From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
SIU THE-T. การรับรู้ของพนักงานที่มีต่อรูปแบบการบริหารงานของผู้จัดการชาวไทย / สาลินี ชัยวัฒนพร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU THE-T Title : การรับรู้ของพนักงานที่มีต่อรูปแบบการบริหารงานของผู้จัดการชาวไทย Original title : Perceptions of Employees towards Thai Manager’s Management Style Material Type: printed text Authors: สาลินี ชัยวัฒนพร, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; เพชรรัตน์ โล้วิชากรติกุล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: xvi, 344 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2017-01
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารงาน
[LCSH]วัฒนธรรมองค์การ -- การจัดการ
[LCSH]แรงจูงใจในการทำงานKeywords: การรับรู้ของพนักงาน,
การยอมรับของพนักงาน,
การบริหารงาน,
ผู้จัดการชาวไทยAbstract: งานวิจัยนี้ เพื่อศึกษาการรับรู้ของพนักงานเกี่ยวกับรูปแบบของของผู้จัดการชาวไทย โดยมี
กลุ่มตัวอย่าง 800 คน และศึกษาผู้ที่สาเร็จปริญญาตรีและประกอบอาชีพในหน่วยงานภาครัฐและ
ภาคส่วนเอกชน อย่างละ 400 คน ซึ่งแบบสอบถามได้ถูกพัฒนามาจากแนวคิด 5 มิติทางวัฒนธรรมของ ฮอฟสตีท (Hofstede) และได้ไปพัฒนาต่อเนื่องและถูกใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง งานวิจัยนี้ใช้สถิติเชิงพรรณนาในการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม และทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปร โดยใช้สถิติเชิงอนุมาณในการหาค่า t-test และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว One-way ANOVA ในการทดสอบสมมติฐาน
ผลการวิจัยพบว่า ในส่วนงานราชการมีการรับรู้การบริหารของผู้จัดการชาวไทยรับรู้ว่า
หัวหน้างานมักหลีกเลี่ยงความเสี่ยงเป็นอันดับแรก (มิติการหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอน) รองลงมาคือการตั้งเป้าหมายในระยะยาว (มิติเป้าหมายระยะยาว) การรักษาระยะห่างจากลูกน้อง (มิติความเหลื่อมล้าในอานาจ) แบ่งแยกความสาคัญระหว่างผู้ชายกับผู้หญิง (มิติการแบ่งแยกชายหญิง) และมีความนิยมเป็นหมู่เหล่าค่อนข้างมาก (ปัจเจกบุคคลและกลุ่มนิยม) ตามลาดับ ส่วนการยอมรับการบริหารงานของผู้จัดการชาวไทยของพนักงานในส่วนงานราชการพบว่าให้ความสาคัญเกี่ยวกับลักษณะผู้นาของผู้บริหารเป็นอันดับแรก ถัดมาคือความพึงพอใจในการทางาน ความพึงพอใจในตัวผู้บังคับบัญชา ระบบการให้คุณให้โทษ การปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมในการทางาน ระบบการประเมินผล ตามลาดับ
นอกจากนี้ ผลการวิจัยในส่วนงานเอกชนมีการรับรู้ของพนักงานที่แตกต่างกัน โดยรับรู้ว่า
ผู้จัดการชาวไทยให้ความสาคัญกับการมีเป้าหมายในระยะยาวมากที่สุด รองลงมาคือการหลีกเลี่ยง
ความเสี่ยง (มิติหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอน) รักษาระยะห่างระหว่างตนเองกับลูกน้อง (มิติความเหลื่อมล้าในอานาจ) มีความรักพวกพ้อง (มิติปัจเจกบุคคลและกลุ่มนิยม) และเห็นว่าผู้หญิงมีความสาคัญเท่าเทียมกับผู้ชาย (มิติการแบ่งแยกชายหญิง) ตามลาดับ นอกจากนั้นผลการวิจัยยังแสดงให้เห็นว่าพนักงานชาวไทยทั้งภาครัฐและเอกชนส่วนใหญ่ การยอมรับการทางานภายใต้การบริหารงานของผู้จัดการชาวไทยว่ามีความพึงพอใจในการทางานเป็นอันดับแรก รองลงมาเป็นการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมในการทางาน ลักษณะของผู้นาของผู้บริหาร ความพึงพอใจในตัวผู้บังคับบัญชา ระบบการประเมินผลงาน และระบบการให้คุณให้โทษ ตามลาดับCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26777 SIU THE-T. การรับรู้ของพนักงานที่มีต่อรูปแบบการบริหารงานของผู้จัดการชาวไทย = Perceptions of Employees towards Thai Manager’s Management Style [printed text] / สาลินี ชัยวัฒนพร, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; เพชรรัตน์ โล้วิชากรติกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - xvi, 344 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOM-DBA-2017-01
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารงาน
[LCSH]วัฒนธรรมองค์การ -- การจัดการ
[LCSH]แรงจูงใจในการทำงานKeywords: การรับรู้ของพนักงาน,
การยอมรับของพนักงาน,
การบริหารงาน,
ผู้จัดการชาวไทยAbstract: งานวิจัยนี้ เพื่อศึกษาการรับรู้ของพนักงานเกี่ยวกับรูปแบบของของผู้จัดการชาวไทย โดยมี
กลุ่มตัวอย่าง 800 คน และศึกษาผู้ที่สาเร็จปริญญาตรีและประกอบอาชีพในหน่วยงานภาครัฐและ
ภาคส่วนเอกชน อย่างละ 400 คน ซึ่งแบบสอบถามได้ถูกพัฒนามาจากแนวคิด 5 มิติทางวัฒนธรรมของ ฮอฟสตีท (Hofstede) และได้ไปพัฒนาต่อเนื่องและถูกใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง งานวิจัยนี้ใช้สถิติเชิงพรรณนาในการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม และทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปร โดยใช้สถิติเชิงอนุมาณในการหาค่า t-test และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว One-way ANOVA ในการทดสอบสมมติฐาน
ผลการวิจัยพบว่า ในส่วนงานราชการมีการรับรู้การบริหารของผู้จัดการชาวไทยรับรู้ว่า
หัวหน้างานมักหลีกเลี่ยงความเสี่ยงเป็นอันดับแรก (มิติการหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอน) รองลงมาคือการตั้งเป้าหมายในระยะยาว (มิติเป้าหมายระยะยาว) การรักษาระยะห่างจากลูกน้อง (มิติความเหลื่อมล้าในอานาจ) แบ่งแยกความสาคัญระหว่างผู้ชายกับผู้หญิง (มิติการแบ่งแยกชายหญิง) และมีความนิยมเป็นหมู่เหล่าค่อนข้างมาก (ปัจเจกบุคคลและกลุ่มนิยม) ตามลาดับ ส่วนการยอมรับการบริหารงานของผู้จัดการชาวไทยของพนักงานในส่วนงานราชการพบว่าให้ความสาคัญเกี่ยวกับลักษณะผู้นาของผู้บริหารเป็นอันดับแรก ถัดมาคือความพึงพอใจในการทางาน ความพึงพอใจในตัวผู้บังคับบัญชา ระบบการให้คุณให้โทษ การปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมในการทางาน ระบบการประเมินผล ตามลาดับ
นอกจากนี้ ผลการวิจัยในส่วนงานเอกชนมีการรับรู้ของพนักงานที่แตกต่างกัน โดยรับรู้ว่า
ผู้จัดการชาวไทยให้ความสาคัญกับการมีเป้าหมายในระยะยาวมากที่สุด รองลงมาคือการหลีกเลี่ยง
ความเสี่ยง (มิติหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอน) รักษาระยะห่างระหว่างตนเองกับลูกน้อง (มิติความเหลื่อมล้าในอานาจ) มีความรักพวกพ้อง (มิติปัจเจกบุคคลและกลุ่มนิยม) และเห็นว่าผู้หญิงมีความสาคัญเท่าเทียมกับผู้ชาย (มิติการแบ่งแยกชายหญิง) ตามลาดับ นอกจากนั้นผลการวิจัยยังแสดงให้เห็นว่าพนักงานชาวไทยทั้งภาครัฐและเอกชนส่วนใหญ่ การยอมรับการทางานภายใต้การบริหารงานของผู้จัดการชาวไทยว่ามีความพึงพอใจในการทางานเป็นอันดับแรก รองลงมาเป็นการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมในการทางาน ลักษณะของผู้นาของผู้บริหาร ความพึงพอใจในตัวผู้บังคับบัญชา ระบบการประเมินผลงาน และระบบการให้คุณให้โทษ ตามลาดับCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26777 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593390 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-01 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593424 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-01 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available