From this page you can:
Home |
วารสารพยาบาลทหารบก / สมาคมพยาบาลทหารบก . Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558Published date : 09/07/2015 |
Available articles
Add the result to your basketการประยุกต์ใช้การบำบัดแบบมุ่งเน้นคำตอบ / ชฎาภา ประเสริฐทรง in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 ([09/07/2015])
[article]
Title : การประยุกต์ใช้การบำบัดแบบมุ่งเน้นคำตอบ : ในการพยาบาลครอบครัว Original title : The applied solution focused brief therapy in family nursing Material Type: printed text Authors: ชฎาภา ประเสริฐทรง, Author Publication Date: 2015 Article on page: p1-7 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p1-7Keywords: การบำบัดแบบย่อที่มุ่งเน้นคำตอบ.การพยาบาลครอบครัว. Abstract: วัตถุประสงค์เพื่อนำการบำบัดแบบย่อที่มุ่งเน้นคำตอบมาประยุกต์ใช้ในการสื่อสารเพื่อการบำบัดในการพยาบาลครอบครัว โดยการนำเทคนิคคำถาม 3 ประการ ได้แก่ 1. คำถามปาฎิหารย์ 2. ข้อยกเว้น และ 3. คำถามที่มีระดับประเมินผล ซึ่งหากพยาบาลวิชาชีพได้ฝึกใช้จนชำนาญเป็นทักษะจะทำให้การพยาบาลครอบครัวมีประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์ต่อผู้ป่วย และครอบครัวอย่างแท้จริง Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24935 [article] การประยุกต์ใช้การบำบัดแบบมุ่งเน้นคำตอบ = The applied solution focused brief therapy in family nursing : ในการพยาบาลครอบครัว [printed text] / ชฎาภา ประเสริฐทรง, Author . - 2015 . - p1-7.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p1-7Keywords: การบำบัดแบบย่อที่มุ่งเน้นคำตอบ.การพยาบาลครอบครัว. Abstract: วัตถุประสงค์เพื่อนำการบำบัดแบบย่อที่มุ่งเน้นคำตอบมาประยุกต์ใช้ในการสื่อสารเพื่อการบำบัดในการพยาบาลครอบครัว โดยการนำเทคนิคคำถาม 3 ประการ ได้แก่ 1. คำถามปาฎิหารย์ 2. ข้อยกเว้น และ 3. คำถามที่มีระดับประเมินผล ซึ่งหากพยาบาลวิชาชีพได้ฝึกใช้จนชำนาญเป็นทักษะจะทำให้การพยาบาลครอบครัวมีประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์ต่อผู้ป่วย และครอบครัวอย่างแท้จริง Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24935 การสร้างเสริมสุขภาพของบุคลากรทางการพยาบาล / ศิริพร พุทธรังษี in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 ([09/07/2015])
[article]
Title : การสร้างเสริมสุขภาพของบุคลากรทางการพยาบาล : ในศตวรรษที่ 21 Original title : Health behavior health workplace and happy life among healthcare provider in the 21 century Material Type: printed text Authors: ศิริพร พุทธรังษี, Author ; ชวลี บุญโต, Author ; สายสมร เฉลยกิตติ, Author ; นุชรัตน์ มังคละคีรี, Author ; หทัยรัตน์ ชาวเอี่ยม, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.8-14 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.8-14Keywords: การสร้างเสริมสุขภาพ.บุคลากรทางการพยาบาล.ศตรวรรษที่ 21. Abstract: ปัญหาสุขภาพในศตวรรษที่ 21 มาพร้อมกับความเจริญด้านวัตถุ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้ประชาชนมีการดำเนินชีวิตที่ไม่ถูกต้อง เกิดปัญหาสุขภาพจากความอุดมสมบูรณ์ เป็นโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีและเหมาะสม จึงเป็นสิ่งที่ท้าท้ายของบุคลากรทางสุขภาพในการสร้างเสริมสุขภาวะให้ประชาชนในยุคนี้ แต่การที่บุคลากรทางสุขภาพจะสามารถดูแลผู้รับบริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ จะต้องสร้างเสริมสุขภาวะของตนเองก่อนเพื่อให้เป็นแบบอย่างและมีสุขภาพแข็งแรงพร้อมที่ให้บริการแก่ผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ บุคลากรทางการพยาบาลจึงควรนำความรู้มาใช้ในการสร้างเสริมสุขภาวะของตนเองโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทำงาน และพฤติกรรมสุขภาพทั้งเรื่องการรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย การพักผ่อนและการลดภาวะเครียด รวมทั้งการปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม เพื่อให้สุขภาพแข็งแรงสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นแบบอย่างที่ด และเป็นผู้นำในการสร้างเสริมสุขภาพให้กับประชาชน Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24936 [article] การสร้างเสริมสุขภาพของบุคลากรทางการพยาบาล = Health behavior health workplace and happy life among healthcare provider in the 21 century : ในศตวรรษที่ 21 [printed text] / ศิริพร พุทธรังษี, Author ; ชวลี บุญโต, Author ; สายสมร เฉลยกิตติ, Author ; นุชรัตน์ มังคละคีรี, Author ; หทัยรัตน์ ชาวเอี่ยม, Author . - 2015 . - p.8-14.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.8-14Keywords: การสร้างเสริมสุขภาพ.บุคลากรทางการพยาบาล.ศตรวรรษที่ 21. Abstract: ปัญหาสุขภาพในศตวรรษที่ 21 มาพร้อมกับความเจริญด้านวัตถุ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้ประชาชนมีการดำเนินชีวิตที่ไม่ถูกต้อง เกิดปัญหาสุขภาพจากความอุดมสมบูรณ์ เป็นโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีและเหมาะสม จึงเป็นสิ่งที่ท้าท้ายของบุคลากรทางสุขภาพในการสร้างเสริมสุขภาวะให้ประชาชนในยุคนี้ แต่การที่บุคลากรทางสุขภาพจะสามารถดูแลผู้รับบริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ จะต้องสร้างเสริมสุขภาวะของตนเองก่อนเพื่อให้เป็นแบบอย่างและมีสุขภาพแข็งแรงพร้อมที่ให้บริการแก่ผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ บุคลากรทางการพยาบาลจึงควรนำความรู้มาใช้ในการสร้างเสริมสุขภาวะของตนเองโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทำงาน และพฤติกรรมสุขภาพทั้งเรื่องการรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย การพักผ่อนและการลดภาวะเครียด รวมทั้งการปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม เพื่อให้สุขภาพแข็งแรงสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นแบบอย่างที่ด และเป็นผู้นำในการสร้างเสริมสุขภาพให้กับประชาชน Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24936 PPCT Model รูปแบบชีวนิเวศวิทยาเพื่อพัฒนาสุขภาพ / วรรณรัตน์ ลาวัง in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 ([09/07/2015])
[article]
Title : PPCT Model รูปแบบชีวนิเวศวิทยาเพื่อพัฒนาสุขภาพ : ผู้ที่มีภาวะเรื้่อรังในชุมชน Original title : PPCT Model bioecological model for developing health of people with chronic conditions in the community Material Type: printed text Authors: วรรณรัตน์ ลาวัง, Author ; รัชนี สรรเสริญ, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.15-20 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.15-20Keywords: รูปแบบชีวนิเวศวิทยา.บรอนเฟนแบรนเนอร์.การพัฒนาสุขภาพ.ผู้มีภาวะเจ็บป่วยเรื้่อรังชุมชน. Abstract: ภาวะเจ็บป่วยเรื้อรังเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญทั่วโลก การพัฒนาสุขภาพผู้มีภาวะเจ็บป่วยเรื้อรังระยะยาวในชุมชนจึงเป็นสิ่งที่จำเป็น บทความนี้ผู้เขียนได้นำเสนอรูปแบบชีวนิเวศวิทยาของบรอนเฟนเบรนเนอร์ ซึ่งมี 4 องค์ประกอบหลักที่สำคัญรวม เรียกว่า Process-Person-Context-Time Model (PPCT Model) โดย กระบวนการ สะท้อนการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่เป็นศูนย์กลางของระบบบริบทแวดล้อมรอบตีว สำหรับบุคคล ถูกวางให้เป็นศูนย์กลางของระบบส่วน บริบทแวดล้อม คือ สิ่งแวดล้อมที่อยู่ล้อมรอบ บุคคล มี 4 ระบบ ได้แก่ ระบบเล็ก กลาง นอก และระบบใหญ่ และเวลา เป็นองค์ประกอบสุดท้ายที่มีการเปลี่ยนแปลงพัฒนาของบุคคลได้ตลอดระยะเวลาภายใต้สภาพแวดล้อมทีี่มีรอบตัว ซึ่งรูปแบบนี้มีประโยชน์มากในการนำไปใช้เป็นกรอบแนสวคิดในการอธิบายปรากฎการณ์ที่ซับซ้อน และพัฒนากลยุทธ์การดูแลสุขภาพผู้มีภาวะเจ็บป่วยเรื้อรัง ดังนั้น พยาบาลและบุคลากรด้านสุขภาพควรได้นำรูปแบบดังกล่าวไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาการปฎิบัติงาน และการวิจัยดูแลผู้มีภาวะเรื้อรัง เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้มีภาวะเจ็บป่วยเรื้อรังในบริบทของครอบครัวและชุมชนต่อไป Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24937 [article] PPCT Model รูปแบบชีวนิเวศวิทยาเพื่อพัฒนาสุขภาพ = PPCT Model bioecological model for developing health of people with chronic conditions in the community : ผู้ที่มีภาวะเรื้่อรังในชุมชน [printed text] / วรรณรัตน์ ลาวัง, Author ; รัชนี สรรเสริญ, Author . - 2015 . - p.15-20.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.15-20Keywords: รูปแบบชีวนิเวศวิทยา.บรอนเฟนแบรนเนอร์.การพัฒนาสุขภาพ.ผู้มีภาวะเจ็บป่วยเรื้่อรังชุมชน. Abstract: ภาวะเจ็บป่วยเรื้อรังเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญทั่วโลก การพัฒนาสุขภาพผู้มีภาวะเจ็บป่วยเรื้อรังระยะยาวในชุมชนจึงเป็นสิ่งที่จำเป็น บทความนี้ผู้เขียนได้นำเสนอรูปแบบชีวนิเวศวิทยาของบรอนเฟนเบรนเนอร์ ซึ่งมี 4 องค์ประกอบหลักที่สำคัญรวม เรียกว่า Process-Person-Context-Time Model (PPCT Model) โดย กระบวนการ สะท้อนการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่เป็นศูนย์กลางของระบบบริบทแวดล้อมรอบตีว สำหรับบุคคล ถูกวางให้เป็นศูนย์กลางของระบบส่วน บริบทแวดล้อม คือ สิ่งแวดล้อมที่อยู่ล้อมรอบ บุคคล มี 4 ระบบ ได้แก่ ระบบเล็ก กลาง นอก และระบบใหญ่ และเวลา เป็นองค์ประกอบสุดท้ายที่มีการเปลี่ยนแปลงพัฒนาของบุคคลได้ตลอดระยะเวลาภายใต้สภาพแวดล้อมทีี่มีรอบตัว ซึ่งรูปแบบนี้มีประโยชน์มากในการนำไปใช้เป็นกรอบแนสวคิดในการอธิบายปรากฎการณ์ที่ซับซ้อน และพัฒนากลยุทธ์การดูแลสุขภาพผู้มีภาวะเจ็บป่วยเรื้อรัง ดังนั้น พยาบาลและบุคลากรด้านสุขภาพควรได้นำรูปแบบดังกล่าวไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาการปฎิบัติงาน และการวิจัยดูแลผู้มีภาวะเรื้อรัง เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้มีภาวะเจ็บป่วยเรื้อรังในบริบทของครอบครัวและชุมชนต่อไป Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24937 การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิตสำหรับ / สกาวเนตร ไทรแจ่มจันทร์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 ([09/07/2015])
[article]
Title : การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิตสำหรับ : นักเรียนพยาบาลทหารอากาศ Original title : A development of training program to enhance life skills for the Royal Thai Air Force nursing students Material Type: printed text Authors: สกาวเนตร ไทรแจ่มจันทร์, Author ; จารุวรรณ สกุลคู, Author ; อรรณพ โพธิสุข, Author ; จตุุพล ยงศร, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.21-29 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.21-29Keywords: ทักษะชีวิต.หลักสุตรการฝึกอบรม.การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน.นักเรียนพยาบาลทหารอากาศ.การพัฒนาหลักสูตร. Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.ศึกษาองค์ประกอบทักษะชีวิตของนักเรียนพยาบาล สังกัดกระทรวง
กลาโหม 2. เพื่อพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิตสำหรับนักเรียนพยาบาลทหารอากาศ และ 3.เพื่อศึกษาประสิทธภาพของหลักสูตรเพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิตสำหรับนักเรียนพยาบาลทหารอากาศ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ 1. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาองค์ประกอบทักษะชีวิตของนักเรียนพยาบาล สังกัดกระทรวงกลาโหม ปีการศึกษา 2556 ได้มาจากการสุ่มกลุ่มตัวอย่างง่าย จำนวน 516 คน 2. กลุ่มตัวอย่างที่ผู้วิจัยใช้ในการศึกษาประสิทธิภาพของหลักสูตรอบรมเพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิตสำหรับนักเรียนพยาบาลทหารอากาศ เป็นนักเรียนพยาบาลทหารอากาศ ชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษา 2556 จำนวน 45 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามทักษะชีวิต หลักสูตรฝึกอบรม แบบสอบถามความพึวพอใจต่อหลักสูตรฝึกอบรม วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยวเบนมาตรฐาน การทดสอบที และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน ผลการศึกษา ค้นพบองค์ประกอบทักษะชีวิตของนักเรียนพยาบาล สังกัดกระทรวงกลาโหม ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ การตระหนักรู้ในตนเอง การแก้ปัญหา การจัดการอารมณ์ การเห็นอกแห็นใจผู้อืาน และการสร้างสัมพันธภาพระหว่างบุคคล มีค่าความเหมาะสมพอดีกับข้อมูลเชิงประจักษ์ มีน้ำหนักองค์ประกอบมาตรฐานอยู่ในเกณฑ์สูง อย่างมีนัยสำคัญทางสิถิติที่ระดับ.05 และสามารถวัดองค์ประกอบของทักษะชีวิตของนักเรียนพยาบาลได้ สำหรับหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิตสำหรับนักเรียนพยาบาลทหารอากาศ ประกอบด้วย 4 ด้าน ได้แก่ 1. วัตถุประสงค์ของหลักสูตรฝึกอบรม 2. โครงสร้างเนื้อหาสาระหลักสูตรฝึกอบรม 3. วิธีดำเนินการฝึกอบรม และ 4. การวัดและประเมินผลการฝึกอบรม หลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิตสำหรับนักเรียนพยาบาลทหารอากาศที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีคุณภาพดี และมีความเหมาะสมสามารถนำไปใช้ในการฝึกอบรม เพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิตได้ โดยพิจารณาจากผลค่าคะแนนเฉลี่ยทักษะชีวิตของกลุ่มตัวอย่างหลักงการฝึกอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 แสดงว่าการฝึกอบรมมีผลทำให้ทักษะชีวิตของนักเรียนพยาบาลทหารอากาศเพิ่มขึ้ร และผลคะแนนความพึงพอใจต่อหลักูตรฝึกอบรม เพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิตสำหรับนักเรียนพยาบาลทหารอากาศ พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.31 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.66Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24938 [article] การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิตสำหรับ = A development of training program to enhance life skills for the Royal Thai Air Force nursing students : นักเรียนพยาบาลทหารอากาศ [printed text] / สกาวเนตร ไทรแจ่มจันทร์, Author ; จารุวรรณ สกุลคู, Author ; อรรณพ โพธิสุข, Author ; จตุุพล ยงศร, Author . - 2015 . - p.21-29.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.21-29Keywords: ทักษะชีวิต.หลักสุตรการฝึกอบรม.การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน.นักเรียนพยาบาลทหารอากาศ.การพัฒนาหลักสูตร. Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.ศึกษาองค์ประกอบทักษะชีวิตของนักเรียนพยาบาล สังกัดกระทรวง
กลาโหม 2. เพื่อพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิตสำหรับนักเรียนพยาบาลทหารอากาศ และ 3.เพื่อศึกษาประสิทธภาพของหลักสูตรเพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิตสำหรับนักเรียนพยาบาลทหารอากาศ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ 1. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาองค์ประกอบทักษะชีวิตของนักเรียนพยาบาล สังกัดกระทรวงกลาโหม ปีการศึกษา 2556 ได้มาจากการสุ่มกลุ่มตัวอย่างง่าย จำนวน 516 คน 2. กลุ่มตัวอย่างที่ผู้วิจัยใช้ในการศึกษาประสิทธิภาพของหลักสูตรอบรมเพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิตสำหรับนักเรียนพยาบาลทหารอากาศ เป็นนักเรียนพยาบาลทหารอากาศ ชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษา 2556 จำนวน 45 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามทักษะชีวิต หลักสูตรฝึกอบรม แบบสอบถามความพึวพอใจต่อหลักสูตรฝึกอบรม วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยวเบนมาตรฐาน การทดสอบที และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน ผลการศึกษา ค้นพบองค์ประกอบทักษะชีวิตของนักเรียนพยาบาล สังกัดกระทรวงกลาโหม ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ การตระหนักรู้ในตนเอง การแก้ปัญหา การจัดการอารมณ์ การเห็นอกแห็นใจผู้อืาน และการสร้างสัมพันธภาพระหว่างบุคคล มีค่าความเหมาะสมพอดีกับข้อมูลเชิงประจักษ์ มีน้ำหนักองค์ประกอบมาตรฐานอยู่ในเกณฑ์สูง อย่างมีนัยสำคัญทางสิถิติที่ระดับ.05 และสามารถวัดองค์ประกอบของทักษะชีวิตของนักเรียนพยาบาลได้ สำหรับหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิตสำหรับนักเรียนพยาบาลทหารอากาศ ประกอบด้วย 4 ด้าน ได้แก่ 1. วัตถุประสงค์ของหลักสูตรฝึกอบรม 2. โครงสร้างเนื้อหาสาระหลักสูตรฝึกอบรม 3. วิธีดำเนินการฝึกอบรม และ 4. การวัดและประเมินผลการฝึกอบรม หลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิตสำหรับนักเรียนพยาบาลทหารอากาศที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีคุณภาพดี และมีความเหมาะสมสามารถนำไปใช้ในการฝึกอบรม เพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิตได้ โดยพิจารณาจากผลค่าคะแนนเฉลี่ยทักษะชีวิตของกลุ่มตัวอย่างหลักงการฝึกอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 แสดงว่าการฝึกอบรมมีผลทำให้ทักษะชีวิตของนักเรียนพยาบาลทหารอากาศเพิ่มขึ้ร และผลคะแนนความพึงพอใจต่อหลักูตรฝึกอบรม เพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิตสำหรับนักเรียนพยาบาลทหารอากาศ พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.31 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.66Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24938 การศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ / ปราณี อ่อนศรี in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 ([09/07/2015])
[article]
Title : การศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ : ที่มีต่อการให้บริการของหน่วยเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ รพ. พระมงกุฎเกล้า Original title : The Association between factors and clients' satisfaction toward computer tomography unit service Phramongkutklao hospital Material Type: printed text Authors: ปราณี อ่อนศรี, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.30-40 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.30-40Keywords: ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ.หน่วยเอกซเรย์คอมพิวเตอร์. Abstract: ศึกษาความพึงพอใจ และปััจจัยที่มีความสัมพันธ์กัลความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ที่มีต่อการให้บริการของหน่วยเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ กลุ่มตัวอย่างที่เข้ามารับการตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ในโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าในช่วงเดือนสิงหาคม ปี 2557 จำนวน 142 คน เครื่องมือวิจัยคือ แบบสอบถามและคำถามปลายเปิดวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะหฺ์ความสัมพันธ์ด้วยไคสแควร์ สหสัมพันธ์แบบเพียรสัน และใช้การวิเคราะห์เนื้อ ผลการวิจัย พบว่า ในภาพรวมความพึงพอใจจากผู้ใช้บริการที่มีต่อบริการของหน่วยเอกซเรย์คอมพิวเตอร์อยู่ในระดับมาก ในด้านอัธยาศัยและความสนใจต่อผู้ใช้บริการมีค่าเฉลี่ยสูงสุด (Mean 4.57, SD 0.05) ส่วนในด้านค่าใช้จ่ายมีค่าเฉลี่ยต่ำสุด (Mean 4.18, SD 0.03) ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพ อาชีพ รายได้ สิทธิการรักษา และโรคประจำตัว ไม่มีความสัมพัยธ์กับความพึงพอใจของผู้บริการที่มีต่อการให้บริการของหน่วยเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ พบว่า ระดับความพึงพอใจในคุณภาพชีวิตมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ (r=.258) ผู้ใช้บริการมีความเห็นว่าจุดเด่นของบริการหน่วยเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ ได้แก่ อัธยาศัยและความสนใจของเจ้าหน้าที่ คุณภาพบริการ และความสะอาดของสถานที่ ข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนา ปรับปรุงให้สามารถให้บริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่ จัดเจ้าหน้าที่ให้เพียงพอ ระบบการนัดที่รวดเร็ว รสชาติสารละลายที่ดื่ม และ การพัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่
ในภาพรวมความพึงพอใจจากผู้ใช้บริการที่มีต่อบริการของหน่วยเอกซเรย์คอมพิวเตอร์อยู่ในระดับมาก อย่างไรก็ตามมีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับเจ้าหน้าที่ คุณภาพบริการ ซึ่งหน่วยงานควรนำมาเป็นข้อมูลเพื่อการพัฒนาและช่วยให้การไปปฎิบัติงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24939 [article] การศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ = The Association between factors and clients' satisfaction toward computer tomography unit service Phramongkutklao hospital : ที่มีต่อการให้บริการของหน่วยเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ รพ. พระมงกุฎเกล้า [printed text] / ปราณี อ่อนศรี, Author . - 2015 . - p.30-40.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.30-40Keywords: ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ.หน่วยเอกซเรย์คอมพิวเตอร์. Abstract: ศึกษาความพึงพอใจ และปััจจัยที่มีความสัมพันธ์กัลความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ที่มีต่อการให้บริการของหน่วยเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ กลุ่มตัวอย่างที่เข้ามารับการตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ในโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าในช่วงเดือนสิงหาคม ปี 2557 จำนวน 142 คน เครื่องมือวิจัยคือ แบบสอบถามและคำถามปลายเปิดวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะหฺ์ความสัมพันธ์ด้วยไคสแควร์ สหสัมพันธ์แบบเพียรสัน และใช้การวิเคราะห์เนื้อ ผลการวิจัย พบว่า ในภาพรวมความพึงพอใจจากผู้ใช้บริการที่มีต่อบริการของหน่วยเอกซเรย์คอมพิวเตอร์อยู่ในระดับมาก ในด้านอัธยาศัยและความสนใจต่อผู้ใช้บริการมีค่าเฉลี่ยสูงสุด (Mean 4.57, SD 0.05) ส่วนในด้านค่าใช้จ่ายมีค่าเฉลี่ยต่ำสุด (Mean 4.18, SD 0.03) ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพ อาชีพ รายได้ สิทธิการรักษา และโรคประจำตัว ไม่มีความสัมพัยธ์กับความพึงพอใจของผู้บริการที่มีต่อการให้บริการของหน่วยเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ พบว่า ระดับความพึงพอใจในคุณภาพชีวิตมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ (r=.258) ผู้ใช้บริการมีความเห็นว่าจุดเด่นของบริการหน่วยเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ ได้แก่ อัธยาศัยและความสนใจของเจ้าหน้าที่ คุณภาพบริการ และความสะอาดของสถานที่ ข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนา ปรับปรุงให้สามารถให้บริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่ จัดเจ้าหน้าที่ให้เพียงพอ ระบบการนัดที่รวดเร็ว รสชาติสารละลายที่ดื่ม และ การพัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่
ในภาพรวมความพึงพอใจจากผู้ใช้บริการที่มีต่อบริการของหน่วยเอกซเรย์คอมพิวเตอร์อยู่ในระดับมาก อย่างไรก็ตามมีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับเจ้าหน้าที่ คุณภาพบริการ ซึ่งหน่วยงานควรนำมาเป็นข้อมูลเพื่อการพัฒนาและช่วยให้การไปปฎิบัติงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24939 การประเมินหลักสูตรพยาบาลกู้ชีพของคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ / บุญทิวา สู่วิทย์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 ([09/07/2015])
[article]
Title : การประเมินหลักสูตรพยาบาลกู้ชีพของคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ : มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช Original title : An Evaluation of emergency medical service nursing course of Kuakarun Faculty of nursing Navamindradhiraj university Material Type: printed text Authors: บุญทิวา สู่วิทย์, Author ; เสาวลักษณ์ ทำมาก, Author ; นิรมนต์ เหลาสุภาพ, Author ; พิสมัย พิทักษาวราการ, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.41-49 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.41-49Keywords: การประเมินหลักสูตร.พยาบาลกู้ชีพ.คณะพยาบาลศาสตร์ เกื้อการุณย์ Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินหลักสูตรพยาบาลกู้ชีพของคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณยื มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ในด้านบริบท ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และผลผลิต โดยกลุ่มตัวอย่างคือ ผู้เข้ารับการอบรมรุ่นทีี่ 1 และ 2 ในปี พ.ศ. 2557 จำนวน 62 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรพยาบาลกู้ชีพของคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา (content validity) โดยคำนวณหาค่า IOC (Index of Item Objective Congruence) ได้ค่า = 0.67 -1 นำมาหาค่าความเชื่อมั่น (reliability) ของแบบสอบถาม โดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟา (Conbach's Alpha Coefficient) ได้ค่าความเชื่อมั่น = 0.81 ส่วนแบบวัดความรู้เกี่ยวกับการพยาบาลกู้ชีพเป็นข้อสอบแบบเลือกตอบนำมาคำนวณหาค่าความเชื่อมั่นโดยใช้สูตร KR-20 ของรุ่นที่ 1 และ 2 ได้ค่า = 0.57, 0.66 จากนั้นวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติ t-test แบบ dependent ผลการวิจัย พบว่า ความคิดเห็นต่อหลักสูตรพยาบาลกู้ชีพของผู้เข้ารับการอบรมรุ่นที่ 1 และ 2 ในปี พ.ศ. 2557 ทุกด้าน คือ ด้านบริบท ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และผลผลิต อยู่ในระดับมาก โดยกระบวนการ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ค่า (Mean 4.69, SD 0.56) และ ค่า (Mean 4.54, SD 0.50) รองลงมาคือ ด้านบริบท (Mean 4.51, SD 047 และ Mean 4.36, SD 0.41) ผลผลิต (Mean 4.28, SD 0.55 และ Mean 4.33, SD 0.45) และปัจจัยนำเข้าตามลำดับ (Mean 3.97, SD 0.37 และ Mean 3.99, SD 0.45) สำหรับความรู้เกี่ยวกับการพยาบาลกู้ชีพพบว่า หลังการอบรมผู้เข้ารับการอบรมมีความรุ้เกี่ยวกับการพยาบาลกู้ชีพสูงกว่าก่อนเข้ารับการอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 อย่างไรก็ตามผู้เข้ารับการอบรมได้แนะว่า ควรเพิ่มระยะเวลาการอบรม ความรู้ และทัักษะการพยาบาลกู้ชีพในเด็ก ซึ่งผู้รับผิดชอบหลักสูตรควรนำมาเป็นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24940 [article] การประเมินหลักสูตรพยาบาลกู้ชีพของคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ = An Evaluation of emergency medical service nursing course of Kuakarun Faculty of nursing Navamindradhiraj university : มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช [printed text] / บุญทิวา สู่วิทย์, Author ; เสาวลักษณ์ ทำมาก, Author ; นิรมนต์ เหลาสุภาพ, Author ; พิสมัย พิทักษาวราการ, Author . - 2015 . - p.41-49.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.41-49Keywords: การประเมินหลักสูตร.พยาบาลกู้ชีพ.คณะพยาบาลศาสตร์ เกื้อการุณย์ Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินหลักสูตรพยาบาลกู้ชีพของคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณยื มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ในด้านบริบท ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และผลผลิต โดยกลุ่มตัวอย่างคือ ผู้เข้ารับการอบรมรุ่นทีี่ 1 และ 2 ในปี พ.ศ. 2557 จำนวน 62 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรพยาบาลกู้ชีพของคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา (content validity) โดยคำนวณหาค่า IOC (Index of Item Objective Congruence) ได้ค่า = 0.67 -1 นำมาหาค่าความเชื่อมั่น (reliability) ของแบบสอบถาม โดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟา (Conbach's Alpha Coefficient) ได้ค่าความเชื่อมั่น = 0.81 ส่วนแบบวัดความรู้เกี่ยวกับการพยาบาลกู้ชีพเป็นข้อสอบแบบเลือกตอบนำมาคำนวณหาค่าความเชื่อมั่นโดยใช้สูตร KR-20 ของรุ่นที่ 1 และ 2 ได้ค่า = 0.57, 0.66 จากนั้นวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติ t-test แบบ dependent ผลการวิจัย พบว่า ความคิดเห็นต่อหลักสูตรพยาบาลกู้ชีพของผู้เข้ารับการอบรมรุ่นที่ 1 และ 2 ในปี พ.ศ. 2557 ทุกด้าน คือ ด้านบริบท ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และผลผลิต อยู่ในระดับมาก โดยกระบวนการ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ค่า (Mean 4.69, SD 0.56) และ ค่า (Mean 4.54, SD 0.50) รองลงมาคือ ด้านบริบท (Mean 4.51, SD 047 และ Mean 4.36, SD 0.41) ผลผลิต (Mean 4.28, SD 0.55 และ Mean 4.33, SD 0.45) และปัจจัยนำเข้าตามลำดับ (Mean 3.97, SD 0.37 และ Mean 3.99, SD 0.45) สำหรับความรู้เกี่ยวกับการพยาบาลกู้ชีพพบว่า หลังการอบรมผู้เข้ารับการอบรมมีความรุ้เกี่ยวกับการพยาบาลกู้ชีพสูงกว่าก่อนเข้ารับการอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 อย่างไรก็ตามผู้เข้ารับการอบรมได้แนะว่า ควรเพิ่มระยะเวลาการอบรม ความรู้ และทัักษะการพยาบาลกู้ชีพในเด็ก ซึ่งผู้รับผิดชอบหลักสูตรควรนำมาเป็นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24940 ประสบการณ์การดูแลเท้าของทหารที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 / อัทคพล มลอา in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 ([09/07/2015])
[article]
Title : ประสบการณ์การดูแลเท้าของทหารที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 : ที่มีภาวะแทรกซ้อนที่เท้า Original title : The experiences of foot care in type 2 diabetes Mellitus soldiers with foot complications Material Type: printed text Authors: อัทคพล มลอา, Author ; กนกพร นทีธนสมบัติ, Author ; ชฎาภา ประเสิรฐทรง, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.50-58 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.50-58Keywords: ประสบการณ์การดูแลเท้า.โรคเบาหวานชนิดที่ 2.ภาวะแทรกซ้อนที่เท้า. Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาประสบการณ์การดูแลเท้าของทหารที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 และมีภาวะแทรกซ้อนทีี่เท้า เข้ารับการรักษาในคลิกนิกเบาหวานในโรงพยาบาบค่ายพ่อขุนผาเมือง ผู้เข้าร่วมวิจัยจำนวน 10 คน ได้รับการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง ตามเกณฑ์ที่กำหนดดังนี้ เป็นทหารที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่า เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และมีภาวะแทรกซ้อนที่เท้า อย่างน้อย 1 อาการ ได้แก่ ชาเท้า ปวดที่เท้าโดยอาจปวดขณะเดิน หรือขณะพัก การรับรู้ความรู้สึกต่าง ๆ ที่เท้าลดลง มีแผลที่เท้า ความผิดปกติของรูปร่างเท้า สามารถสื่อสารด้วยภาษาไทย และยินดีเข้าร่วมการวิจัย เก็บรวบรวมข้อมูลตั้งแต่วันที่ 19 พ.ค - 30 ก.ย 2557 โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม การบันทึกภาคสนาม และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยจำแนกออกเป็น 4 ประเด็น หลัก คือ 1). การรับรู้เมื่อมีความผิดปกติเกิดขึ้นที่เท้า ประกอบด้วย 4 ประเด็น ได้แก่ 1.1 อาการและอาการแสดงของความผิดปกติที่เท้า 1.2 สมรรถนะของการเป็นทหารลดลง 1.3 ขาดความมั่นใจในการดูแลเท้า และ 1.4 รู้สึกเป็นภาระของครอบครัว 2). การดูแลเท้า ประกอบด้วย 5 ประเด็นรอง ได้แก่ 2.1 การป้องกันการเกิดแผลที่เท้า 2.2 การส่งเสริมการไหลเวียนเลือดที่เท้า 2.3 การดูแลรักษาบาดแผลที่เท้า 2.4 การค้นความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับเท้า และ 2.5 การบรรเทาอาการปวดและชาที่เท้า 3).ปัญหาในการดูแลเท้า ประกอบด้วย 4 ประเด็นรอง ได้แก่ 3.1 ความรับผิดชอบในหน้าที่ 3.2 รองเท้าคอมแบท 3.3 การรักษาไม่ต่อเนื่อง 3.4 ไม่สามารถตราจเท้าได้ 4. ความต้องการความช่วยเหลือในการดูแลเท้า ประกอบด้วย 4 ประเด็นรอง ได้แก่ รองเท้าคอมแบดที่ตัดพิเศษเฉพาะทหารที่ป่วยเบาหวาน 4.2 คู่มือการดูแลเท้าสำหรับที่เป็นเบาหวาน 4.3 จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้ประสบการณ์การดูแลเท้า และ 4.4 การดูแลต่อเนื่องที่บ้านจากบุคคลบุคลากรทางการแพทย์
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24941 [article] ประสบการณ์การดูแลเท้าของทหารที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 = The experiences of foot care in type 2 diabetes Mellitus soldiers with foot complications : ที่มีภาวะแทรกซ้อนที่เท้า [printed text] / อัทคพล มลอา, Author ; กนกพร นทีธนสมบัติ, Author ; ชฎาภา ประเสิรฐทรง, Author . - 2015 . - p.50-58.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.50-58Keywords: ประสบการณ์การดูแลเท้า.โรคเบาหวานชนิดที่ 2.ภาวะแทรกซ้อนที่เท้า. Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาประสบการณ์การดูแลเท้าของทหารที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 และมีภาวะแทรกซ้อนทีี่เท้า เข้ารับการรักษาในคลิกนิกเบาหวานในโรงพยาบาบค่ายพ่อขุนผาเมือง ผู้เข้าร่วมวิจัยจำนวน 10 คน ได้รับการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง ตามเกณฑ์ที่กำหนดดังนี้ เป็นทหารที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่า เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และมีภาวะแทรกซ้อนที่เท้า อย่างน้อย 1 อาการ ได้แก่ ชาเท้า ปวดที่เท้าโดยอาจปวดขณะเดิน หรือขณะพัก การรับรู้ความรู้สึกต่าง ๆ ที่เท้าลดลง มีแผลที่เท้า ความผิดปกติของรูปร่างเท้า สามารถสื่อสารด้วยภาษาไทย และยินดีเข้าร่วมการวิจัย เก็บรวบรวมข้อมูลตั้งแต่วันที่ 19 พ.ค - 30 ก.ย 2557 โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม การบันทึกภาคสนาม และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยจำแนกออกเป็น 4 ประเด็น หลัก คือ 1). การรับรู้เมื่อมีความผิดปกติเกิดขึ้นที่เท้า ประกอบด้วย 4 ประเด็น ได้แก่ 1.1 อาการและอาการแสดงของความผิดปกติที่เท้า 1.2 สมรรถนะของการเป็นทหารลดลง 1.3 ขาดความมั่นใจในการดูแลเท้า และ 1.4 รู้สึกเป็นภาระของครอบครัว 2). การดูแลเท้า ประกอบด้วย 5 ประเด็นรอง ได้แก่ 2.1 การป้องกันการเกิดแผลที่เท้า 2.2 การส่งเสริมการไหลเวียนเลือดที่เท้า 2.3 การดูแลรักษาบาดแผลที่เท้า 2.4 การค้นความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับเท้า และ 2.5 การบรรเทาอาการปวดและชาที่เท้า 3).ปัญหาในการดูแลเท้า ประกอบด้วย 4 ประเด็นรอง ได้แก่ 3.1 ความรับผิดชอบในหน้าที่ 3.2 รองเท้าคอมแบท 3.3 การรักษาไม่ต่อเนื่อง 3.4 ไม่สามารถตราจเท้าได้ 4. ความต้องการความช่วยเหลือในการดูแลเท้า ประกอบด้วย 4 ประเด็นรอง ได้แก่ รองเท้าคอมแบดที่ตัดพิเศษเฉพาะทหารที่ป่วยเบาหวาน 4.2 คู่มือการดูแลเท้าสำหรับที่เป็นเบาหวาน 4.3 จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้ประสบการณ์การดูแลเท้า และ 4.4 การดูแลต่อเนื่องที่บ้านจากบุคคลบุคลากรทางการแพทย์
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24941 ความต้องการพัฒนาความสามารถของอาสาสมัครสาธราณสุข / เวหา เกษมสุข in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 ([09/07/2015])
[article]
Title : ความต้องการพัฒนาความสามารถของอาสาสมัครสาธราณสุข : ในการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน Original title : The need to improve of health volunteer's ability in home visit for diabetes people in commuities Material Type: printed text Authors: เวหา เกษมสุข, Author ; รักชนก คชไกร, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.59-68 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.59-68Abstract: เพื่อศึกษาความต้องการพัฒนาความสามารถของอาสาสมัครสาธารณสุข (อสส.) ในการเยี่ยมบ้านผู้เป็นเบาหวาน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสนทนากลุ่ม ผู้ให้ข้อมูลหลักคือ ออส. จำนวน 30 คน โดยใช้เครื่องมือแนวคำถามความต้องการในการพัฒนาศักยภาพของ ออส. การสังเกต และบันทึกภาคสนาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า อสส. ขาดความรู้ และไม่มั่นใจในการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยเบาหวาน ออส. ต้องการพัฒนาศักยภาพและความสามารถอย่างต่อเนื่องในการให้ความรู้เรื่องเบาหวาน การฉีดอินซูลิน การเจาะน้ำตาลปลายนิ้ว การออกกำลังกาย การพักผ่อน การควบคุมอาหาร การใช้สมุนไพร อสส. มีความต้องการ และเสนอแนะรูปแบบการพัฒนาศักยภาพ คือ การจัดอบรมแก่ อสส. อย่างต่อเนื่อง จัดประชุม อสส. จากหลาย ๆ ชุมชนเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ การจัดให้มีอุปกรณ์สำหรับการดูแลผู้เป็นเบาหวานที่บ้าน มีการสอนและทบทวนความรู้และการใช้อยู่เสมอ
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24942 [article] ความต้องการพัฒนาความสามารถของอาสาสมัครสาธราณสุข = The need to improve of health volunteer's ability in home visit for diabetes people in commuities : ในการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน [printed text] / เวหา เกษมสุข, Author ; รักชนก คชไกร, Author . - 2015 . - p.59-68.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.59-68Abstract: เพื่อศึกษาความต้องการพัฒนาความสามารถของอาสาสมัครสาธารณสุข (อสส.) ในการเยี่ยมบ้านผู้เป็นเบาหวาน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสนทนากลุ่ม ผู้ให้ข้อมูลหลักคือ ออส. จำนวน 30 คน โดยใช้เครื่องมือแนวคำถามความต้องการในการพัฒนาศักยภาพของ ออส. การสังเกต และบันทึกภาคสนาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า อสส. ขาดความรู้ และไม่มั่นใจในการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยเบาหวาน ออส. ต้องการพัฒนาศักยภาพและความสามารถอย่างต่อเนื่องในการให้ความรู้เรื่องเบาหวาน การฉีดอินซูลิน การเจาะน้ำตาลปลายนิ้ว การออกกำลังกาย การพักผ่อน การควบคุมอาหาร การใช้สมุนไพร อสส. มีความต้องการ และเสนอแนะรูปแบบการพัฒนาศักยภาพ คือ การจัดอบรมแก่ อสส. อย่างต่อเนื่อง จัดประชุม อสส. จากหลาย ๆ ชุมชนเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ การจัดให้มีอุปกรณ์สำหรับการดูแลผู้เป็นเบาหวานที่บ้าน มีการสอนและทบทวนความรู้และการใช้อยู่เสมอ
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24942 การศึกษาตัวชี้บ่งการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับกองและภาควิชากองการศึกษา / ศิริพร พูนชัย in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 ([09/07/2015])
[article]
Title : การศึกษาตัวชี้บ่งการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับกองและภาควิชากองการศึกษา : วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก Material Type: printed text Authors: ศิริพร พูนชัย, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.69-78 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.69-78Keywords: ตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษา.กองการศึกษา.วิทยาลัยพยาบาลทหารบก.การประเมินคุณภาพการศึกษา. Abstract: การวจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา คัดสรร และสร้างตัวบ่งชี้การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับกอง และภาควิชาของกองการศึกษา วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก วิธีการดำเนินการวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฎิบัติการแบบมีส่วนร่วมแบ่งเป็น 2 ระยะ คือ 1 การศึกษา คัดสรร และสร้างตัวบ่งชี้และระยะที่ 2 การตรวจสอบคุณภาพและทดลองใช้ตัวบ่งชี้ผู้เข้าร่วมในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารและอาจารย์ กองการศึกษา วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก จำนวนทั้งสิ้น 40 คน วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลใช้ในการศึกษาเอกสาร การสนทนากลุ่มผู้บริหาร และการสำรวจความคิดเห็นของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยมี 2 ชุด ได้แก่ 1 แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างสำหรับการสนทนากลุ่ม และ 2 แบบสำรวจความคิดเห็นต่อ (ร่าง) ตัวบ่งชี้การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้่อหา และการวิเคราะห์หาค่าดัชนีความคิดเห็นสอดคล้องตรงกันผลการศึกษา พบว่า กองการศึกษาควรดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายในให้ครบถ้วนทั้ง 9 ประกอบ ทั้งในระดับกอง และระดับภาควิชา โดยควรคัดสรรมาจากตัวบ่งชี้ในระดับวิทยาลัยและเห็นด้วยกับการนำเกณฑ์รับรองสถาบันของสภาการพยาบาลและตัวบ่งชี้ของการประกันคุณภาพหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนของมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีสาขาพยาบาลศาสตร์ มาใช้ในการสร้างเป็นตัวบ่งชี้เพิ่มเติมให้สอดคล้องกับการดำเนินงานของกองการศึกษา ตัวบ่งขี้ในระดับกองมี 34 ตัวบ่งชี้ และระดับภาควิชามั 25 ร้อยละ 62.50 ส่วนที่มาของตัวบ่งชี้มาจากตัวบ่งชี้ระดับวิทยาลัยมากที่สุดในระดับกอง คิดเป็นร้อยละ 75.00 ผลการตรวจสอบคุณภาพของร่างตัวบ่งชี้การประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญ IOC มากกว่า 0.70 ในทุกผลการทดลองใช้ พบว่า ตัวบ่งชี้ส่วนใหญ่มีค่าดัชนีความคิดเห็นสอดคล้องตรงกันในระดับปานกลางขึ้นไป ผลการทดลองใช้ พบว่า ทั้งในระดับกองและภาควิชาสามารถเขียนรายงานและประเมินตนเองได้ในทุกตัวบ่งชี้ ส่วนการเปรียบเทียบผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินผลการประเมินตนอง พบว่า ในระดับกองมีความสอดคล้องกันคิดเป็นร้อยละ 94.28 ส่วนในระดับภาควิชา มีึว่ามสอดคล้องกันคิดเป็นร้อยละ 96.0 Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24954 [article] การศึกษาตัวชี้บ่งการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับกองและภาควิชากองการศึกษา : วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก [printed text] / ศิริพร พูนชัย, Author . - 2015 . - p.69-78.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.69-78Keywords: ตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษา.กองการศึกษา.วิทยาลัยพยาบาลทหารบก.การประเมินคุณภาพการศึกษา. Abstract: การวจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา คัดสรร และสร้างตัวบ่งชี้การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับกอง และภาควิชาของกองการศึกษา วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก วิธีการดำเนินการวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฎิบัติการแบบมีส่วนร่วมแบ่งเป็น 2 ระยะ คือ 1 การศึกษา คัดสรร และสร้างตัวบ่งชี้และระยะที่ 2 การตรวจสอบคุณภาพและทดลองใช้ตัวบ่งชี้ผู้เข้าร่วมในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารและอาจารย์ กองการศึกษา วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก จำนวนทั้งสิ้น 40 คน วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลใช้ในการศึกษาเอกสาร การสนทนากลุ่มผู้บริหาร และการสำรวจความคิดเห็นของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยมี 2 ชุด ได้แก่ 1 แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างสำหรับการสนทนากลุ่ม และ 2 แบบสำรวจความคิดเห็นต่อ (ร่าง) ตัวบ่งชี้การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้่อหา และการวิเคราะห์หาค่าดัชนีความคิดเห็นสอดคล้องตรงกันผลการศึกษา พบว่า กองการศึกษาควรดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายในให้ครบถ้วนทั้ง 9 ประกอบ ทั้งในระดับกอง และระดับภาควิชา โดยควรคัดสรรมาจากตัวบ่งชี้ในระดับวิทยาลัยและเห็นด้วยกับการนำเกณฑ์รับรองสถาบันของสภาการพยาบาลและตัวบ่งชี้ของการประกันคุณภาพหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนของมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีสาขาพยาบาลศาสตร์ มาใช้ในการสร้างเป็นตัวบ่งชี้เพิ่มเติมให้สอดคล้องกับการดำเนินงานของกองการศึกษา ตัวบ่งขี้ในระดับกองมี 34 ตัวบ่งชี้ และระดับภาควิชามั 25 ร้อยละ 62.50 ส่วนที่มาของตัวบ่งชี้มาจากตัวบ่งชี้ระดับวิทยาลัยมากที่สุดในระดับกอง คิดเป็นร้อยละ 75.00 ผลการตรวจสอบคุณภาพของร่างตัวบ่งชี้การประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญ IOC มากกว่า 0.70 ในทุกผลการทดลองใช้ พบว่า ตัวบ่งชี้ส่วนใหญ่มีค่าดัชนีความคิดเห็นสอดคล้องตรงกันในระดับปานกลางขึ้นไป ผลการทดลองใช้ พบว่า ทั้งในระดับกองและภาควิชาสามารถเขียนรายงานและประเมินตนเองได้ในทุกตัวบ่งชี้ ส่วนการเปรียบเทียบผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินผลการประเมินตนอง พบว่า ในระดับกองมีความสอดคล้องกันคิดเป็นร้อยละ 94.28 ส่วนในระดับภาควิชา มีึว่ามสอดคล้องกันคิดเป็นร้อยละ 96.0 Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24954 การให้บริการสุขภาพเชิงรุกของพยาบาลที่ปฎิบัติงาน / สุภาพร เสือรอด in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 ([09/07/2015])
[article]
Title : การให้บริการสุขภาพเชิงรุกของพยาบาลที่ปฎิบัติงาน : ในโรงพยาบ่าลชุมชนพื่นที่ติดชายแดนภาคตะวันตก Original title : Proactive health care service of nurseworking in a community hospital at west Material Type: printed text Authors: สุภาพร เสือรอด, Author ; อารีย์วรรณ อ่วมตานี, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.79-87 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.79-87Keywords: การบริการสุขภาพเชิงรุก.การบริการทางการพยาบาล.พยาบาลวิชาชีพ.โรงพยาบาลชุมชนชายแดนภาคตะวันออก. Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ บรรยายการให้บริการสุขภาพเชิงรุกของพยาบาลที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชนพื้นที่ติดชายแดนตะวันตก โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบปรากฎการณ์วิทยาการตีความตามแนวคิดของ Heidegger คัดเลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจง โดยผู้ให้ข้อมูล คือ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติงานเชิงรุกในโรงพยาบาลชุมชน พื้นที่ติดชายแดนภาคะวันตก มีความยินดีในการเข้าร่วมการวิจัยครั้งนี้ จำนวน 15 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะจงและการบันทึกเทป ร่วมกับการบันทึกภาคสนาม นำข้อมูลที่ได้มาถอดความแบบคำต่อคำ และวิเคราะหฺ์ข้อมูลโดยวิธีการตีความของ Van Manen (1990) ผลการศึกษามีดังนี้ 1 ร่วมวางแผนการเดินทางกับทุกภาคส่วน 2 เดินทางเข้าหมู่บ้านผ่านเส้นทางอันตราย ต้องใช้ผู้ชำนาญทาง 3 เข้าถึงพื้นที่ เริ่มงานทันที ตามหน้าที่ที่แบ่งกัน 4 ออกจากพื้นที่ไปให้ถึงอีกพื้นที่ก่อนพลบค่ำ 5 ดำเนินการตรวจรักษาชาวบ้านมากหน้าหลายตามารอรับบริการ และ 6 เสร็จงานออกจากพื้นที่ บางครั้งมีปัญหากลับโรงพยาบาลล่าช้ากว่ากำหนด Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24955 [article] การให้บริการสุขภาพเชิงรุกของพยาบาลที่ปฎิบัติงาน = Proactive health care service of nurseworking in a community hospital at west : ในโรงพยาบ่าลชุมชนพื่นที่ติดชายแดนภาคตะวันตก [printed text] / สุภาพร เสือรอด, Author ; อารีย์วรรณ อ่วมตานี, Author . - 2015 . - p.79-87.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.79-87Keywords: การบริการสุขภาพเชิงรุก.การบริการทางการพยาบาล.พยาบาลวิชาชีพ.โรงพยาบาลชุมชนชายแดนภาคตะวันออก. Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ บรรยายการให้บริการสุขภาพเชิงรุกของพยาบาลที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชนพื้นที่ติดชายแดนตะวันตก โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบปรากฎการณ์วิทยาการตีความตามแนวคิดของ Heidegger คัดเลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจง โดยผู้ให้ข้อมูล คือ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติงานเชิงรุกในโรงพยาบาลชุมชน พื้นที่ติดชายแดนภาคะวันตก มีความยินดีในการเข้าร่วมการวิจัยครั้งนี้ จำนวน 15 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะจงและการบันทึกเทป ร่วมกับการบันทึกภาคสนาม นำข้อมูลที่ได้มาถอดความแบบคำต่อคำ และวิเคราะหฺ์ข้อมูลโดยวิธีการตีความของ Van Manen (1990) ผลการศึกษามีดังนี้ 1 ร่วมวางแผนการเดินทางกับทุกภาคส่วน 2 เดินทางเข้าหมู่บ้านผ่านเส้นทางอันตราย ต้องใช้ผู้ชำนาญทาง 3 เข้าถึงพื้นที่ เริ่มงานทันที ตามหน้าที่ที่แบ่งกัน 4 ออกจากพื้นที่ไปให้ถึงอีกพื้นที่ก่อนพลบค่ำ 5 ดำเนินการตรวจรักษาชาวบ้านมากหน้าหลายตามารอรับบริการ และ 6 เสร็จงานออกจากพื้นที่ บางครั้งมีปัญหากลับโรงพยาบาลล่าช้ากว่ากำหนด Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24955 ปัจจัยที่มีผลต่อขั้นตอนความพร้อมในการคุมกำเนิดภายหลังคลอด / พุทธชาต เจริญศิริวิไล in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 ([09/07/2015])
[article]
Title : ปัจจัยที่มีผลต่อขั้นตอนความพร้อมในการคุมกำเนิดภายหลังคลอด : ของมารดาวัยรุ่นที่ตั้งครรภ์โดยไม่ได้วางแผน Original title : Factors influencing stage of readiness to postpartum contraception use among unplanned adolescent pregnacy Material Type: printed text Authors: พุทธชาต เจริญศิริวิไล, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.88-96 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.88-96Keywords: การคุมกำเนิด.มารดาวัยรุ่น.การตั้วครรภ์โดยไม่ได้วางแผน. Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24956 [article] ปัจจัยที่มีผลต่อขั้นตอนความพร้อมในการคุมกำเนิดภายหลังคลอด = Factors influencing stage of readiness to postpartum contraception use among unplanned adolescent pregnacy : ของมารดาวัยรุ่นที่ตั้งครรภ์โดยไม่ได้วางแผน [printed text] / พุทธชาต เจริญศิริวิไล, Author . - 2015 . - p.88-96.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.88-96Keywords: การคุมกำเนิด.มารดาวัยรุ่น.การตั้วครรภ์โดยไม่ได้วางแผน. Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24956 คุณภาพบริการพยาบาลแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลเอกชนกรุงเทพมหานคร / วาปี ครองวิริยะภาพ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 ([09/07/2015])
[article]
Title : คุณภาพบริการพยาบาลแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลเอกชนกรุงเทพมหานคร Original title : Nursing service quality at out-patient units private hospitals bangkok metropolis Material Type: printed text Authors: วาปี ครองวิริยะภาพ, Author ; สุชาดา รัชชุกูล, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.97-113 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.97-113Keywords: คุณภาพบริการ.พยาบาลแผนกผู้ป่วยนอก.ผู้บ่วยนอก.โรงพยาบาลเอกชน. Abstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพบริการพยาบาลแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลเอกชน กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างเป็นกลุ่มผู้มารับริการที่แผนกผู้ัป่วยนอก และกลุ่มพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยายาลเอกชนกรุงเทพมหานคร จำนวนอย่างละ 200 รวมทั้งหมด 400 คน กลุ่มผู้มารับบริการได้จากการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ กลุ่มพยาบาลวิชาชีพ ได้จากกลุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็๋นแบบสอบถามคุณภาพบริการพยาบาลตามการรับรู้ของผู้รับบริการและแบบสอบถามคุณภาพบริการพยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ เครื่องมือทั้งหมดผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และทดสอบหาค่าความเที่ยงตรงด้วยค่าสัมประสิทธิแอลฟ่าครอนบาคได้เท่ากับ 097 เท่ากัน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบด้วยสถถิติค่าที (t-independent) ผลการวิจัย พบว่า คุณภาพการบริการพยาบาลแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลเอกชน กทม. ตามการรับรู้ของผู้รับบริการอยู่ในระด้บมาก (ค่าเฉลี่ย 4.00) คุณภาพบริการพยาบาลแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลเอกชน กทม. ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 4.11) และคุณภาพบริการพยาบาลแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลเอกชน กทม. ตามการรับรู้บริการโดยรวมมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24957 [article] คุณภาพบริการพยาบาลแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลเอกชนกรุงเทพมหานคร = Nursing service quality at out-patient units private hospitals bangkok metropolis [printed text] / วาปี ครองวิริยะภาพ, Author ; สุชาดา รัชชุกูล, Author . - 2015 . - p.97-113.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.97-113Keywords: คุณภาพบริการ.พยาบาลแผนกผู้ป่วยนอก.ผู้บ่วยนอก.โรงพยาบาลเอกชน. Abstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพบริการพยาบาลแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลเอกชน กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างเป็นกลุ่มผู้มารับริการที่แผนกผู้ัป่วยนอก และกลุ่มพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยายาลเอกชนกรุงเทพมหานคร จำนวนอย่างละ 200 รวมทั้งหมด 400 คน กลุ่มผู้มารับบริการได้จากการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ กลุ่มพยาบาลวิชาชีพ ได้จากกลุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็๋นแบบสอบถามคุณภาพบริการพยาบาลตามการรับรู้ของผู้รับบริการและแบบสอบถามคุณภาพบริการพยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ เครื่องมือทั้งหมดผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และทดสอบหาค่าความเที่ยงตรงด้วยค่าสัมประสิทธิแอลฟ่าครอนบาคได้เท่ากับ 097 เท่ากัน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบด้วยสถถิติค่าที (t-independent) ผลการวิจัย พบว่า คุณภาพการบริการพยาบาลแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลเอกชน กทม. ตามการรับรู้ของผู้รับบริการอยู่ในระด้บมาก (ค่าเฉลี่ย 4.00) คุณภาพบริการพยาบาลแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลเอกชน กทม. ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 4.11) และคุณภาพบริการพยาบาลแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลเอกชน กทม. ตามการรับรู้บริการโดยรวมมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24957 ระยะเวลาการให้ยาละลายลิ่มเลือดต่อการฟื้นตัวด้านระบบประสาท / อุไร คำมาก in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 ([09/07/2015])
[article]
Title : ระยะเวลาการให้ยาละลายลิ่มเลือดต่อการฟื้นตัวด้านระบบประสาท : ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบอุดตันระยะเฉียบพลัน โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ Original title : Time to treatment with intravenous recombinant tissue plasmanogen activator to the neurological recovery in patients with acute ischemic stroke at Thammasat University Hospital Material Type: printed text Authors: อุไร คำมาก, Author ; ศิริอร สินธุ, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.106-113 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.106-113Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาเวลาที่เริ่มเกิดอาการกับการรักษาด้วยยาละลายลิ่มเลือด Intravenous recombinant tissue plasma activator rtPA ต่อการฟื้นตัวทางระบบประสาท และปัจจัยที่มีผลต่อเวลาในการมาโรงพยาบาลของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบอุดตันระยะเฉียบพลันที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ จำนวน 93 คน โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างตามคุณสมบัติที่กำหนด เครื่องมือวิจัยประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบบันทึกข้อมูลการรักษา แบบประเมินการฟื้นตัวทางระบบประสาท วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติการวิเคราะห์แบบพรรณนา และ Chi-square test. Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24958 [article] ระยะเวลาการให้ยาละลายลิ่มเลือดต่อการฟื้นตัวด้านระบบประสาท = Time to treatment with intravenous recombinant tissue plasmanogen activator to the neurological recovery in patients with acute ischemic stroke at Thammasat University Hospital : ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบอุดตันระยะเฉียบพลัน โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ [printed text] / อุไร คำมาก, Author ; ศิริอร สินธุ, Author . - 2015 . - p.106-113.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.106-113Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาเวลาที่เริ่มเกิดอาการกับการรักษาด้วยยาละลายลิ่มเลือด Intravenous recombinant tissue plasma activator rtPA ต่อการฟื้นตัวทางระบบประสาท และปัจจัยที่มีผลต่อเวลาในการมาโรงพยาบาลของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบอุดตันระยะเฉียบพลันที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ จำนวน 93 คน โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างตามคุณสมบัติที่กำหนด เครื่องมือวิจัยประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบบันทึกข้อมูลการรักษา แบบประเมินการฟื้นตัวทางระบบประสาท วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติการวิเคราะห์แบบพรรณนา และ Chi-square test. Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24958 ปัจจัยทำนายการปรับตัวอของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง / กฤษณีย์ คมขำ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 ([09/07/2015])
[article]
Title : ปัจจัยทำนายการปรับตัวอของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง Original title : Predictive factors for adaptation among caregivers of stroke patients Material Type: printed text Authors: กฤษณีย์ คมขำ, Author ; ดวงใจ รัตนธัญญา, Author ; กีรดา ไกรนุวัตร, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.114-122 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.114-122Abstract: การวิจัยเชิงทำนายครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการปรับตัวของข้อมูล และศึกษาปัจจัยทำนายการปรับตัวของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง โดยใช้ทฤษฎีการปรับตัวของรอยเป็นกรอบแนวคิด กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ดูแผลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่เป็นสมาชิกภายในครอบครัวของผู้ป่วยจำนวน 127 ราย คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง สถานที่เก็บข้อมูล คลินิกอายุรกรรมระบบประสาท และที่หอผู้ป่วยอายุรกรรมระบบประสาท โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวม ไดแก่ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามในการดูแล แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคม แบบประเมินสุขภาพ แบบสอบถามการเข้ารับบทบาทผู้ดูแล และแบบสอบถามการปรับตัวของผู้ดูแล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณา สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียรสัน และการวิเคราะห์ความถดถอบเชิงพหุคูณแบบ Stepwise. Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24959 [article] ปัจจัยทำนายการปรับตัวอของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง = Predictive factors for adaptation among caregivers of stroke patients [printed text] / กฤษณีย์ คมขำ, Author ; ดวงใจ รัตนธัญญา, Author ; กีรดา ไกรนุวัตร, Author . - 2015 . - p.114-122.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.114-122Abstract: การวิจัยเชิงทำนายครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการปรับตัวของข้อมูล และศึกษาปัจจัยทำนายการปรับตัวของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง โดยใช้ทฤษฎีการปรับตัวของรอยเป็นกรอบแนวคิด กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ดูแผลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่เป็นสมาชิกภายในครอบครัวของผู้ป่วยจำนวน 127 ราย คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง สถานที่เก็บข้อมูล คลินิกอายุรกรรมระบบประสาท และที่หอผู้ป่วยอายุรกรรมระบบประสาท โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวม ไดแก่ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามในการดูแล แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคม แบบประเมินสุขภาพ แบบสอบถามการเข้ารับบทบาทผู้ดูแล และแบบสอบถามการปรับตัวของผู้ดูแล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณา สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียรสัน และการวิเคราะห์ความถดถอบเชิงพหุคูณแบบ Stepwise. Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24959 การพัฒนาเกณฑ์ประเมินสมรรถนะพยาบาลวิชาชีพ / จารีศรี กุลศิริปัญโญ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 ([09/07/2015])
[article]
Title : การพัฒนาเกณฑ์ประเมินสมรรถนะพยาบาลวิชาชีพ Original title : The development of criterion one valuation register nurse competencies Material Type: printed text Authors: จารีศรี กุลศิริปัญโญ, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.123-130 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.123-130Keywords: สมรรถนะวิชาชีพ.พยาบาลวิชาชีพ. Abstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาตัวบ่งชี้ และเกณฑ์ประเมินสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ 8 ด้าน ซึ่งประกอบด้วยสมรรถนะ ด้านจริยธรรม ด้านการปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ด้านคุณลักษณะเชิงวิชาชีพ ด้านภาวะผู้รำการจัดการและการพัฒนาคุณภาพ ด้านวิชาการและการวิจัน สมรรถนะการสื่อสารและสัมพันธภาพ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และด้านสังคม โดยอาศัยวิธีการเดลฟายเป็นเทคนิคที่มีผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 20 ท่าน ตอบแบบสอบถามจำนวน 3 รอบ โดยแต่ละรอบผู้วิจัยจะสรุปคำตอบของรอบนั้นเพื่อเป็นข้อมูลสำหรับตอบคำถามในรอบถัดไป การสอบถามจะหยุดลงเมื่อได้รับข้อสรุปที่มั่นคง และได้ค่าทางสถิติ. Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24960 [article] การพัฒนาเกณฑ์ประเมินสมรรถนะพยาบาลวิชาชีพ = The development of criterion one valuation register nurse competencies [printed text] / จารีศรี กุลศิริปัญโญ, Author . - 2015 . - p.123-130.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.123-130Keywords: สมรรถนะวิชาชีพ.พยาบาลวิชาชีพ. Abstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาตัวบ่งชี้ และเกณฑ์ประเมินสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ 8 ด้าน ซึ่งประกอบด้วยสมรรถนะ ด้านจริยธรรม ด้านการปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ด้านคุณลักษณะเชิงวิชาชีพ ด้านภาวะผู้รำการจัดการและการพัฒนาคุณภาพ ด้านวิชาการและการวิจัน สมรรถนะการสื่อสารและสัมพันธภาพ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และด้านสังคม โดยอาศัยวิธีการเดลฟายเป็นเทคนิคที่มีผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 20 ท่าน ตอบแบบสอบถามจำนวน 3 รอบ โดยแต่ละรอบผู้วิจัยจะสรุปคำตอบของรอบนั้นเพื่อเป็นข้อมูลสำหรับตอบคำถามในรอบถัดไป การสอบถามจะหยุดลงเมื่อได้รับข้อสรุปที่มั่นคง และได้ค่าทางสถิติ. Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24960 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการเกิดโรคอ้วนในกลุ่มผู้ใหญ่ เขตเทศบาลตำบลบางเสาธง / ภิษฐ์จีรัชญ์ พัชรกุลธนา in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 ([09/07/2015])
[article]
Title : ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการเกิดโรคอ้วนในกลุ่มผู้ใหญ่ เขตเทศบาลตำบลบางเสาธง : จังหวัดสมุทรปราการ Original title : The factors asociated to prevalence of obesity in adults in Bang Sao Thong Municipality Samuth Prakan Province Material Type: printed text Authors: ภิษฐ์จีรัชญ์ พัชรกุลธนา, Author ; กมลทิพย์ ขลังธรรมเนียม, Author ; วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.131-146 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.131-146Abstract: การวิจัยเชิงพรรณา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดโรคอ้วนในกลุ่มวัยผู้ใหญ่ ภายใต้ทฤษฎีการพยาบาลของคิง กลุ่มตัวอย่าง เป็นผู้ที่มีอายุ 20-59 ปี อาศัยในเขตเทศบาลตำบลบางเสาธง อำเภอบางเสาธง สมุทรปราการ จำนวน 391 คน เครื่องมือทีืใช้ เป็นแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล และปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดโรคอ้วน ตรวจสอบความตรงตามเนื้่อหาโดยผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน หาค่าความเชื่อมั่นของเครื่องมือมีค่าสัมประสิทธิอัลฟาครอนบาค ได้เท่ากับ 0.89 วิเคราะห์ข้อมูลด้่วยสถิติเชิงพรรณาและการทดสอบไคสแควร์. Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24961 [article] ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการเกิดโรคอ้วนในกลุ่มผู้ใหญ่ เขตเทศบาลตำบลบางเสาธง = The factors asociated to prevalence of obesity in adults in Bang Sao Thong Municipality Samuth Prakan Province : จังหวัดสมุทรปราการ [printed text] / ภิษฐ์จีรัชญ์ พัชรกุลธนา, Author ; กมลทิพย์ ขลังธรรมเนียม, Author ; วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย, Author . - 2015 . - p.131-146.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.131-146Abstract: การวิจัยเชิงพรรณา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดโรคอ้วนในกลุ่มวัยผู้ใหญ่ ภายใต้ทฤษฎีการพยาบาลของคิง กลุ่มตัวอย่าง เป็นผู้ที่มีอายุ 20-59 ปี อาศัยในเขตเทศบาลตำบลบางเสาธง อำเภอบางเสาธง สมุทรปราการ จำนวน 391 คน เครื่องมือทีืใช้ เป็นแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล และปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดโรคอ้วน ตรวจสอบความตรงตามเนื้่อหาโดยผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน หาค่าความเชื่อมั่นของเครื่องมือมีค่าสัมประสิทธิอัลฟาครอนบาค ได้เท่ากับ 0.89 วิเคราะห์ข้อมูลด้่วยสถิติเชิงพรรณาและการทดสอบไคสแควร์. Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24961