From this page you can:
Home |
วารสารเกื้อการุณย์ / คณะพยาบาลศาสตร์ เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช . Vol.22 No.1 Jan-Jun 2015Published date : 10/21/2015 |
Available articles
Add the result to your basketความเครียดและการจัดการความเครียดของนักศึกษาพยาบาล / มาลีวัล เลิศสาครคีรี in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.22 No.1 Jan-Jun 2015 ([10/21/2015])
[article]
Title : ความเครียดและการจัดการความเครียดของนักศึกษาพยาบาล : ขณะฝึกปฏิบัติงานห้องคลอด Original title : The stress stress management of nursing students during practice in the labor room Material Type: printed text Authors: มาลีวัล เลิศสาครคีรี, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.7-16 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.22 No.1 Jan-Jun 2015 [10/21/2015] . - p.7-16Abstract: การจัดการเรียนการสอนทางพยาบาลศาสตร์มีทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ซึ่งการฝึกปฏิบัติทำให้นักศึกาามีความเครียดและวิตกกังวลสูงกว่าการเรียนภาคทฤษฎีในชั้นเรียน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการปฏิบัติงานห้องคลอด นักศึกษาจะมีความเครียด ซึ่งเป็นความรู้สึกตื่นเต้น วิตกกัลวล และกลัวความล้มเหลว โดยจะส่งผลต่อการเรียนรู้และความมั่นใจของนักศึกษา สาเหตุที่ก่อให้เกิดความเครียดในการปฏิบัติงานจะเกี่ยวข้องกับงานที่ได้รับมอบหมาย ความคาดหวัง สัมพันธภาพกับอาจารย์ บุคลากร เพื่อน ลักษณะอุปนิสัยส่วนบุคคล สิ่งแวดล้อม และการประเมินผลปฏิบัติงาน ซึ่งระดับความรุนแรงของความเครียดที่เกิดขึ้นในแต่ละบุคคลจะไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับการยอมรับและความสามารถในการปรับตัวของแต่ละบุคคลต่อความเครียดที่เกิดขึ้น กระบวนการจัดการความเครียดประกอบด้วย สิ่งที่ทำให้เกิดความเครียด การประเมินปัญหา และการเผชิญความเครียดแบบมุ่งแก้ปัญหา หรือการลดอารมณ์ตึงเครียด จะเปลี่ยนไปตามสถานการณ์และการประเมินของนักศึกษาแต่ละคน แนวทางปฎิบัติของนักศึกษาพยาบาลเพื่อช่่วยคลายความเครียด สามารถทำได้ดังนี้ คือ การออกกำลังกาย การพักผ่อน การพูดอย่างสร้างสรรค์ การสรร้างสัมพันธภาพที่ดีกับเพื่อนร่วมงาน การแก้ปัญหาอย่างถูกวิธี การปรับเปลี่ยนความคิด การสร้างความเข้มแข็งทางจิตใจ และการรู้จักยืนยันสิทธิของตน
Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25011 [article] ความเครียดและการจัดการความเครียดของนักศึกษาพยาบาล = The stress stress management of nursing students during practice in the labor room : ขณะฝึกปฏิบัติงานห้องคลอด [printed text] / มาลีวัล เลิศสาครคีรี, Author . - 2015 . - p.7-16.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.22 No.1 Jan-Jun 2015 [10/21/2015] . - p.7-16Abstract: การจัดการเรียนการสอนทางพยาบาลศาสตร์มีทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ซึ่งการฝึกปฏิบัติทำให้นักศึกาามีความเครียดและวิตกกังวลสูงกว่าการเรียนภาคทฤษฎีในชั้นเรียน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการปฏิบัติงานห้องคลอด นักศึกษาจะมีความเครียด ซึ่งเป็นความรู้สึกตื่นเต้น วิตกกัลวล และกลัวความล้มเหลว โดยจะส่งผลต่อการเรียนรู้และความมั่นใจของนักศึกษา สาเหตุที่ก่อให้เกิดความเครียดในการปฏิบัติงานจะเกี่ยวข้องกับงานที่ได้รับมอบหมาย ความคาดหวัง สัมพันธภาพกับอาจารย์ บุคลากร เพื่อน ลักษณะอุปนิสัยส่วนบุคคล สิ่งแวดล้อม และการประเมินผลปฏิบัติงาน ซึ่งระดับความรุนแรงของความเครียดที่เกิดขึ้นในแต่ละบุคคลจะไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับการยอมรับและความสามารถในการปรับตัวของแต่ละบุคคลต่อความเครียดที่เกิดขึ้น กระบวนการจัดการความเครียดประกอบด้วย สิ่งที่ทำให้เกิดความเครียด การประเมินปัญหา และการเผชิญความเครียดแบบมุ่งแก้ปัญหา หรือการลดอารมณ์ตึงเครียด จะเปลี่ยนไปตามสถานการณ์และการประเมินของนักศึกษาแต่ละคน แนวทางปฎิบัติของนักศึกษาพยาบาลเพื่อช่่วยคลายความเครียด สามารถทำได้ดังนี้ คือ การออกกำลังกาย การพักผ่อน การพูดอย่างสร้างสรรค์ การสรร้างสัมพันธภาพที่ดีกับเพื่อนร่วมงาน การแก้ปัญหาอย่างถูกวิธี การปรับเปลี่ยนความคิด การสร้างความเข้มแข็งทางจิตใจ และการรู้จักยืนยันสิทธิของตน
Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25011 ผลของการใช้ว๊ดีทัศน์แบบแผนการดูแลผู้ป่วยประจำวันค่อความมั่นใจในการปฏิบัติการพยาบาลบนหอผู้ป่วย / อภิสรา จังพานิช in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.22 No.1 Jan-Jun 2015 ([10/21/2015])
[article]
Title : ผลของการใช้ว๊ดีทัศน์แบบแผนการดูแลผู้ป่วยประจำวันค่อความมั่นใจในการปฏิบัติการพยาบาลบนหอผู้ป่วย : และความพึงพอใจของนักศึกษาพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช Material Type: printed text Authors: อภิสรา จังพานิช, Author ; อรชร ศรีไทรล้วน, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.17-34 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.22 No.1 Jan-Jun 2015 [10/21/2015] . - p.17-34Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25012 [article] ผลของการใช้ว๊ดีทัศน์แบบแผนการดูแลผู้ป่วยประจำวันค่อความมั่นใจในการปฏิบัติการพยาบาลบนหอผู้ป่วย : และความพึงพอใจของนักศึกษาพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช [printed text] / อภิสรา จังพานิช, Author ; อรชร ศรีไทรล้วน, Author . - 2015 . - p.17-34.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.22 No.1 Jan-Jun 2015 [10/21/2015] . - p.17-34Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25012 ผลของการใช้วีดิทัศน์แบบแผนการดูแลผู้ป่วยประจำวันต่อความมั่นใจในการปฏิบัติ / อภิสรา จังพานิช in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.22 No.1 Jan-Jun 2015 ([10/21/2015])
[article]
Title : ผลของการใช้วีดิทัศน์แบบแผนการดูแลผู้ป่วยประจำวันต่อความมั่นใจในการปฏิบัติ : การพยาบาลบนหอผู้ป่วยและความพึงพอใจ ของนักศึกษาพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช Material Type: printed text Authors: อภิสรา จังพานิช, Author ; อรชร ศรีไทรล้วน, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.173-4 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.22 No.1 Jan-Jun 2015 [10/21/2015] . - p.173-4Keywords: การใช้วีดิทัศน์.การดูแลผู้ป่วยประจำวัน.คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์. Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งเชิงทดลอง (Quasi-experimental research) มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อเปรียบเทียบความมั่นใจในการปฏิบััติการพยาบาลบนหอผู้ป่วย ของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2 ก่อนและหลังการใช้วีดิทัศน์แบบแผนการดูแลผู้ป่วยประจำวันร่วมกับการสอนปกติ 2 เพื่อเปรียบเทียบความมั่นใจในการปฏิบัติการพยาบาลบนหอผู้ป่วย ของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2 กลุ่มที่ใช้วีดิทัศน์แบบแผนการดูแลผู้ป่วยประจำวันร่วมกับการสอนปกติ และกลุ่มที่ได้รับการสอนตามปกติ และ 3 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของการใช้วีดิทัศน์แบบแผนการดูแลผู้ป่วยประจำวันในการเรียนการสอนภาคปฏิบัติการพยาบาลบนหอผู้ป่วย ของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2 คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช โดยใช้กรอบแนวคิดทฤษฎีความสามารถของตนเองของอัลเบิรต์ แบนดูร่า และทฤษฎีการเรียนรู้ของบลูม กลุ่มตัวอย่างคือ นักศึกษาพยาบาลชั้นปี่ที่ 2 จำนวน 140 คน แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม และกลุ่มทดลองโดยการจับคู่ (Matched subjects) ด้วยการกำหนดคุณสมบัติให้มีความคล้ายคลึงกันจากคะแนนสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยตลอดปีการศึกาา (GPA) เก็บข้อมูลตั้งแต่เดือนตุลาคม-ธันวาคม 2557 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 1 วีดิทัศน์แบบแผนการดูแลผู้ป่วยประจำวัน 2 แบบสอบถามความมั่นใจในการปฏิบัติการพยาบาลหอผู้ป่วยและ 3 แบบสอบถามความพึงพอใจของการใช้วีดิทัศน์แบบแผนการดูแลผู้ป่วยประจำวันในการเรียนการสอนภาคปฏิบัติการพยาบาลบนหอผู้ป่วย ของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2 ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา จากผู้ทรงคุณวุฒิและมีค่าความเที่ยง จากผู้ทรงคุณวุฒิและมีค่าความเที่ยง ได้ค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่าของครอนบราค Cornbach's alpha coeffieient) เท่ากับ 0.87 และ0.95 ตามลำดับ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที ผลการวิจัย พบว่า คะแนนความมั่นใจในการปฏิบัติการพยาบาลบนหอผู้ป่วย ของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2 หลังใช้วีดิทัศน์แบบแผนการดูแลผู้ป่วยประจำวันร่วมกับการสอนตามปกติย่างมีนั้ยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .04 2. คะแนนเฉลี่ยความมั่นใจในการปฏิบัติการพยาบาลบนหอผู้ป่วย ของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2 กลุ่มที่ใช้วีดิทัศน์แบบแผนการดูแลผู้ป่วยประจำวันร่วมกับการสอนตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3 ความพึงพอใจของการใช้ว๊ดิทัศน์แบบแผนการดูแลผู้ป่วยประจำวันในการเรียรการสอนภาคปฏิบัติการพยาบาลบนหอผู้ป่วย ของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2 อยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย = 3.39 SD = 0.68)
Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25013 [article] ผลของการใช้วีดิทัศน์แบบแผนการดูแลผู้ป่วยประจำวันต่อความมั่นใจในการปฏิบัติ : การพยาบาลบนหอผู้ป่วยและความพึงพอใจ ของนักศึกษาพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช [printed text] / อภิสรา จังพานิช, Author ; อรชร ศรีไทรล้วน, Author . - 2015 . - p.173-4.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.22 No.1 Jan-Jun 2015 [10/21/2015] . - p.173-4Keywords: การใช้วีดิทัศน์.การดูแลผู้ป่วยประจำวัน.คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์. Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งเชิงทดลอง (Quasi-experimental research) มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อเปรียบเทียบความมั่นใจในการปฏิบััติการพยาบาลบนหอผู้ป่วย ของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2 ก่อนและหลังการใช้วีดิทัศน์แบบแผนการดูแลผู้ป่วยประจำวันร่วมกับการสอนปกติ 2 เพื่อเปรียบเทียบความมั่นใจในการปฏิบัติการพยาบาลบนหอผู้ป่วย ของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2 กลุ่มที่ใช้วีดิทัศน์แบบแผนการดูแลผู้ป่วยประจำวันร่วมกับการสอนปกติ และกลุ่มที่ได้รับการสอนตามปกติ และ 3 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของการใช้วีดิทัศน์แบบแผนการดูแลผู้ป่วยประจำวันในการเรียนการสอนภาคปฏิบัติการพยาบาลบนหอผู้ป่วย ของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2 คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช โดยใช้กรอบแนวคิดทฤษฎีความสามารถของตนเองของอัลเบิรต์ แบนดูร่า และทฤษฎีการเรียนรู้ของบลูม กลุ่มตัวอย่างคือ นักศึกษาพยาบาลชั้นปี่ที่ 2 จำนวน 140 คน แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม และกลุ่มทดลองโดยการจับคู่ (Matched subjects) ด้วยการกำหนดคุณสมบัติให้มีความคล้ายคลึงกันจากคะแนนสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยตลอดปีการศึกาา (GPA) เก็บข้อมูลตั้งแต่เดือนตุลาคม-ธันวาคม 2557 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 1 วีดิทัศน์แบบแผนการดูแลผู้ป่วยประจำวัน 2 แบบสอบถามความมั่นใจในการปฏิบัติการพยาบาลหอผู้ป่วยและ 3 แบบสอบถามความพึงพอใจของการใช้วีดิทัศน์แบบแผนการดูแลผู้ป่วยประจำวันในการเรียนการสอนภาคปฏิบัติการพยาบาลบนหอผู้ป่วย ของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2 ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา จากผู้ทรงคุณวุฒิและมีค่าความเที่ยง จากผู้ทรงคุณวุฒิและมีค่าความเที่ยง ได้ค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่าของครอนบราค Cornbach's alpha coeffieient) เท่ากับ 0.87 และ0.95 ตามลำดับ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที ผลการวิจัย พบว่า คะแนนความมั่นใจในการปฏิบัติการพยาบาลบนหอผู้ป่วย ของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2 หลังใช้วีดิทัศน์แบบแผนการดูแลผู้ป่วยประจำวันร่วมกับการสอนตามปกติย่างมีนั้ยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .04 2. คะแนนเฉลี่ยความมั่นใจในการปฏิบัติการพยาบาลบนหอผู้ป่วย ของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2 กลุ่มที่ใช้วีดิทัศน์แบบแผนการดูแลผู้ป่วยประจำวันร่วมกับการสอนตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3 ความพึงพอใจของการใช้ว๊ดิทัศน์แบบแผนการดูแลผู้ป่วยประจำวันในการเรียรการสอนภาคปฏิบัติการพยาบาลบนหอผู้ป่วย ของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2 อยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย = 3.39 SD = 0.68)
Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25013 ศักยภาพโดดเด่นของผู้บริหารทางการพยาบาลระดับสูง โรงพยาบาลทั่วไป / พิลักษณ์ระวี ระหว่างบ้าน in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.22 No.1 Jan-Jun 2015 ([10/21/2015])
[article]
Title : ศักยภาพโดดเด่นของผู้บริหารทางการพยาบาลระดับสูง โรงพยาบาลทั่วไป Original title : The talented nurse executive general hospitals Material Type: printed text Authors: พิลักษณ์ระวี ระหว่างบ้าน, Author ; บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.35-47 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.22 No.1 Jan-Jun 2015 [10/21/2015] . - p.35-47Keywords: ศักยภาพโดดเด่น.ผู้บริหารทางการพยาบาลระดับสูงโรงพยาบาลทั่วไป. Contents note: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ศักยภาพโดดเด่นที่จำเป็นของผู้บริหารการพยาบาลระดับสูง โรงพยาบาลทั่วไป รวบรวมความคิดเห็นจากหัวหน้าพยาบาล และรองหัวหน้าพยาบาลโรงพยาบาลทั่วไป จำนวน 140 คน ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น โดยใช้แบบสอบถามมาตรประมาณค่า 5 ระดับ ซึ่งมีดัชนีความตรงตามเนื้อหาทั้งฉบับ (CVI) .91 และค่าความเที่ยงสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาค .97 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า ศักยภาพโดดเด่นที่จำเป็นของพยาบาลที่ปฏิบัติงานในตำแหน่งของผู้บริหารทางการพยาบาลระดับสูงโรงพยาบาลทั่วไป เรียงตามลำดับจากค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ การทำงานเป็นทีมและการสร้างเครือข่าย (Mean = 4.65 SD = .49) การสร้างแรงบันดาลใจตนเอง (Mean = 4.59 SD = .52) กลยุทธ์การจัดการและการบริหารจัดการผู้ที่มีศักยภาพโดดเด่น (Mean = 4.51 SD = .51) ความสามารถปฏิบัติงานที่ท้าาย (Mean = 4.51 SD =.52) การก้าวทันความรู้และเทคโนโลยีสมัยใหม่ (Mean = 4.38 SD =.55) และความคิดสร้างสรรค์ในการสร้างนวัตกรรม (Mean = 4.33 SD = .55) Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25014 [article] ศักยภาพโดดเด่นของผู้บริหารทางการพยาบาลระดับสูง โรงพยาบาลทั่วไป = The talented nurse executive general hospitals [printed text] / พิลักษณ์ระวี ระหว่างบ้าน, Author ; บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร, Author . - 2015 . - p.35-47.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.22 No.1 Jan-Jun 2015 [10/21/2015] . - p.35-47Keywords: ศักยภาพโดดเด่น.ผู้บริหารทางการพยาบาลระดับสูงโรงพยาบาลทั่วไป. Contents note: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ศักยภาพโดดเด่นที่จำเป็นของผู้บริหารการพยาบาลระดับสูง โรงพยาบาลทั่วไป รวบรวมความคิดเห็นจากหัวหน้าพยาบาล และรองหัวหน้าพยาบาลโรงพยาบาลทั่วไป จำนวน 140 คน ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น โดยใช้แบบสอบถามมาตรประมาณค่า 5 ระดับ ซึ่งมีดัชนีความตรงตามเนื้อหาทั้งฉบับ (CVI) .91 และค่าความเที่ยงสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาค .97 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า ศักยภาพโดดเด่นที่จำเป็นของพยาบาลที่ปฏิบัติงานในตำแหน่งของผู้บริหารทางการพยาบาลระดับสูงโรงพยาบาลทั่วไป เรียงตามลำดับจากค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ การทำงานเป็นทีมและการสร้างเครือข่าย (Mean = 4.65 SD = .49) การสร้างแรงบันดาลใจตนเอง (Mean = 4.59 SD = .52) กลยุทธ์การจัดการและการบริหารจัดการผู้ที่มีศักยภาพโดดเด่น (Mean = 4.51 SD = .51) ความสามารถปฏิบัติงานที่ท้าาย (Mean = 4.51 SD =.52) การก้าวทันความรู้และเทคโนโลยีสมัยใหม่ (Mean = 4.38 SD =.55) และความคิดสร้างสรรค์ในการสร้างนวัตกรรม (Mean = 4.33 SD = .55) Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25014 ผลของโปรแกรมการพยาบาลระบบสนับสนุนและให้ความรู้ต่อพฤติกรรมการดูแล / ดวงใจ สนิท in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.22 No.1 Jan-Jun 2015 ([10/21/2015])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการพยาบาลระบบสนับสนุนและให้ความรู้ต่อพฤติกรรมการดูแล : ของผู้ดูแลเด็กสมองพิการ Original title : Effect of a supportive-educative nursing program on caring behaviors among caregivers of children with Cerebral Pasly Material Type: printed text Authors: ดวงใจ สนิท, Author ; อาภาวรรณ หนูคง, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.60-81 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.22 No.1 Jan-Jun 2015 [10/21/2015] . - p.60-81Keywords: พฤติกรรมการดูแล.เด็กสมองพิการ.ผู้ดูแล.โปรแกรมการพยาบาลระบบสนับสนุนและให้ความรู้. Abstract: การศึกษานี้ เป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบหนึ่งกลุ่ม วัดผลก่อนและหลังการศึกษา เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการพยาบาลระบบสนับสนุนและให้ความรู้ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของทฤษฏีทางการพยาบาลของโอเร็ม เป็นกรอบแนวคิดในการดำเนินการวิจัย กิจกรรมประกอบด้วย การสอน การชี่แนะ การสนับสนุน และการจัดสิ่งแวดล้อม ในการดูแลเพื่อป้องกันโรคปอดอักเสบ ร่วมกันกับการนำบางส่วนของการเคลื่อนไหวแบบโดสะโฮมาใช้ในการส่งเสริมความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ และการป้องกันข้อติดแข็ง โปรแกรมดำเนินการโดยการสอนเป็นรายบุคคล การสธิต และการสาธิตย้อนกลับ การติดตามเยี่ยมบ้าน และการโทรศัพท์ติดตามเยี่ยม ระยะเวลารวม 3 สัปดาห์ กลุ่มตัวอย่างได้มาจากการเลือกแบบสะดวก เป็นผู้ดูแลเด็กสมองพิการที่มีอายุตั้งแต่ 6 เดือน - 14 ปี ที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลแบบผู้ป่วยในโรงพยาบาลระยอง จังหวัดระยอง มีประสบการณ์ในการดูแลเด็กสมองพิการอย่างน้อย. Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25015 [article] ผลของโปรแกรมการพยาบาลระบบสนับสนุนและให้ความรู้ต่อพฤติกรรมการดูแล = Effect of a supportive-educative nursing program on caring behaviors among caregivers of children with Cerebral Pasly : ของผู้ดูแลเด็กสมองพิการ [printed text] / ดวงใจ สนิท, Author ; อาภาวรรณ หนูคง, Author . - 2015 . - p.60-81.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.22 No.1 Jan-Jun 2015 [10/21/2015] . - p.60-81Keywords: พฤติกรรมการดูแล.เด็กสมองพิการ.ผู้ดูแล.โปรแกรมการพยาบาลระบบสนับสนุนและให้ความรู้. Abstract: การศึกษานี้ เป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบหนึ่งกลุ่ม วัดผลก่อนและหลังการศึกษา เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการพยาบาลระบบสนับสนุนและให้ความรู้ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของทฤษฏีทางการพยาบาลของโอเร็ม เป็นกรอบแนวคิดในการดำเนินการวิจัย กิจกรรมประกอบด้วย การสอน การชี่แนะ การสนับสนุน และการจัดสิ่งแวดล้อม ในการดูแลเพื่อป้องกันโรคปอดอักเสบ ร่วมกันกับการนำบางส่วนของการเคลื่อนไหวแบบโดสะโฮมาใช้ในการส่งเสริมความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ และการป้องกันข้อติดแข็ง โปรแกรมดำเนินการโดยการสอนเป็นรายบุคคล การสธิต และการสาธิตย้อนกลับ การติดตามเยี่ยมบ้าน และการโทรศัพท์ติดตามเยี่ยม ระยะเวลารวม 3 สัปดาห์ กลุ่มตัวอย่างได้มาจากการเลือกแบบสะดวก เป็นผู้ดูแลเด็กสมองพิการที่มีอายุตั้งแต่ 6 เดือน - 14 ปี ที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลแบบผู้ป่วยในโรงพยาบาลระยอง จังหวัดระยอง มีประสบการณ์ในการดูแลเด็กสมองพิการอย่างน้อย. Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25015 ผลของโปรแกรมการจัดสิ่งแวดล้อมที่บ้านร่วมกับการผ่อนคลายกล้ามเนื้อแบบก้าวหน้าต่อภาวะเครียดของผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม / กานดา วรคุณพิเศษ in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.22 No.1 Jan-Jun 2015 ([10/21/2015])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการจัดสิ่งแวดล้อมที่บ้านร่วมกับการผ่อนคลายกล้ามเนื้อแบบก้าวหน้าต่อภาวะเครียดของผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม Original title : The effect of home environmental arrangement and progressive muscle relaxation program on stress in progressive caregivers of older people with dementia Material Type: printed text Authors: กานดา วรคุณพิเศษ, Author ; ศิริพันธุ์ สาสัตย์, Author Publication Date: 2015 Article on page: pp.83-97 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.22 No.1 Jan-Jun 2015 [10/21/2015] . - pp.83-97Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาผลของโปรแกรมการจัดการสิ่งแวดล้อมที่บ้านร่วมกับการผ่อนคลายกล้ามเนื้อแบบก้าวหน้าต่อภาวะเครียดของผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีสมองเสื่อมมารับบริการที่สถาบันประสาทวิทยา จำนวน 40 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 20 คน จัดให้สองกลุ่มมีคุณสมบัติคล้ายคลึงกันในด้าน เพศ อายุ ระ Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25016 [article] ผลของโปรแกรมการจัดสิ่งแวดล้อมที่บ้านร่วมกับการผ่อนคลายกล้ามเนื้อแบบก้าวหน้าต่อภาวะเครียดของผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม = The effect of home environmental arrangement and progressive muscle relaxation program on stress in progressive caregivers of older people with dementia [printed text] / กานดา วรคุณพิเศษ, Author ; ศิริพันธุ์ สาสัตย์, Author . - 2015 . - pp.83-97.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.22 No.1 Jan-Jun 2015 [10/21/2015] . - pp.83-97Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาผลของโปรแกรมการจัดการสิ่งแวดล้อมที่บ้านร่วมกับการผ่อนคลายกล้ามเนื้อแบบก้าวหน้าต่อภาวะเครียดของผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีสมองเสื่อมมารับบริการที่สถาบันประสาทวิทยา จำนวน 40 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 20 คน จัดให้สองกลุ่มมีคุณสมบัติคล้ายคลึงกันในด้าน เพศ อายุ ระ Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25016