิติเชิงพรรณาในการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุตั้งแต่ 31 - 40 ปี สถานภาพโสด มีระดับการศึกษาในปริญญาตรี มีอาชีพเป็นพนักงานบริษัทเอกชน มีรายได้เฉลี่ย 15,000 ถึง 20,000 บาท ต่อเดือน พักอาศัยอยู่ในชุมชน 6 - 10 ปี พักอาศัยเป็นแฟลตหรืออพาร์ทเมนต์ โดยกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ไม่เคยมีประสบการณ์การตกเป็นเหยื่ออาชญากรรม นอกจากนี้ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการมีส่วนร่วมของประชาชนยัง พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีส่วนร่วมโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ประชาชนผู้ตอบแบบสอบถามมีส่วนร่วมสูงที่สุดตามค่าเฉลี่ย คือ ด้านการวางแผนซึ่งอยู่ในระดับปานกลาง รองลงมาคือการมีส่วนร่วมด้านการปฏิบัติงาน และการมีส่วนร่วมด้านการประเมินผล เลียงตามลำดับ ส่วนด้านปัญหาและอุปสรรคในการมีส่วนร่วมของประชาชนงานตำรวจชุมชนและมวลชนสัมพันธ์พบว่าอยู่ในระดับปานกลางCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27276 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000595056 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-32 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000595064 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-32 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available