From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
SIU THE-T. การพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการในเขตปกครองคณะสงฆ์ ภาค 10 / พระมหาสมคิด มะลัยทอง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Collection Title: SIU THE-T Title : การพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการในเขตปกครองคณะสงฆ์ ภาค 10 Original title : Leadership Development towards Sappurisadhamma 7 Principles of Administrative Monks Under Sangha Region 10 Material Type: printed text Authors: พระมหาสมคิด มะลัยทอง, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: xi, 147 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-21
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พระสังฆาธิการ
[LCSH]ภาวะผู้นำ -- แง่ศาสนา -- พุทธศาสนา
[LCSH]สัปปุริสธรรม -- วิจัยKeywords: ภาวะผู้นำ, สัปปุริสธรรม 7, คณะสงฆ์ภาค 10 Abstract: งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ โดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 3) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ผู้วิจัยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) คือ 1) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ด้วยการสัมภาษณ์จำนวน 16 คน โดยการวิเคราะห์เนื้อหา 2) การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่าง ของพระสงฆ์ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 จำนวน 6 จังหวัด จำนวน 400 คน โดยการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุคูณ
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพพบว่า การพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 คือผู้นำที่มีความรู้ ความสามารถ จูงใจให้ผู้อื่นปฏิบัติตามได้ดั่งใจประสงค์และเกิดความพึงพอใจ เป็นไปตามหลักพระพุทธศาสนาได้กล่าวถึง และงานวิจัยเชิงปริมาณ พบว่า ปัจจัยหลักสัปปุริสธรรม 7 ที่ส่งผลต่อการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านกาลัญญุตา มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.48, S.D. = 0.63) โดยตัวแปรอิสระทั้ง 5 ตัวแปรสามารถร่วมกันทำนายการพัฒนาภาวะผู้นำของพระสังฆาธิการตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.542 อำนาจทำนายประมาณร้อยละ 29.40 (R Square = 0.294) ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการทำนายมีค่า 1.914 ปัจจัยภาวะผู้นำของพระสังฆาธิการที่ส่งผลต่อการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ แบบกระจายความรับผิดชอบ มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.35, S.D. = 0.69) โดยตัวแปรอิสระ 2 ตัวแปรสามารถร่วมกันทำนายการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยค่าสัมประสิทธิ์สัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.507 อำนาจทำนายประมาณร้อยละ 25.70 (R Square = 0.257) ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการทำนายมีค่า 1.893
ข้อเสนอแนะ การพัฒนาภาวะผู้นำให้เหมาะสมกับบริบทของแต่ละวัด เพื่อให้การพัฒนาเป็นไปตามหลักปริสัญญุตา การเข้าใจความแตกต่างของบุคลากรและวัฒนธรรมของชุมชนCurricular : MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28105 SIU THE-T. การพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการในเขตปกครองคณะสงฆ์ ภาค 10 = Leadership Development towards Sappurisadhamma 7 Principles of Administrative Monks Under Sangha Region 10 [printed text] / พระมหาสมคิด มะลัยทอง, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - xi, 147 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-21
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พระสังฆาธิการ
[LCSH]ภาวะผู้นำ -- แง่ศาสนา -- พุทธศาสนา
[LCSH]สัปปุริสธรรม -- วิจัยKeywords: ภาวะผู้นำ, สัปปุริสธรรม 7, คณะสงฆ์ภาค 10 Abstract: งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ โดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 3) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ผู้วิจัยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) คือ 1) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ด้วยการสัมภาษณ์จำนวน 16 คน โดยการวิเคราะห์เนื้อหา 2) การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่าง ของพระสงฆ์ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 จำนวน 6 จังหวัด จำนวน 400 คน โดยการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุคูณ
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพพบว่า การพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 คือผู้นำที่มีความรู้ ความสามารถ จูงใจให้ผู้อื่นปฏิบัติตามได้ดั่งใจประสงค์และเกิดความพึงพอใจ เป็นไปตามหลักพระพุทธศาสนาได้กล่าวถึง และงานวิจัยเชิงปริมาณ พบว่า ปัจจัยหลักสัปปุริสธรรม 7 ที่ส่งผลต่อการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านกาลัญญุตา มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.48, S.D. = 0.63) โดยตัวแปรอิสระทั้ง 5 ตัวแปรสามารถร่วมกันทำนายการพัฒนาภาวะผู้นำของพระสังฆาธิการตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.542 อำนาจทำนายประมาณร้อยละ 29.40 (R Square = 0.294) ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการทำนายมีค่า 1.914 ปัจจัยภาวะผู้นำของพระสังฆาธิการที่ส่งผลต่อการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ แบบกระจายความรับผิดชอบ มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.35, S.D. = 0.69) โดยตัวแปรอิสระ 2 ตัวแปรสามารถร่วมกันทำนายการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยค่าสัมประสิทธิ์สัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.507 อำนาจทำนายประมาณร้อยละ 25.70 (R Square = 0.257) ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการทำนายมีค่า 1.893
ข้อเสนอแนะ การพัฒนาภาวะผู้นำให้เหมาะสมกับบริบทของแต่ละวัด เพื่อให้การพัฒนาเป็นไปตามหลักปริสัญญุตา การเข้าใจความแตกต่างของบุคลากรและวัฒนธรรมของชุมชนCurricular : MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28105 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607332 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-21 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607334 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-21 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ภาวะผู้นำของเจ้าอาวาสในอำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี / พระครูวินัยธรองค์การ สิริปญฺโญ (ศิริศักดิ์) / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2015
Collection Title: SIU IS-T Title : ภาวะผู้นำของเจ้าอาวาสในอำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี Original title : Leadership of Buddhist Temple Abbots in Meung District, Surattani Province Material Type: printed text Authors: พระครูวินัยธรองค์การ สิริปญฺโญ (ศิริศักดิ์), Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2015 Pagination: vii, 75 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-05
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ภาวะผู้นำ -- แง่ศาสนา -- พุทธศาสนา
[LCSH]วัด -- การบริหารKeywords: เจ้าอาวาสวัด,
ผู้นับถือศาสนาพุทธ,
ภาวะผู้นำ,
วัดAbstract: การศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นของพระสงฆ์ที่มีต่อภาวะผู้นำของเจ้าอาวาสวัดในเขตอำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี และเพื่อศึกษาข้อเสนอแนะ ในการบริหารงานในวัดของภาวะผู้นำของเจ้าอาวาสวัดในเขตอำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี กลุ่มตัวอย่างได้แก่ พระภิกษุในเขตอำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 337 รูป เครื่องมือที่ใช้ เป็นแบบสอบถามวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนแบบมาตรฐาน
ผลของการวิจัย พบว่า พระภิกษุในอำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นำของเจ้าอาวาสวัด โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน เรียงลำดับค่าเฉลี่ย จากมากไปหาน้อย ได้แก่ คุณลักษณะภาวะผู้นำเจ้าอาวาส การพัฒนาวัดด้านศาสนบุคคล การพัฒนาวัดด้านวัตถุ การพัฒนาวัดด้านศาสนพิธี สำหรับข้อเสนอแนะ พบว่า เจ้าอาวาสวัดควรที่ใช้คำพูดที่นิ่มนวล ปิยะวาจา ต้องรู้จักว่าเวลาไหนควรพูดเวลาไหนไม่ควรพูด ควรออกกฎระเบียบในการบวชการปฏิบัติถูกต้องตามหลักพระพุทธศาสนา ควรวางกฎระเบียบกติกาอย่างเคร่งครัด ควรจะศึกษาและปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ ก่อนที่จะลงมือก่อสร้างให้สอดคล้องกับศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น ควรจะรณรงค์ประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้ประชาชนได้เห็นความสำคัญ หรือมีความตระหนักในฐานะที่เป็นชาวพุทธCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26659 SIU IS-T. ภาวะผู้นำของเจ้าอาวาสในอำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี = Leadership of Buddhist Temple Abbots in Meung District, Surattani Province [printed text] / พระครูวินัยธรองค์การ สิริปญฺโญ (ศิริศักดิ์), Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015 . - vii, 75 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-05
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ภาวะผู้นำ -- แง่ศาสนา -- พุทธศาสนา
[LCSH]วัด -- การบริหารKeywords: เจ้าอาวาสวัด,
ผู้นับถือศาสนาพุทธ,
ภาวะผู้นำ,
วัดAbstract: การศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นของพระสงฆ์ที่มีต่อภาวะผู้นำของเจ้าอาวาสวัดในเขตอำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี และเพื่อศึกษาข้อเสนอแนะ ในการบริหารงานในวัดของภาวะผู้นำของเจ้าอาวาสวัดในเขตอำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี กลุ่มตัวอย่างได้แก่ พระภิกษุในเขตอำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 337 รูป เครื่องมือที่ใช้ เป็นแบบสอบถามวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนแบบมาตรฐาน
ผลของการวิจัย พบว่า พระภิกษุในอำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นำของเจ้าอาวาสวัด โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน เรียงลำดับค่าเฉลี่ย จากมากไปหาน้อย ได้แก่ คุณลักษณะภาวะผู้นำเจ้าอาวาส การพัฒนาวัดด้านศาสนบุคคล การพัฒนาวัดด้านวัตถุ การพัฒนาวัดด้านศาสนพิธี สำหรับข้อเสนอแนะ พบว่า เจ้าอาวาสวัดควรที่ใช้คำพูดที่นิ่มนวล ปิยะวาจา ต้องรู้จักว่าเวลาไหนควรพูดเวลาไหนไม่ควรพูด ควรออกกฎระเบียบในการบวชการปฏิบัติถูกต้องตามหลักพระพุทธศาสนา ควรวางกฎระเบียบกติกาอย่างเคร่งครัด ควรจะศึกษาและปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ ก่อนที่จะลงมือก่อสร้างให้สอดคล้องกับศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น ควรจะรณรงค์ประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้ประชาชนได้เห็นความสำคัญ หรือมีความตระหนักในฐานะที่เป็นชาวพุทธCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26659 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593143 SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-05 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593119 SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-05 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available