From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
SIU IS-T. ความคิดเห็นของประชาชนต่อการประชาสัมพันธ์ของกองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ / ปรีชา ธรรมกุล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : ความคิดเห็นของประชาชนต่อการประชาสัมพันธ์ของกองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ Original title : People’s Opinions towards the Public Relation Anti-Trafficking in Persons Division Material Type: printed text Authors: ปรีชา ธรรมกุล, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 84 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-17
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ -- ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]การประชาสัมพันธ์
[LCSH]ความคิดเห็นของประชาชนKeywords: ความคิดเห็นของประชาชน,
การประชาสัมพันธ์,
กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นของประชาชนต่อการประชาสัมพันธ์ของกองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์และเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนต่อการประชาสัมพันธ์ของกองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์จำแนกตามปัจจัยด้านประชากรศาสตร์
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ประชาชนที่มารับบริการและผู้ที่มาติดต่อกับกองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 200 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที (t-test) ในกรณีตัวแปรต้นสองตัว และการทดสอบเอฟ โดยการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (f-test/one way ANOVA)
ผลการวิจัย พบว่า ความคิดเห็นของประชาชนต่อการประชาสัมพันธ์ของกองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าค่าเฉลี่ยสูงสุดคือด้านพฤติกรรม รองลงมา คือ ด้านผู้บริหาร ต่ำสุด คือ ด้านความเข้าใจ ผลการเปรียบเทียบ ความคิดเห็นของประชาชนต่อการประชาสัมพันธ์ของกองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ จำแนกตามปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ พบว่า ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ข้อเสนอแนะจากการวิจัยควรมีการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้ทราบว่าหน่วยงานใดมีหน้าที่ในความรับผิดชอบดูแลในเรื่องของการปราบปรามการค้ามนุษย์ จัดหาแนวทางหรือกิจกรรมในการส่งเสริมให้ประชาชนเข้าไปมีส่วนร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ของกองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26903 SIU IS-T. ความคิดเห็นของประชาชนต่อการประชาสัมพันธ์ของกองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ = People’s Opinions towards the Public Relation Anti-Trafficking in Persons Division [printed text] / ปรีชา ธรรมกุล, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 84 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-17
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ -- ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]การประชาสัมพันธ์
[LCSH]ความคิดเห็นของประชาชนKeywords: ความคิดเห็นของประชาชน,
การประชาสัมพันธ์,
กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นของประชาชนต่อการประชาสัมพันธ์ของกองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์และเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนต่อการประชาสัมพันธ์ของกองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์จำแนกตามปัจจัยด้านประชากรศาสตร์
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ประชาชนที่มารับบริการและผู้ที่มาติดต่อกับกองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 200 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที (t-test) ในกรณีตัวแปรต้นสองตัว และการทดสอบเอฟ โดยการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (f-test/one way ANOVA)
ผลการวิจัย พบว่า ความคิดเห็นของประชาชนต่อการประชาสัมพันธ์ของกองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าค่าเฉลี่ยสูงสุดคือด้านพฤติกรรม รองลงมา คือ ด้านผู้บริหาร ต่ำสุด คือ ด้านความเข้าใจ ผลการเปรียบเทียบ ความคิดเห็นของประชาชนต่อการประชาสัมพันธ์ของกองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ จำแนกตามปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ พบว่า ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ข้อเสนอแนะจากการวิจัยควรมีการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้ทราบว่าหน่วยงานใดมีหน้าที่ในความรับผิดชอบดูแลในเรื่องของการปราบปรามการค้ามนุษย์ จัดหาแนวทางหรือกิจกรรมในการส่งเสริมให้ประชาชนเข้าไปมีส่วนร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ของกองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26903 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593895 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-17 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593929 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-17 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ / ปิติทัต กงทอง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ Original title : Factors that Effected for Preventing and Suppressing of Prostitution of Police Sub-Division 4 ATI-Human Trafficking Division, Central Investigation Bureau, Royal Thai Police Material Type: printed text Authors: ปิติทัต กงทอง, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: viii, 88 น. Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-16
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ -- ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]การค้ามนุษย์ -- การป้องกันKeywords: การป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี
ความผูกพันกับองค์การ
ทัศนคติของผู้บังคับบัญชา
ความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่
การสื่อสารAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยด้านประชากรศาสตร์กับปัจจัยด้านการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 3) เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจ กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ โดยผู้วิจัยใช้วิธีการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยทางด้านประชากรศาสตร์ มีผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 36-45 ปีขึ้นไป ได้มีการสมรสแล้วเป็นส่วนใหญ่และส่วนใหญ่สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี และมีรายได้ส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 10,001 – 20,000 บาท โดยส่วนใหญ่มีประสบการณ์การทำงานอยู่ระหว่าง 16-20 ปี และจากการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ สรุปผลการวิจัยแต่ละปัจจัยหลักมีลำดับความสำคัญดังนี้คือ ลำดับแรก ได้แก่ ด้านความผูกพันสัมพันธ์กับองค์การมีความสำคัญ ลำดับที่สอง ได้แก่ ด้านความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ลำดับที่สาม ได้แก่ ด้านทัศนคติของผู้บังคับบัญชา ลำดับที่สี่ ด้านการสื่อสาร วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือเครื่องใช้ โดยทั้งสี่ลำดับนี้ เป็นปัจจัยที่ผู้ตอบแบบอบถามให้ความสำคัญอยู่ระดับมาก ลำดับที่สี่ ได้แก่ ด้านอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ และลำดับสุดท้าย ได้แก่ ด้านการจัดสรรงบประมาณ เป็นปัจจัยที่ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญอยู่ในระดับปานกลาง ข้อเสนอแนะในการนำผลการศึกษาค้นคว้าไปใช้ คือ ส่งเสริมและสนับสนุนให้ข้าราชการตำรวจที่ปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีมีความพร้อมในการปฏิบัติงาน โดยการพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมให้มีความพร้อมในเรื่องการสร้างประสบการณ์ในการทำงานด้านการป้องกันและการปราบปรามการค้าประเวณี การเสริมรายได้ไปพร้อม ๆ กับการวางแผนการใช้จ่ายต่อเดือน ส่งเสริมให้ลาศึกษาต่อและฝึกอบรมในด้านที่เกี่ยวข้อง สนับสนุนให้ปฏิบัติงานในหน่วยงานที่เหมาะสม และส่งเสริมให้มีความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการดำเนินงานใน ปัจจัยต่าง ๆ คือ ปัจจัยทางด้านนโยบาย ด้านมาตรการการปฏิบัติ
ด้านกฎหมาย ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารจัดการ และด้านบุคลากร ได้แก่ การทบทวนนโยบาย มาตรการ การจัดระบบขั้นตอนที่เกี่ยวข้องให้เอื้อต่อการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี การให้รางวัลและการคุ้มครองเป็นพิเศษแก่เจ้าหน้าที่ของภาครัฐและประชาชนที่ให้ความร่วมมือในการปราบปรามการค้าประเวณี การประชาสัมพันธ์ให้ความรู้การป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีและการแสวงหาแนวร่วมภาคประชาชน ในการป้องกันปราบปรามการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีให้มากขึ้น โดยการสร้างความร่วมมือกับองค์การ ภาคีต่าง ๆ ทั้ง ภาครัฐ ประชาชน ชุมชน และภาคเอกชน การเตรียมความพร้อมของบุคลากรทั้งจำนวนที่เหมาะสมและการพัฒนาศักยภาพให้บุคลากรมีความรู้ความสามารถในการดำเนินงาน ตลอดจนมีความพร้อมทั้งทางร่างกาย จิตใจ สังคมCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26537 SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ = Factors that Effected for Preventing and Suppressing of Prostitution of Police Sub-Division 4 ATI-Human Trafficking Division, Central Investigation Bureau, Royal Thai Police [printed text] / ปิติทัต กงทอง, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - viii, 88 น. : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-16
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ -- ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]การค้ามนุษย์ -- การป้องกันKeywords: การป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี
ความผูกพันกับองค์การ
ทัศนคติของผู้บังคับบัญชา
ความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่
การสื่อสารAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยด้านประชากรศาสตร์กับปัจจัยด้านการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 3) เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจ กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ โดยผู้วิจัยใช้วิธีการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยทางด้านประชากรศาสตร์ มีผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 36-45 ปีขึ้นไป ได้มีการสมรสแล้วเป็นส่วนใหญ่และส่วนใหญ่สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี และมีรายได้ส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 10,001 – 20,000 บาท โดยส่วนใหญ่มีประสบการณ์การทำงานอยู่ระหว่าง 16-20 ปี และจากการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ สรุปผลการวิจัยแต่ละปัจจัยหลักมีลำดับความสำคัญดังนี้คือ ลำดับแรก ได้แก่ ด้านความผูกพันสัมพันธ์กับองค์การมีความสำคัญ ลำดับที่สอง ได้แก่ ด้านความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ลำดับที่สาม ได้แก่ ด้านทัศนคติของผู้บังคับบัญชา ลำดับที่สี่ ด้านการสื่อสาร วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือเครื่องใช้ โดยทั้งสี่ลำดับนี้ เป็นปัจจัยที่ผู้ตอบแบบอบถามให้ความสำคัญอยู่ระดับมาก ลำดับที่สี่ ได้แก่ ด้านอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ และลำดับสุดท้าย ได้แก่ ด้านการจัดสรรงบประมาณ เป็นปัจจัยที่ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญอยู่ในระดับปานกลาง ข้อเสนอแนะในการนำผลการศึกษาค้นคว้าไปใช้ คือ ส่งเสริมและสนับสนุนให้ข้าราชการตำรวจที่ปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีมีความพร้อมในการปฏิบัติงาน โดยการพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมให้มีความพร้อมในเรื่องการสร้างประสบการณ์ในการทำงานด้านการป้องกันและการปราบปรามการค้าประเวณี การเสริมรายได้ไปพร้อม ๆ กับการวางแผนการใช้จ่ายต่อเดือน ส่งเสริมให้ลาศึกษาต่อและฝึกอบรมในด้านที่เกี่ยวข้อง สนับสนุนให้ปฏิบัติงานในหน่วยงานที่เหมาะสม และส่งเสริมให้มีความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการดำเนินงานใน ปัจจัยต่าง ๆ คือ ปัจจัยทางด้านนโยบาย ด้านมาตรการการปฏิบัติ
ด้านกฎหมาย ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารจัดการ และด้านบุคลากร ได้แก่ การทบทวนนโยบาย มาตรการ การจัดระบบขั้นตอนที่เกี่ยวข้องให้เอื้อต่อการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี การให้รางวัลและการคุ้มครองเป็นพิเศษแก่เจ้าหน้าที่ของภาครัฐและประชาชนที่ให้ความร่วมมือในการปราบปรามการค้าประเวณี การประชาสัมพันธ์ให้ความรู้การป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีและการแสวงหาแนวร่วมภาคประชาชน ในการป้องกันปราบปรามการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีให้มากขึ้น โดยการสร้างความร่วมมือกับองค์การ ภาคีต่าง ๆ ทั้ง ภาครัฐ ประชาชน ชุมชน และภาคเอกชน การเตรียมความพร้อมของบุคลากรทั้งจำนวนที่เหมาะสมและการพัฒนาศักยภาพให้บุคลากรมีความรู้ความสามารถในการดำเนินงาน ตลอดจนมีความพร้อมทั้งทางร่างกาย จิตใจ สังคมCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26537 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591790 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-16 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000591808 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-16 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available