From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ การสนับสนุนทางสังคม ลักษณะงาน กับความเข็มแข็ง / พัชราพร แจ่มแจ้ง / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2546
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ การสนับสนุนทางสังคม ลักษณะงาน กับความเข็มแข็ง : ในการมองโลกของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน Original title : Relationships between personality social support job characteristics and sense of coherence of staff nurses community hosptials Material Type: printed text Authors: พัชราพร แจ่มแจ้ง, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2546 Pagination: ก-ญ, 169 แผ่น. Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-175-344-6 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ (พย. ม (การบริหารพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชนKeywords: บุคลิกภาพ.
พยาบาลประจำการ.
โรงพยาบาลชุมชนClass number: WY18พ612 2546 Abstract: งานวิจัยนี้เพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ การสนับสนุนทางสังคม ลักษณะงานกับความเข็มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน และศึกษาตัวแปรที่สามารถพยากรณ์ความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลประจำการที่ปฎิบัติงานในหอผู้ป่วยในโรงพยาบาลชุมชน จำนวน 393 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบวัดบุคลิกภาพเปิดเผย ประนีประนอม อารมณ์มั่นคง ควบคุมตนเอง และบุคลิกภาพเิปิดรับประสบการณ์ แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคมจากผู้บังคับบัญชา และเพื่อนร่วมงานจ ลักษณะงาน และความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ และวิเคราะห์ค่าความเที่ยงโดยการทดสอบค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค ได้ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามเท่ากับ .78 .73 .77 .79 .78 .94 .93 และ .92 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สหสัีมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอบพหุคูณแบบขั้ยตอน
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย คือ 3.87
2. บุคลิกภาพเปิดเผย บุคลิกภาพประนีประนอม บุคลิกภาพอารมณ์มั่นคง บุคลิกภาพควบคุมตนเอง บุคลิิกภาพเปิดรับประสบการณ์ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับความเข็มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประำจำการอย่างมีนัยสำคัยทางสถิติที่ระดับ .001 (r=.353 .305 .332 .398 และ .412 ตามลำดับ)
3. การสนับสนุนทางสังคมจากผู้บังคับบัญชา การสนับสนุนทางสังคมจากเพื่อนร่วมงาน มีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลางกับความเข็มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (r=.352 และ .474 ตามลำดับ)
4. ลักษณะงานมีความสัีมพันธ์ทางระดับปานกลางกับความเข็มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (r=.662)
5. ตัวแปรพยากรณ์ ได้แก่ ลักษณะงาน บุคลิกภาพเปิดรับประสบการณ์ และการสนับสนุนทางสังคมจากเพื่อนร่วมงาน สามารถร่วมกันพยากรณ์ความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการได้อย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 โดยสามารถอธิบายความแปรปรวนของความเข็มแข็งในการมองโลกได้ร้อยละ 50.08 (R ยกกำลังสอง = .508) และสามารถสร้างสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน.Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23330 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ การสนับสนุนทางสังคม ลักษณะงาน กับความเข็มแข็ง = Relationships between personality social support job characteristics and sense of coherence of staff nurses community hosptials : ในการมองโลกของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน [printed text] / พัชราพร แจ่มแจ้ง, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 . - ก-ญ, 169 แผ่น. : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-175-344-6 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ (พย. ม (การบริหารพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชนKeywords: บุคลิกภาพ.
พยาบาลประจำการ.
โรงพยาบาลชุมชนClass number: WY18พ612 2546 Abstract: งานวิจัยนี้เพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ การสนับสนุนทางสังคม ลักษณะงานกับความเข็มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน และศึกษาตัวแปรที่สามารถพยากรณ์ความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลประจำการที่ปฎิบัติงานในหอผู้ป่วยในโรงพยาบาลชุมชน จำนวน 393 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบวัดบุคลิกภาพเปิดเผย ประนีประนอม อารมณ์มั่นคง ควบคุมตนเอง และบุคลิกภาพเิปิดรับประสบการณ์ แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคมจากผู้บังคับบัญชา และเพื่อนร่วมงานจ ลักษณะงาน และความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ และวิเคราะห์ค่าความเที่ยงโดยการทดสอบค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค ได้ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามเท่ากับ .78 .73 .77 .79 .78 .94 .93 และ .92 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สหสัีมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอบพหุคูณแบบขั้ยตอน
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชน อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย คือ 3.87
2. บุคลิกภาพเปิดเผย บุคลิกภาพประนีประนอม บุคลิกภาพอารมณ์มั่นคง บุคลิกภาพควบคุมตนเอง บุคลิิกภาพเปิดรับประสบการณ์ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับความเข็มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประำจำการอย่างมีนัยสำคัยทางสถิติที่ระดับ .001 (r=.353 .305 .332 .398 และ .412 ตามลำดับ)
3. การสนับสนุนทางสังคมจากผู้บังคับบัญชา การสนับสนุนทางสังคมจากเพื่อนร่วมงาน มีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลางกับความเข็มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (r=.352 และ .474 ตามลำดับ)
4. ลักษณะงานมีความสัีมพันธ์ทางระดับปานกลางกับความเข็มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (r=.662)
5. ตัวแปรพยากรณ์ ได้แก่ ลักษณะงาน บุคลิกภาพเปิดรับประสบการณ์ และการสนับสนุนทางสังคมจากเพื่อนร่วมงาน สามารถร่วมกันพยากรณ์ความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลประจำการได้อย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 โดยสามารถอธิบายความแปรปรวนของความเข็มแข็งในการมองโลกได้ร้อยละ 50.08 (R ยกกำลังสอง = .508) และสามารถสร้างสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน.Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23330 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357259 THE WY18พ612 2546 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะของทีมงาน กับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล / วารี พูลทรัพย์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2544
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะของทีมงาน กับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล : ตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร Original title : Rekationships between work gropu characteristics and nursing team effectiveness as preceived by staff nurses governmental hospitals Bangkok metropolis Material Type: printed text Authors: วารี พูลทรัพย์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2544 Pagination: ก-ญ,169 แผ่น Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-170-460-7 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพยาบาลเป็นทีม
[LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]โรงพยาบาล -- ไทย -- ภาครัฐKeywords: การพยาบาล.
พยาบาลประจำการ.
โรงพยาบาลรัฐ.
ประสิทธิผล.
ทีมการพยาบาล.Class number: WY18 ว727 2544 Abstract: การวิจัยครั้งนี้ เป็นวิจัยเชิงความสัมพันธ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาค่าเฉลี่ยประสิทธิผลของทีมการพยาบาลโรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทีมงานกับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล ตลอดจนศึกษาตัวแปรที่สามารถร่วมกันพยากรณ์ประสิทธิผลของทีมการพยาบาล กลุ่มตัวอย่างคือ ทีมการพยาบาล ซึ่งไ้ด้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน จำนวน 184 ทีม มีจำนวนรวม 920 คน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถามลักษณะของทีมงาน และแบบสอบถามประสิทธิผลของทีมการพยาบาล ซึ่งได้ผ่านการตรวจสอบความตรง และความเที่ยงเท่ากับ .094 และ .91 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน สถิติวิเคราะห์ความสัมพันธ์แบบเพียร์สัน การวิเคราะห์ถดถอบพหุคูณ
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยประสิทธิผลของทีมการพยาบาล โรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร อยู่ในระดับสูง ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.75
2 ค่าสหสัมพันธ์ระหว่างลักษณะของทีมงาน กัีบประสิทธิผลของทีมการพยาบาล โรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร โดยรวมอยู่ในระดับสูง และมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r=.832) โดยมีความสัมพันธ์รายด้านดังนี้ คือ กระบวนการทำงานเป็นทีม การออกแบบงาน การพึ่งพาช่วยเหลือกัน องค์ประกอบของทีม และบริบทเชิงบริหาร (r= .800 .731 .689 .665 และ .657 ตามลำดับ
3. ตัวแปรที่สามารถร่วมกันพยากรณ์ ประสิทธิผลของทีมการพยาบาล โรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร ได้แก่ กระบวนการทำงานเป็นทีม การออกแบบงาน บริบทเชิงบริหาร การพึ่งพาช่วยเหลือกันของสมาชิก และองค์ประกอบของทีม ซึ่งสามารถร่วมกันพยากรณ์ประสิทธิผลของทีมการพยาบาลได้ร้อยละ 74.2 (R ยกกำลังสอง = .743 p < .05) โดยมีสมการพยากรณ์ประสิทธิผลของทีมการพยาบาล ในรูปคะแนนมาตรฐานCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23327 ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะของทีมงาน กับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล = Rekationships between work gropu characteristics and nursing team effectiveness as preceived by staff nurses governmental hospitals Bangkok metropolis : ตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร [printed text] / วารี พูลทรัพย์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 . - ก-ญ,169 แผ่น : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-170-460-7 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาลเป็นทีม
[LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]โรงพยาบาล -- ไทย -- ภาครัฐKeywords: การพยาบาล.
พยาบาลประจำการ.
โรงพยาบาลรัฐ.
ประสิทธิผล.
ทีมการพยาบาล.Class number: WY18 ว727 2544 Abstract: การวิจัยครั้งนี้ เป็นวิจัยเชิงความสัมพันธ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาค่าเฉลี่ยประสิทธิผลของทีมการพยาบาลโรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทีมงานกับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล ตลอดจนศึกษาตัวแปรที่สามารถร่วมกันพยากรณ์ประสิทธิผลของทีมการพยาบาล กลุ่มตัวอย่างคือ ทีมการพยาบาล ซึ่งไ้ด้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน จำนวน 184 ทีม มีจำนวนรวม 920 คน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถามลักษณะของทีมงาน และแบบสอบถามประสิทธิผลของทีมการพยาบาล ซึ่งได้ผ่านการตรวจสอบความตรง และความเที่ยงเท่ากับ .094 และ .91 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน สถิติวิเคราะห์ความสัมพันธ์แบบเพียร์สัน การวิเคราะห์ถดถอบพหุคูณ
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยประสิทธิผลของทีมการพยาบาล โรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร อยู่ในระดับสูง ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.75
2 ค่าสหสัมพันธ์ระหว่างลักษณะของทีมงาน กัีบประสิทธิผลของทีมการพยาบาล โรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร โดยรวมอยู่ในระดับสูง และมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r=.832) โดยมีความสัมพันธ์รายด้านดังนี้ คือ กระบวนการทำงานเป็นทีม การออกแบบงาน การพึ่งพาช่วยเหลือกัน องค์ประกอบของทีม และบริบทเชิงบริหาร (r= .800 .731 .689 .665 และ .657 ตามลำดับ
3. ตัวแปรที่สามารถร่วมกันพยากรณ์ ประสิทธิผลของทีมการพยาบาล โรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร ได้แก่ กระบวนการทำงานเป็นทีม การออกแบบงาน บริบทเชิงบริหาร การพึ่งพาช่วยเหลือกันของสมาชิก และองค์ประกอบของทีม ซึ่งสามารถร่วมกันพยากรณ์ประสิทธิผลของทีมการพยาบาลได้ร้อยละ 74.2 (R ยกกำลังสอง = .743 p < .05) โดยมีสมการพยากรณ์ประสิทธิผลของทีมการพยาบาล ในรูปคะแนนมาตรฐานCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23327 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357309 THE WY18 ว727 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ ความไว้วางใจในองค์การกับผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบ่าล / อารีย์ คำนวนศักดิ์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2545
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ ความไว้วางใจในองค์การกับผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบ่าล Original title : Relationships between constructive culture organizational trust and performance of nursing department as recieved by professional nurse at accredited regional hospitals and medical centers Material Type: printed text Authors: อารีย์ คำนวนศักดิ์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2545 Pagination: ก-ญ, 124 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-179-810-5 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริการการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วัฒนธรรมองค์การ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพKeywords: พยาบาลวิชาชีพ
ความผูกผันต่อองค์การ.
การบริหารคุณภาพโดยรวม.Class number: WY125 อ927 2545 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับผลการดำเนินงานของกลุ่มพยาบาล ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ ความไว้วางใจองค์การ กับผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเิมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลกลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลประจำการจำนวน 287 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งขั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ของกลุ่มงานการพยาบาล แบบสอบถามความไว้วางใจในองค์การและแบบสอบถามผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาล ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและวิเคราะห์ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามเท่ากับ .092 .94 และ.96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัีน และการวิเคราะห์ถดถอยแบบเข้าทีละตัว
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลอยู่ในระดับสูง (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.91)
2. ความไว้วางใจในองค์การมีความสัมพันธ์ทางบวกกับผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเิมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r=.625 p<.01)
3. วัฒนธรรมเชิงสร้่างสรรค์มีความสัมพนะ์ทางบวกกับผลการดำเนินงานของกลุ่มการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r=.606 p<.01)
4. ตัวแปรที่สามารถพยากรณ์ผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลได้แก่ ความไว้วางใจองค์การ และวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ซึ่งสมารถร่วมกันพยากรณ์ ผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลได้ร้อยละ 43.50 (R ยกกำลังสอง = .435 p<.05) โดยสมการพยากรณ์ผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลในรูปคะแนนมาตรฐานCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23363 ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ ความไว้วางใจในองค์การกับผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบ่าล = Relationships between constructive culture organizational trust and performance of nursing department as recieved by professional nurse at accredited regional hospitals and medical centers [printed text] / อารีย์ คำนวนศักดิ์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 . - ก-ญ, 124 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-179-810-5 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริการการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วัฒนธรรมองค์การ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพKeywords: พยาบาลวิชาชีพ
ความผูกผันต่อองค์การ.
การบริหารคุณภาพโดยรวม.Class number: WY125 อ927 2545 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับผลการดำเนินงานของกลุ่มพยาบาล ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ ความไว้วางใจองค์การ กับผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเิมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลกลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลประจำการจำนวน 287 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งขั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ของกลุ่มงานการพยาบาล แบบสอบถามความไว้วางใจในองค์การและแบบสอบถามผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาล ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและวิเคราะห์ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามเท่ากับ .092 .94 และ.96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัีน และการวิเคราะห์ถดถอยแบบเข้าทีละตัว
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลอยู่ในระดับสูง (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.91)
2. ความไว้วางใจในองค์การมีความสัมพันธ์ทางบวกกับผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเิมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r=.625 p<.01)
3. วัฒนธรรมเชิงสร้่างสรรค์มีความสัมพนะ์ทางบวกกับผลการดำเนินงานของกลุ่มการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r=.606 p<.01)
4. ตัวแปรที่สามารถพยากรณ์ผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลได้แก่ ความไว้วางใจองค์การ และวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ซึ่งสมารถร่วมกันพยากรณ์ ผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลได้ร้อยละ 43.50 (R ยกกำลังสอง = .435 p<.05) โดยสมการพยากรณ์ผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลในรูปคะแนนมาตรฐานCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23363 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357010 THE WY125 อ927 2545 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัีมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความไว้วางใจหัวหน้าหอผู้ป่วย ความพึงพอใจในงานกับความยึดมั่นผูกพัน / รัมภาพรรณ ประมวลทรัพย์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2549
Title : ความสัีมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความไว้วางใจหัวหน้าหอผู้ป่วย ความพึงพอใจในงานกับความยึดมั่นผูกพัน : ต่อองค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ Original title : Relationships between personal factors trust in head nurses job satisfaction and organization commitment regional hospital and medical centers Material Type: printed text Authors: รัมภาพรรณ ประมวลทรัพย์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2549 Pagination: ก-ฎ, 176 แผ่น Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)). -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยKeywords: พยาบาลประจำการ.
หัวหน้าหอผู้ป่วย.
ความผูกพันต่อองค์การ.Class number: WY125 ร716 2549 Abstract: การวิจัยครั้งนี้่มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความไว้วางใจในหัวหน้าหอผู้ป่วย ความพึงพอใจในงาน กับความยึดมั่นผูกผันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลประจำการที่ปฎิบัติงานในโรงพยาบาลศูนย์ จำนวน 380 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมุลส่วนบุคคล แบบสอบถามความพึงพอใจในงาน และแบบสอบถามความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และหาค่าความเที่ยงโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคได้ .93 .95 และ.96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูล โดยกาีรแจกแจงความถี่ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติไคสแควร์ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุุคูณแบบขั้นตอน
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ ความไว้วางใจในหัวหน้าหอผู้ป่วย ความพึงพอใจในงานพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ อยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย = 4.00 3.86 3.90 ตามลำดับ)
2. ประสบการณ์ในการทำงานมีความสัมพันธ์ กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001
3. ความไว้วางใจในหัวหน้าหอผู้ป่วย มีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลาง กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ ของพยาบาลประจำการ (r=.467) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001
4. ความพึงพอใจในงานมีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลาง กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ (r=.672) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001
5. ตัวแปรที่ร่วมกันพยากรณ์ ความยึดมั่ยผูกพันต่อองค์การ ของพยาบาลประจำการได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 คือ ความพึงพอใจในงานของพยาบาลประจำการ และประสบการณ์ในการทำงาน สามารถอธิบายความแปรปรวนของความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ ของพยาบาลประจำการได้ร้อยละ 46.3 (R ยกกำลังสอง = .463 )
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23332 ความสัีมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความไว้วางใจหัวหน้าหอผู้ป่วย ความพึงพอใจในงานกับความยึดมั่นผูกพัน = Relationships between personal factors trust in head nurses job satisfaction and organization commitment regional hospital and medical centers : ต่อองค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ [printed text] / รัมภาพรรณ ประมวลทรัพย์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 . - ก-ฎ, 176 แผ่น : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)). -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยKeywords: พยาบาลประจำการ.
หัวหน้าหอผู้ป่วย.
ความผูกพันต่อองค์การ.Class number: WY125 ร716 2549 Abstract: การวิจัยครั้งนี้่มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความไว้วางใจในหัวหน้าหอผู้ป่วย ความพึงพอใจในงาน กับความยึดมั่นผูกผันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลประจำการที่ปฎิบัติงานในโรงพยาบาลศูนย์ จำนวน 380 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมุลส่วนบุคคล แบบสอบถามความพึงพอใจในงาน และแบบสอบถามความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และหาค่าความเที่ยงโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคได้ .93 .95 และ.96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูล โดยกาีรแจกแจงความถี่ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติไคสแควร์ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุุคูณแบบขั้นตอน
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ ความไว้วางใจในหัวหน้าหอผู้ป่วย ความพึงพอใจในงานพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ อยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย = 4.00 3.86 3.90 ตามลำดับ)
2. ประสบการณ์ในการทำงานมีความสัมพันธ์ กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001
3. ความไว้วางใจในหัวหน้าหอผู้ป่วย มีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลาง กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ ของพยาบาลประจำการ (r=.467) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001
4. ความพึงพอใจในงานมีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลาง กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ (r=.672) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001
5. ตัวแปรที่ร่วมกันพยากรณ์ ความยึดมั่ยผูกพันต่อองค์การ ของพยาบาลประจำการได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 คือ ความพึงพอใจในงานของพยาบาลประจำการ และประสบการณ์ในการทำงาน สามารถอธิบายความแปรปรวนของความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ ของพยาบาลประจำการได้ร้อยละ 46.3 (R ยกกำลังสอง = .463 )
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23332 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357242 THE WY125 ร716 2549 Thesis Main Library Thesis Corner Available ผลของการใช้รูปแบบการนิเทศการบริการพยาบาลสำหรับหัวหน้างานหอผู้ป่วยเฉพาะทาง / กนกพร เนติเมธี / กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2539
Title : ผลของการใช้รูปแบบการนิเทศการบริการพยาบาลสำหรับหัวหน้างานหอผู้ป่วยเฉพาะทาง : ต่อความพึงพอใจในงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยและพยาบาลประจำการโรงพยาบาลทั่วไป Original title : Effects of using nursing service supervisory model for supervisor nurse toword head nurse and nurse job satisfaction in general hospitals Material Type: printed text Authors: กนกพร เนติเมธี, Author Publisher: กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2539 Pagination: ก-ฎ, 226 แผ่น. Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-636-499-5 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การนิเทศการพยาบาล
[LCSH]บริการการพยาบาล -- การบริหาร -- ไทย
[LCSH]พยาบาล -- ความพอใจในการทำงาน
[LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย -- ไทยKeywords: การนิเทศพยาบาล.
หัวหน้าหอผู้ป่วย.
บริการการพยาบาล.
ความพึงพอใจ.Class number: WY18 ก151 2539 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23324 ผลของการใช้รูปแบบการนิเทศการบริการพยาบาลสำหรับหัวหน้างานหอผู้ป่วยเฉพาะทาง = Effects of using nursing service supervisory model for supervisor nurse toword head nurse and nurse job satisfaction in general hospitals : ต่อความพึงพอใจในงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยและพยาบาลประจำการโรงพยาบาลทั่วไป [printed text] / กนกพร เนติเมธี, Author . - กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 . - ก-ฎ, 226 แผ่น. : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-636-499-5 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การนิเทศการพยาบาล
[LCSH]บริการการพยาบาล -- การบริหาร -- ไทย
[LCSH]พยาบาล -- ความพอใจในการทำงาน
[LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย -- ไทยKeywords: การนิเทศพยาบาล.
หัวหน้าหอผู้ป่วย.
บริการการพยาบาล.
ความพึงพอใจ.Class number: WY18 ก151 2539 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23324 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357325 THE WY18 ก151 2539 Thesis Main Library Thesis Corner Available