From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
การทำงานร่วมกันของพยาบาลและแพทย์ / สงกราน มาประสพ / คณะพยาบาลศา่สตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2544
Title : การทำงานร่วมกันของพยาบาลและแพทย์ Original title : Working relation of nurses an physicians Material Type: printed text Authors: สงกราน มาประสพ, Author Publisher: คณะพยาบาลศา่สตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2544 Pagination: ญ, 120 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-031-732-4 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]]- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2544 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพยาบาล
[LCSH]ความสัมพันธ์ระหว่างแพทย์และพยาบาล
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]แพทย์ -- การทำงานKeywords: แพทย์.
พยาบาล.
การทำงาน.
วิทยานิพนธ์.Class number: WY18 ส821 2544 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23115 การทำงานร่วมกันของพยาบาลและแพทย์ = Working relation of nurses an physicians [printed text] / สงกราน มาประสพ, Author . - [S.l.] : คณะพยาบาลศา่สตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 . - ญ, 120 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-031-732-4 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]]- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2544
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาล
[LCSH]ความสัมพันธ์ระหว่างแพทย์และพยาบาล
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]แพทย์ -- การทำงานKeywords: แพทย์.
พยาบาล.
การทำงาน.
วิทยานิพนธ์.Class number: WY18 ส821 2544 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23115 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354348 WY18 ส821 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available การพัฒนาตนเองของพยาบาลวิชาชีพสำหรับองค์การพยาบาลในอนาคต / รัชนก วันทอง, 2514- / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2545
Title : การพัฒนาตนเองของพยาบาลวิชาชีพสำหรับองค์การพยาบาลในอนาคต Original title : Self-development of professional nurses for nursing organization in the future Material Type: printed text Authors: รัชนก วันทอง, 2514-, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2545 Pagination: ก-ญ, 123 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-170-983-8 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. การบริหารการพยาบาล]]. --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพัฒนาตนเอง
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: การพัฒนาตนเอง.
พยาบาล.Class number: WY100 ร712 2545 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา กระบวนการ วิธีการ ปัจจัยสู่ความสำเร็จของการพัฒนาตนเองของพยาบาลวิชาชีพสำหรับองค์การพยาบาลในอนาคต โดยใช้เทคนิคเดลฟาย ประชากรที่ศึกษา เป็นผู้เชี่ยวชาญในวิชาชีพพยาบาล จำนวน 21 ท่าน ซึ่งมีความเชี่ยวชาญ ด้านการศึกษาพยาบาล ด้านการบริหารทางการพยาบาล ด้านการปฏิบัติการพยาบาล และด้านกฎหมายและ จริยธรรมทางวิชาชีพทางการพยาบาล เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น แบบสอบถามรอบแรกมีลักษณะเป็นแบบสอบถามปลายเปิดและเลือกตอบ รอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า วิเคราะห์ข้อมูลโดยการคำนวณโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป EXCEL หาค่ามัธยฐานและพิสัยระหว่างควอไทล์ ผลการวิจัยพบว่า กระบวนการพัฒนาตนเองของพยาบาลวิชาชีพสำหรับองค์การพยาบาลในอนาคตนั้น พยาบาลควรจะต้องมีการศึกษหาความรู้ตลอดเวลา และมีทักษะความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์ในการสืบค้นหาข้อมูล ส่วนวิธีการพัฒนาตนเองของพยาบาลวิชาชีพ พยาบาลจะมีการเข้าร่วมในการอบรมด้านบริการพยาบาลที่มีคุณภาพตามความต้องการของผู้รับบริการ และมีการสมัครเป็นสมาชิกขององค์การพยาบาลเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ที่ทันสมัย ส่วนปัจจัยสู่ความสำเร็จของการพัฒนาตนของพยาบาลวิชาชีพนั้นขึ้นอยู่กับปัจจัยภายในตนประกอบด้วย ความต้องการความปลอดภัยในการปฏิบัติงานและความต้องการความมั่นคงในความก้าวหน้าทางวิชาชีพ ส่วนปัจจัยภายนอกที่เข้ามากระทบตัวพยาบาลประกอบด้วย การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ สังคม และนโยบายปฏิรูประบบสุขภาพที่มุ่งเน้นการการดูแลสุขภาพระดับปฐมภูมิและการได้รับการสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชาหรือหัวหน้า Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23172 การพัฒนาตนเองของพยาบาลวิชาชีพสำหรับองค์การพยาบาลในอนาคต = Self-development of professional nurses for nursing organization in the future [printed text] / รัชนก วันทอง, 2514-, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 . - ก-ญ, 123 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-170-983-8 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. การบริหารการพยาบาล]]. --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพัฒนาตนเอง
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: การพัฒนาตนเอง.
พยาบาล.Class number: WY100 ร712 2545 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา กระบวนการ วิธีการ ปัจจัยสู่ความสำเร็จของการพัฒนาตนเองของพยาบาลวิชาชีพสำหรับองค์การพยาบาลในอนาคต โดยใช้เทคนิคเดลฟาย ประชากรที่ศึกษา เป็นผู้เชี่ยวชาญในวิชาชีพพยาบาล จำนวน 21 ท่าน ซึ่งมีความเชี่ยวชาญ ด้านการศึกษาพยาบาล ด้านการบริหารทางการพยาบาล ด้านการปฏิบัติการพยาบาล และด้านกฎหมายและ จริยธรรมทางวิชาชีพทางการพยาบาล เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น แบบสอบถามรอบแรกมีลักษณะเป็นแบบสอบถามปลายเปิดและเลือกตอบ รอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า วิเคราะห์ข้อมูลโดยการคำนวณโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป EXCEL หาค่ามัธยฐานและพิสัยระหว่างควอไทล์ ผลการวิจัยพบว่า กระบวนการพัฒนาตนเองของพยาบาลวิชาชีพสำหรับองค์การพยาบาลในอนาคตนั้น พยาบาลควรจะต้องมีการศึกษหาความรู้ตลอดเวลา และมีทักษะความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์ในการสืบค้นหาข้อมูล ส่วนวิธีการพัฒนาตนเองของพยาบาลวิชาชีพ พยาบาลจะมีการเข้าร่วมในการอบรมด้านบริการพยาบาลที่มีคุณภาพตามความต้องการของผู้รับบริการ และมีการสมัครเป็นสมาชิกขององค์การพยาบาลเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ที่ทันสมัย ส่วนปัจจัยสู่ความสำเร็จของการพัฒนาตนของพยาบาลวิชาชีพนั้นขึ้นอยู่กับปัจจัยภายในตนประกอบด้วย ความต้องการความปลอดภัยในการปฏิบัติงานและความต้องการความมั่นคงในความก้าวหน้าทางวิชาชีพ ส่วนปัจจัยภายนอกที่เข้ามากระทบตัวพยาบาลประกอบด้วย การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ สังคม และนโยบายปฏิรูประบบสุขภาพที่มุ่งเน้นการการดูแลสุขภาพระดับปฐมภูมิและการได้รับการสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชาหรือหัวหน้า Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23172 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355477 WY100 ร712 2545 Thesis Main Library Thesis Corner Available 32002000355451 WY100 ร712 2545 c.2 Thesis Main Library Thesis Corner Available การศึกษาสมมรถนะหลักของพยาบาลบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข / สมนึก สุวรรณภูเต / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2548
Title : การศึกษาสมมรถนะหลักของพยาบาลบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข Original title : A study of professional nurse's core competencies at general hospitals under the jurisdiction of the Ministry of Public Health Material Type: printed text Authors: สมนึก สุวรรณภูเต, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2548 Pagination: ก-ฎ, 195 แผ่น Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-532-766-2 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2548 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาล -- ทัศนคติ
[LCSH]สมรรถภาพในการทำงานKeywords: พยาบาล.
การทำงาน.Class number: WY100.1 ส865 2548 Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาโดยใช้เทคนิคเดลฟาย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะหลักของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาเป็นผู้เชี่ยวชาญในวิชาชีพพยาบาล จำนวน 18 คน ประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษาพยาบาล ด้านการบริหารทางการพยาบาล ด้านการปฏิบัติการพยาบาล และด้านกฎหมายและจริยธรรมทางวิชาชีพพยาบาล เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ใช้ระยะเวลารวบรวมข้อมูล 142 วัน แบบสอบถามรอบแรกเป็นแบบสอบถามปลายเปิดและปลายปิด รอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัธยฐานและค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ตรวจสอบความตรงของเนื้อหาโดยพิจารณาตามเกณฑ์ที่ผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นตรงกันมากกว่าร้อยละ 80 และตรวจสอบความเที่ยงของเครื่องมือโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค (Cronbach's alpha) ค่าความเที่ยงในรอบที่ 1 และรอบที่ 2 เท่ากับ .81 ทั้งสองรอบ ผลการวิจัยพบว่า สมรรถนะหลักของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข จากการสอบถามผู้เชี่ยวชาญในรอบที่ 1 ประกอบด้วยสมรรถนะหลัก 9 ด้าน จำนวน 83 รายการ รอบที่ 2 ประกอบด้วนสมรรถนะหลัก 6 ด้าน จำนวน 77 รายการ และรอบที่ 3 ประกอบด้วย สมรรถนะหลัก 6 ด้าน จำนวน 72 รายการ โดยสรุปสมรรถนะหลักของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ประกอบด้วยสมรรถนะหลัก 6 ด้าน คือ ด้านองค์ความรู้ทางการพยาบาล ด้านการปฏิบัติการพยาบาล ด้านการวิจัยและการพัฒนาตนเอง ด้านภาวะผู้นำและการบริหารจัดการ ด้านจริยธรรรมจรรยาบรรณวิชาชีพและวัฒนธรรม และด้านการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ ซึ่งผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นสอดคล้องกันทุกข้อ นอกจากนั้นยังมีสมรรถนะรายข้อย่อยที่มีความสำคัญในระดับมากอีกรวม 71 รายการ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23153 การศึกษาสมมรถนะหลักของพยาบาลบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข = A study of professional nurse's core competencies at general hospitals under the jurisdiction of the Ministry of Public Health [printed text] / สมนึก สุวรรณภูเต, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 . - ก-ฎ, 195 แผ่น ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-532-766-2 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2548
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาล -- ทัศนคติ
[LCSH]สมรรถภาพในการทำงานKeywords: พยาบาล.
การทำงาน.Class number: WY100.1 ส865 2548 Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาโดยใช้เทคนิคเดลฟาย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะหลักของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาเป็นผู้เชี่ยวชาญในวิชาชีพพยาบาล จำนวน 18 คน ประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษาพยาบาล ด้านการบริหารทางการพยาบาล ด้านการปฏิบัติการพยาบาล และด้านกฎหมายและจริยธรรมทางวิชาชีพพยาบาล เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ใช้ระยะเวลารวบรวมข้อมูล 142 วัน แบบสอบถามรอบแรกเป็นแบบสอบถามปลายเปิดและปลายปิด รอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัธยฐานและค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ตรวจสอบความตรงของเนื้อหาโดยพิจารณาตามเกณฑ์ที่ผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นตรงกันมากกว่าร้อยละ 80 และตรวจสอบความเที่ยงของเครื่องมือโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค (Cronbach's alpha) ค่าความเที่ยงในรอบที่ 1 และรอบที่ 2 เท่ากับ .81 ทั้งสองรอบ ผลการวิจัยพบว่า สมรรถนะหลักของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข จากการสอบถามผู้เชี่ยวชาญในรอบที่ 1 ประกอบด้วยสมรรถนะหลัก 9 ด้าน จำนวน 83 รายการ รอบที่ 2 ประกอบด้วนสมรรถนะหลัก 6 ด้าน จำนวน 77 รายการ และรอบที่ 3 ประกอบด้วย สมรรถนะหลัก 6 ด้าน จำนวน 72 รายการ โดยสรุปสมรรถนะหลักของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ประกอบด้วยสมรรถนะหลัก 6 ด้าน คือ ด้านองค์ความรู้ทางการพยาบาล ด้านการปฏิบัติการพยาบาล ด้านการวิจัยและการพัฒนาตนเอง ด้านภาวะผู้นำและการบริหารจัดการ ด้านจริยธรรรมจรรยาบรรณวิชาชีพและวัฒนธรรม และด้านการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ ซึ่งผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นสอดคล้องกันทุกข้อ นอกจากนั้นยังมีสมรรถนะรายข้อย่อยที่มีความสำคัญในระดับมากอีกรวม 71 รายการ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23153 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354603 WY100.1 ส865 2548 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยบุคคล ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยบรรยากาศองค์การ กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ / ปิ่นฤทัย ประดิษฐศิลป์, / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2551
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยบุคคล ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยบรรยากาศองค์การ กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ Original title : Relationships between personal factors, strategic leadership of head nurse, organizational climate and intention to stay in nursing, service of professional nurses, government university hospitals Material Type: printed text Authors: ปิ่นฤทัย ประดิษฐศิลป์, (2525-), Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2551 Pagination: ก-ฎ, 164 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2551 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารเชิงกลยุทธ์
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาล--วิชาชีพ
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: ภาวะผู้นำ.
การบริหาร.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WY18 ป535 2551 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย บรรยากาศองค์การ และความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ และเพื่อศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย บรรยากาศองค์การ กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติการที่มีประสบการณ์ทำงานตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป ในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ จำนวน 350 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย บรรยากาศองค์การ และความตั้งใจที่จะอยู่ในงาน ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และหาค่าความเที่ยง โดยค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค มีค่าเท่ากับ .97 และ .93 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติไคสแควร์ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1.พยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐส่วนใหญ่มีความตั้งใจที่จะอยู่ในงานต่อไป มากถึง ร้อยละ 93.7 2.ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับสูง และบรรยากาศองค์การ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับดี ( [Mean] = 3.93 และ [Mean] = 3.89 ตามลำดับ) 3.ปัจจัยส่วนบุคคล ด้านระดับการศึกษา มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วน อายุ สถานภาพสมรส ประสบการณ์การทำงาน และสถานภาพการทำงาน ไม่มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ 4.ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย ไม่มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 5.บรรยากาศองค์การ มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23171 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยบุคคล ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยบรรยากาศองค์การ กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ = Relationships between personal factors, strategic leadership of head nurse, organizational climate and intention to stay in nursing, service of professional nurses, government university hospitals [printed text] / ปิ่นฤทัย ประดิษฐศิลป์, (2525-), Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 . - ก-ฎ, 164 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2551
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารเชิงกลยุทธ์
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาล--วิชาชีพ
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: ภาวะผู้นำ.
การบริหาร.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WY18 ป535 2551 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย บรรยากาศองค์การ และความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ และเพื่อศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย บรรยากาศองค์การ กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติการที่มีประสบการณ์ทำงานตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป ในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ จำนวน 350 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย บรรยากาศองค์การ และความตั้งใจที่จะอยู่ในงาน ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และหาค่าความเที่ยง โดยค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค มีค่าเท่ากับ .97 และ .93 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติไคสแควร์ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1.พยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐส่วนใหญ่มีความตั้งใจที่จะอยู่ในงานต่อไป มากถึง ร้อยละ 93.7 2.ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับสูง และบรรยากาศองค์การ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับดี ( [Mean] = 3.93 และ [Mean] = 3.89 ตามลำดับ) 3.ปัจจัยส่วนบุคคล ด้านระดับการศึกษา มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วน อายุ สถานภาพสมรส ประสบการณ์การทำงาน และสถานภาพการทำงาน ไม่มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ 4.ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย ไม่มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 5.บรรยากาศองค์การ มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23171 ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ภาวะผู้ตามที่มีประสิทธิผลของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร / พรจันทร์ เทพพิทักษ์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2548
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ภาวะผู้ตามที่มีประสิทธิผลของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร Original title : Relationships between transformational leadership of head nurses, effective followership of staff nurses and effecteveness of patient units as perceived by staff nurses, governmental hospitals, Bangkok Metropolis Material Type: printed text Authors: พรจันทร์ เทพพิทักษ์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2548 Pagination: ก-ฎ, 127 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-532-023-4 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]].-จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2548 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ประสิทธิผลองค์กร
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]ภาวะผู้นำ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหารKeywords: โรงพยาบาล.
พยาบาล.
ประสิทธิผลองค์การ.
ภาวะผู้นำ.Class number: WY18 พ672 2548 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23154 ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ภาวะผู้ตามที่มีประสิทธิผลของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร = Relationships between transformational leadership of head nurses, effective followership of staff nurses and effecteveness of patient units as perceived by staff nurses, governmental hospitals, Bangkok Metropolis [printed text] / พรจันทร์ เทพพิทักษ์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 . - ก-ฎ, 127 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-532-023-4 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]].-จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2548
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ประสิทธิผลองค์กร
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]ภาวะผู้นำ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหารKeywords: โรงพยาบาล.
พยาบาล.
ประสิทธิผลองค์การ.
ภาวะผู้นำ.Class number: WY18 พ672 2548 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23154 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354397 WY18 พ672 2548 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย / สุนีย์พร แคล้วปลอดทุกข์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2551
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย : การบริหารผลการปฏิบัติงานของกลุ่มงานการพยาบาลกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลทั่วไป Original title : Relationships between strategic leadership of head nurses, performance management of nurse division, and effectiveness of patient units as perceived by staff nurses, general hospitals Material Type: printed text Authors: สุนีย์พร แคล้วปลอดทุกข์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2551 Pagination: ก-ฎ, 149 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม. [การบริหารการพยาบาล]].-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2551 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- การบริหาร
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาล--วิชาชีพ
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: หัวหน้าหอผู้ป่วย.
ภาวะผู้นำ.
พยาบาล.Class number: WY18 ส845 2551 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยการบริหารผลการปฎิบัติงานของกลุ่มงานการพยาบาล และประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การบริหารผลการปฎิบัติงานของกลุ่มงานการพยาบาล กับประสิทธิผลของหอผู้่ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพระดับปฎิบัติการ จำนวน 352 คน ซึ่งได้จาการสุ่มตัวอย่างแบบสองขั้นตอน. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามการบริหารผลการปฏิบัติงานของกลุ่มงานการพยาบาล และแบบสอบถามประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตรวจสอบเชิงเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ .97 .96 และ.95 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย สาวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัีมประสิทธิสหสัมพนธ์ของเพียร์สัน
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ คือ
1. ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การบริหารผลการปฎิบัิติงานของกลุ่มการพยาบาล และประสิทธิผลของผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป ต่างก็อยู่ในระดับสูง (ค่าเฉลี่ย = 3.85 3.62 และ 3.90 ตามลำดับ)
2. 2. ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยและการบริหารผลการปฏิบัติงานของ กลุ่มงานการพยาบาล ต่างก็มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับประสิทธิผลของ หอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .67 และ .64 ตามลำดับ)Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23170 ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย = Relationships between strategic leadership of head nurses, performance management of nurse division, and effectiveness of patient units as perceived by staff nurses, general hospitals : การบริหารผลการปฏิบัติงานของกลุ่มงานการพยาบาลกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลทั่วไป [printed text] / สุนีย์พร แคล้วปลอดทุกข์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 . - ก-ฎ, 149 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม. [การบริหารการพยาบาล]].-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2551
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- การบริหาร
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาล--วิชาชีพ
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: หัวหน้าหอผู้ป่วย.
ภาวะผู้นำ.
พยาบาล.Class number: WY18 ส845 2551 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยการบริหารผลการปฎิบัติงานของกลุ่มงานการพยาบาล และประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การบริหารผลการปฎิบัติงานของกลุ่มงานการพยาบาล กับประสิทธิผลของหอผู้่ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพระดับปฎิบัติการ จำนวน 352 คน ซึ่งได้จาการสุ่มตัวอย่างแบบสองขั้นตอน. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามการบริหารผลการปฏิบัติงานของกลุ่มงานการพยาบาล และแบบสอบถามประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตรวจสอบเชิงเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ .97 .96 และ.95 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย สาวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัีมประสิทธิสหสัมพนธ์ของเพียร์สัน
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ คือ
1. ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การบริหารผลการปฎิบัิติงานของกลุ่มการพยาบาล และประสิทธิผลของผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป ต่างก็อยู่ในระดับสูง (ค่าเฉลี่ย = 3.85 3.62 และ 3.90 ตามลำดับ)
2. 2. ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยและการบริหารผลการปฏิบัติงานของ กลุ่มงานการพยาบาล ต่างก็มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับประสิทธิผลของ หอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .67 และ .64 ตามลำดับ)Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23170 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000383800 WY18 ส845 2551 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างอันตรายจากสิ่งแวดล้อมในการทำงาน สัมพันธภาพระหว่างหัวหน้าหอผู้ป่วยกับพยาบาลประจำการ กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ / พนิชา บุตรปัญญา / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2551
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างอันตรายจากสิ่งแวดล้อมในการทำงาน สัมพันธภาพระหว่างหัวหน้าหอผู้ป่วยกับพยาบาลประจำการ กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ Original title : Relationships between occupational environment hazards head nurse - staff nurse relationship, and quality of work life of staff nurses, government university hospitals Material Type: printed text Authors: พนิชา บุตรปัญญา, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2551 Pagination: ก-ฎ, 141 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2551 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิตการทำงาน
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาล -- การประเมิน
[LCSH]พยาบาล -- ความพอใจในการทำงานKeywords: หัวหน้าหอผู้ป่วย.
คุณภาพการทำงาน.
สิ่งแวดล้อมในการทำงาน.
โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ.Class number: WY100 พ653 2551 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอันตรายจากสิ่งแวดล้อมในการทำงาน สัมพันธภาพระหว่างหัวหน้าหอผู้ป่วยกับพยาบาลประจำการ กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานในสังกัดโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ จำนวน 380 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามคุณภาพชีวิตการทำงาน แบบสอบถามอันตรายจากสิ่งแวดล้อมในการทำงาน และแบบสอบถามสัมพันธภาพระหว่างหัวหน้าหอผู้ป่วยกับพยาบาลประจำการ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงโดยสูตรสัมประสิทธ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ 0.89, 0.89 และ 0.98 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. คุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ และสัมพันธภาพระหว่างหัวหน้าหอผู้ป่วยกับพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐอยู่ในระดับสูง ([Mean]= 3.70 และ 3.67) ยกเว้น อันตรายจากสิ่งแวดล้อมในการทำงานของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐอยู่ในระดับปานกลาง ( [Mean]= 3.02) 2. อันตรายจากสิ่งแวดล้อมในการทำงาน มีความสัมพันธ์ทางลบในระดับปานกลางกับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = - .62) 3. สัมพันธภาพระหว่างหัวหน้าหอผู้ป่วยกับพยาบาลประจำการ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .50) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23218 ความสัมพันธ์ระหว่างอันตรายจากสิ่งแวดล้อมในการทำงาน สัมพันธภาพระหว่างหัวหน้าหอผู้ป่วยกับพยาบาลประจำการ กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ = Relationships between occupational environment hazards head nurse - staff nurse relationship, and quality of work life of staff nurses, government university hospitals [printed text] / พนิชา บุตรปัญญา, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 . - ก-ฎ, 141 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2551
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิตการทำงาน
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาล -- การประเมิน
[LCSH]พยาบาล -- ความพอใจในการทำงานKeywords: หัวหน้าหอผู้ป่วย.
คุณภาพการทำงาน.
สิ่งแวดล้อมในการทำงาน.
โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ.Class number: WY100 พ653 2551 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอันตรายจากสิ่งแวดล้อมในการทำงาน สัมพันธภาพระหว่างหัวหน้าหอผู้ป่วยกับพยาบาลประจำการ กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานในสังกัดโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ จำนวน 380 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามคุณภาพชีวิตการทำงาน แบบสอบถามอันตรายจากสิ่งแวดล้อมในการทำงาน และแบบสอบถามสัมพันธภาพระหว่างหัวหน้าหอผู้ป่วยกับพยาบาลประจำการ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงโดยสูตรสัมประสิทธ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ 0.89, 0.89 และ 0.98 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. คุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ และสัมพันธภาพระหว่างหัวหน้าหอผู้ป่วยกับพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐอยู่ในระดับสูง ([Mean]= 3.70 และ 3.67) ยกเว้น อันตรายจากสิ่งแวดล้อมในการทำงานของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐอยู่ในระดับปานกลาง ( [Mean]= 3.02) 2. อันตรายจากสิ่งแวดล้อมในการทำงาน มีความสัมพันธ์ทางลบในระดับปานกลางกับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = - .62) 3. สัมพันธภาพระหว่างหัวหน้าหอผู้ป่วยกับพยาบาลประจำการ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .50) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23218 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354876 WY100 พ653 2551 Thesis Main Library Thesis Corner Available คุณลักษณะผู้นำของหัวหน้าหอผู้ป่วยที่พึ่งประสงค์ในปี พ.ศ. 2559 / ศุภรา อภิญญานนท์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2549
Title : คุณลักษณะผู้นำของหัวหน้าหอผู้ป่วยที่พึ่งประสงค์ในปี พ.ศ. 2559 Original title : Desirable leader characteristics of head nurses by B.E. 2559 (A.D. 2016) Material Type: printed text Authors: ศุภรา อภิญญานนท์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2549 Pagination: ก-ฌ, 170 แผ่น. Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาล -- ทัศนคติ
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: Nurses.
Leadership.
พยาบาล.
ภาวะผู้นำ.Class number: WY18 ศ846 2549 Abstract: ศึกษาคุณลักษณะผู้นำของหัวหน้าหอผู้ป่วยที่พึงประสงค์ในปี พ.ศ. 2559 โดยใช้เทคนิค EDFR กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 24 คน คัดเลือกตามคุณสมบัติที่กำหนดไว้ โดยเป็นผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้และประสบการณ์ตรงกับปัญหาการวิจัย และยินดีร่วมมือในการวิจัย ประกอบด้วย กลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารการพยาบาล ด้านการศึกษาพยาบาล ด้านการปฏิบัติการพยาบาล ด้านการบริหารโรงพยาบาล และกลุ่มผู้เชี่ยวชาญในองค์กรวิชาชีพทางการพยาบาลระดับนโยบาย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น รอบแรกเป็นแบบสัมภาษณ์ รอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า ใช้ระยะเวลาเก็บรวบรวมข้อมูล 64 วัน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัธยฐานและค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ ผลการวิจัยพบว่า คุณลักษณะผู้นำของหัวหน้าหอผู้ป่วยที่พึงประสงค์ในปี พ.ศ. 2559 ที่ผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นสอดคล้องกัน ประกอบด้วยคุณลักษณะย่อย 70 ข้อ เป็นคุณลักษณะที่มีระดับความสำคัญมากที่สุด 66 ข้อ และระดับความสำคัญมาก 4 ข้อ จำแนกได้เป็น 6 ด้าน ดังนี้ 1. ด้านความเป็นวิชาชีพ ประกอบด้วยคุณลักษณะ 10 ข้อ 2. ด้านพัฒนาผู้ใต้บังคับบัญชา ประกอบด้วยคุณลักษณะ 10 ข้อ 3. ด้านการบริหารจัดการ ประกอยด้วยคุณลักษณะ 15 ข้อ 4. ด้านการเป็นผู้นำ ประกอบด้วยคุณลักษณะ 10 ข้อ 5. ด้านการพัฒนาตนเอง ประกอบด้วยคุณลักษณะ 10 ข้อ 6. ด้านบุคลิกภาพ ประกอบด้วยคุณลักษณะ 15 ข้อ Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23155 คุณลักษณะผู้นำของหัวหน้าหอผู้ป่วยที่พึ่งประสงค์ในปี พ.ศ. 2559 = Desirable leader characteristics of head nurses by B.E. 2559 (A.D. 2016) [printed text] / ศุภรา อภิญญานนท์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 . - ก-ฌ, 170 แผ่น. : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาล -- ทัศนคติ
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: Nurses.
Leadership.
พยาบาล.
ภาวะผู้นำ.Class number: WY18 ศ846 2549 Abstract: ศึกษาคุณลักษณะผู้นำของหัวหน้าหอผู้ป่วยที่พึงประสงค์ในปี พ.ศ. 2559 โดยใช้เทคนิค EDFR กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 24 คน คัดเลือกตามคุณสมบัติที่กำหนดไว้ โดยเป็นผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้และประสบการณ์ตรงกับปัญหาการวิจัย และยินดีร่วมมือในการวิจัย ประกอบด้วย กลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารการพยาบาล ด้านการศึกษาพยาบาล ด้านการปฏิบัติการพยาบาล ด้านการบริหารโรงพยาบาล และกลุ่มผู้เชี่ยวชาญในองค์กรวิชาชีพทางการพยาบาลระดับนโยบาย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น รอบแรกเป็นแบบสัมภาษณ์ รอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า ใช้ระยะเวลาเก็บรวบรวมข้อมูล 64 วัน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัธยฐานและค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ ผลการวิจัยพบว่า คุณลักษณะผู้นำของหัวหน้าหอผู้ป่วยที่พึงประสงค์ในปี พ.ศ. 2559 ที่ผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นสอดคล้องกัน ประกอบด้วยคุณลักษณะย่อย 70 ข้อ เป็นคุณลักษณะที่มีระดับความสำคัญมากที่สุด 66 ข้อ และระดับความสำคัญมาก 4 ข้อ จำแนกได้เป็น 6 ด้าน ดังนี้ 1. ด้านความเป็นวิชาชีพ ประกอบด้วยคุณลักษณะ 10 ข้อ 2. ด้านพัฒนาผู้ใต้บังคับบัญชา ประกอบด้วยคุณลักษณะ 10 ข้อ 3. ด้านการบริหารจัดการ ประกอยด้วยคุณลักษณะ 15 ข้อ 4. ด้านการเป็นผู้นำ ประกอบด้วยคุณลักษณะ 10 ข้อ 5. ด้านการพัฒนาตนเอง ประกอบด้วยคุณลักษณะ 10 ข้อ 6. ด้านบุคลิกภาพ ประกอบด้วยคุณลักษณะ 15 ข้อ Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23155 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354413 WY18 ศ846 2549 Thesis Main Library Thesis Corner Available ประสบการณ์การปฎิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพภายใต้สถานการณ์ความรุนแรงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ / สุรัสวดี ไมตรีกุล / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2550
Title : ประสบการณ์การปฎิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพภายใต้สถานการณ์ความรุนแรงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ Original title : Working experiences of professional nurses under violent situation in southern border province Material Type: printed text Authors: สุรัสวดี ไมตรีกุล, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2550 Pagination: ก-ญ, 180 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
การทำงาน.
จังหวัดชายแดนภาคใต้.Class number: WY100 ส848 2550 Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพตามแนวคิดปรากฎการณ์วิทยา มีวัตถุประสงค์เพื่อทำความเข้าใจบริบทและประสบการณ์การปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพภายใต้สถานการณ์รุนแรงในพื้นที่ชายแดนภาคใต้ ศึกษาในโรงพยาบาลศูนย์ยะลาซึ่งเป็นโรงพยาบาลระดับตติยภูมิในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ผู้ให้ข้อมูล เป็นพยาบาลวิชาชีพที่คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจงมีประสบการณ์การปฏิบัติงานในโรงพยาบาลศูนย์ยะลา 2 ปี ขึ้นไป จำนวน 16 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการตีความและวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษามีดังนี้ ภายใต้สถานการณ์ความรุนแรงในพื้นที่ชายแดนภาคใต้ทำให้พยาบาลวิชาชีพมองการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากปรากฎการณ์นี้ว่าเปรียบเสมือนอยู่ในภาวะสงคราม บรรยากาศการอยู่ร่วมกันของผู้คนเป็นไปอย่างไร้ความสุขและเต็มไปด้วยความสับสนโดยเฉพาะการใช้ชีวิตประจำวันอยู่ในความหวาดกลัวรู้สึกไม่ปลอดภัยในชีวิตและต้องระมัดระวังตัวตลอดเวลา ทั้งนี้เนื่องจากสถานการณ์ที่เกิดขึ้นมีแต่ปัญหาการบาดเจ็บและล้มตายของคนรอบตัวจากการถูกระเบิด ดังนั้นการปฏิบัติงานของพยาบาลจึงเครียดมากขึ้นเพราะการที่พยาบาลต้องปฏิบัติงานภายใต้สภาพแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัยกับชีวิตทำให้รู้สึกเครียดทั้งงานและเครียดกับความปลอดภัยในชีวิต ซึ่งพยาบาลต้องปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตของตนเองเพื่อให้สามารถทำงานได้ต่อไปรวมทั้งต้องหาวิธีการจัดการกับความเครียด ซึ่งส่วนใหญ่ใช้วิธีการหันเหความสนใจและปรับตัวโดยการยึดศาสนาเป็นที่พึ่งทางจิตใจ สำหรับการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ พบว่ามีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมโดยแบ่งเป็นการปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ปกติ ด้านการให้บริการพยาบาล ด้านการบริหาร และด้านวิชาการที่ต้องปฏิบัติคงเดิม ส่วนบทบาทหน้าที่ใหม่ที่เพิ่มขึ้นคือการปฏิบัติการช่วยเหลือในอุบัติภัยหมู่ คำแนะนำด้านสุขภาพที่ต้องมุ่งเน้นการให้คำแนะนำในการมาโรงพยาบาลอย่างปลอดภัย สำหรับการปฏิบัติงานที่ลดน้อยลงคือการบริการส่งเสริมสุขภาพ งานฟื้นฟูสุขภาพทำได้ยากขึ้นและการเยี่ยมบ้านต้องหยุดชะงักลง งานบริการการส่งต่อผู้ป่วยที่รูปแบบการบริการเปลี่ยนไปโดยเฉพาะงานรับผู้ป่วยที่จุดเกิดเหตุดำเนินการน้อยลงเนื่องจากเกรงความไม่ปลอดภัย สำหรับเหตุผลที่ทำให้พยาบาลสามารถคงอยู่ปฏิบัติงานท่ามกลางความไม่ปลอดภัยคือ 1) ได้รับขวัญกำลังใจจากหน่วยราชการ 2) ความรักและความผูกพันที่มีต่อถิ่นเกิด 3) รู้สึกภาคภูมิใจในวิชาชีพพยาบาลที่สามารถเป็นที่พึ่งให้กับผู้ที่ได้รับบาดเจ็บ ผลการศึกษาที่ได้แม้พยาบาลวิชาชีพจะยังคงปฏิบัติงานท่ามกลางความไม่ปลอดภัยต่อไปได้แต่ผู้บริหารของกระทรวงสาธารณสุขและผู้บริหารทางการพยาบาลควรมีการกำหนดนโยบายเชิงรุกเพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนพยาบาลในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้และต้องหาวิธีการต่างๆในการสนับสนุนและส่งเสริมขวัญและกำลังใจตลอดจนหามาตรการสร้างความปลอดภัยในชีวิตพยาบาลด้วย Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23215 ประสบการณ์การปฎิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพภายใต้สถานการณ์ความรุนแรงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ = Working experiences of professional nurses under violent situation in southern border province [printed text] / สุรัสวดี ไมตรีกุล, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 . - ก-ญ, 180 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
การทำงาน.
จังหวัดชายแดนภาคใต้.Class number: WY100 ส848 2550 Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพตามแนวคิดปรากฎการณ์วิทยา มีวัตถุประสงค์เพื่อทำความเข้าใจบริบทและประสบการณ์การปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพภายใต้สถานการณ์รุนแรงในพื้นที่ชายแดนภาคใต้ ศึกษาในโรงพยาบาลศูนย์ยะลาซึ่งเป็นโรงพยาบาลระดับตติยภูมิในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ผู้ให้ข้อมูล เป็นพยาบาลวิชาชีพที่คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจงมีประสบการณ์การปฏิบัติงานในโรงพยาบาลศูนย์ยะลา 2 ปี ขึ้นไป จำนวน 16 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการตีความและวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษามีดังนี้ ภายใต้สถานการณ์ความรุนแรงในพื้นที่ชายแดนภาคใต้ทำให้พยาบาลวิชาชีพมองการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากปรากฎการณ์นี้ว่าเปรียบเสมือนอยู่ในภาวะสงคราม บรรยากาศการอยู่ร่วมกันของผู้คนเป็นไปอย่างไร้ความสุขและเต็มไปด้วยความสับสนโดยเฉพาะการใช้ชีวิตประจำวันอยู่ในความหวาดกลัวรู้สึกไม่ปลอดภัยในชีวิตและต้องระมัดระวังตัวตลอดเวลา ทั้งนี้เนื่องจากสถานการณ์ที่เกิดขึ้นมีแต่ปัญหาการบาดเจ็บและล้มตายของคนรอบตัวจากการถูกระเบิด ดังนั้นการปฏิบัติงานของพยาบาลจึงเครียดมากขึ้นเพราะการที่พยาบาลต้องปฏิบัติงานภายใต้สภาพแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัยกับชีวิตทำให้รู้สึกเครียดทั้งงานและเครียดกับความปลอดภัยในชีวิต ซึ่งพยาบาลต้องปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตของตนเองเพื่อให้สามารถทำงานได้ต่อไปรวมทั้งต้องหาวิธีการจัดการกับความเครียด ซึ่งส่วนใหญ่ใช้วิธีการหันเหความสนใจและปรับตัวโดยการยึดศาสนาเป็นที่พึ่งทางจิตใจ สำหรับการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ พบว่ามีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมโดยแบ่งเป็นการปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ปกติ ด้านการให้บริการพยาบาล ด้านการบริหาร และด้านวิชาการที่ต้องปฏิบัติคงเดิม ส่วนบทบาทหน้าที่ใหม่ที่เพิ่มขึ้นคือการปฏิบัติการช่วยเหลือในอุบัติภัยหมู่ คำแนะนำด้านสุขภาพที่ต้องมุ่งเน้นการให้คำแนะนำในการมาโรงพยาบาลอย่างปลอดภัย สำหรับการปฏิบัติงานที่ลดน้อยลงคือการบริการส่งเสริมสุขภาพ งานฟื้นฟูสุขภาพทำได้ยากขึ้นและการเยี่ยมบ้านต้องหยุดชะงักลง งานบริการการส่งต่อผู้ป่วยที่รูปแบบการบริการเปลี่ยนไปโดยเฉพาะงานรับผู้ป่วยที่จุดเกิดเหตุดำเนินการน้อยลงเนื่องจากเกรงความไม่ปลอดภัย สำหรับเหตุผลที่ทำให้พยาบาลสามารถคงอยู่ปฏิบัติงานท่ามกลางความไม่ปลอดภัยคือ 1) ได้รับขวัญกำลังใจจากหน่วยราชการ 2) ความรักและความผูกพันที่มีต่อถิ่นเกิด 3) รู้สึกภาคภูมิใจในวิชาชีพพยาบาลที่สามารถเป็นที่พึ่งให้กับผู้ที่ได้รับบาดเจ็บ ผลการศึกษาที่ได้แม้พยาบาลวิชาชีพจะยังคงปฏิบัติงานท่ามกลางความไม่ปลอดภัยต่อไปได้แต่ผู้บริหารของกระทรวงสาธารณสุขและผู้บริหารทางการพยาบาลควรมีการกำหนดนโยบายเชิงรุกเพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนพยาบาลในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้และต้องหาวิธีการต่างๆในการสนับสนุนและส่งเสริมขวัญและกำลังใจตลอดจนหามาตรการสร้างความปลอดภัยในชีวิตพยาบาลด้วย Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23215 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355055 WY100 ส848 2550 Thesis Main Library Thesis Corner Available สัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาพยาบาลกับพยาบาลวิชาชีพในการฝึกปฏิบัติทางคลินิก / จุไร ประธาน / บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร - 2548
Title : สัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาพยาบาลกับพยาบาลวิชาชีพในการฝึกปฏิบัติทางคลินิก Original title : The Relationship between student nurse and staff nurse in clinical practice Material Type: printed text Authors: จุไร ประธาน, Author Publisher: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร Publication Date: 2548 Pagination: 110 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. [พย.ม. [การพยาบาลศึกษา]] - มหาวิทยาลัยนเรศวร 2548 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาลศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน
[LCSH]พฤติกรรมการช่วยเหลือ
[LCSH]สภาพแวดล้อมการทำงานKeywords: พยาบาล.
การศึกษา.
การสอน.Class number: WY100 จ249 2548 Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพ จุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาสัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาพยาบาลกับพยาบาลวิชาชีพในการฝึกปฏิบัติทางคลินิกตามการรับรู้ของนักศึกษาพยาบาล ผู้ให้ข้อมูลเป็นนักศึกษาพยาบาลชั้นปีทีื4 หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ในโครงการร่วมผลิตระหว่างมหาวิทยาลัยนเรศวร และวิทยาลัียพยาบาลบรมราชชนนี สังกัดกระทรวงสาํธารณสุข จำนวน 16 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก และการบันทึกเทป วิเคราห์ข้อมูลโดยใช้การตีความ
ผลการศึกษาพบว่า สัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาพยาบาลกับพยาบาลวิชาชีพในการฝึกปฎิบัติิทางคลินิกแบ่งเป็น 2 ด้าน คือ 1. สัมพันธภาพที่ส่งเสริมการฝึกปฏิบัติทางคลินิก และ 2. สัมพันธภาพที่ไม่ส่งเสริมการฝึกปฎิบัติทางคลินิก ของนักศึกษาประกอบด้วย 1. สัมพันธภาพที่ส่งเสริมการฝึกปฏิบัติทางคลินิก มี 4 ปัจจัย คือ 1.1 บรรยากาศการต้อนรับที่ดีและเป็นกันเองของพยาบาลวิชาชีพ 1.2 การให้ความเาใจใส่ดูแลในการสอนและนิเทศงาน 1.3 การแสดงความชื่นชมให้กำลังใจ และให้ความสำคัญ 1.4 การเรียนรู้และหาคำตอบด้วยตนเอง ปัจจัยทั้ง 4 ประการนี้ นักศึกษาระบุว่า ทำให้นักศึกษาได้รับประโยชน์จากประสบการณ์ในการฝึกภาคปฎิบัติอย่างเต็มที่ ช่วยให้นักศึกษามีความมั่นใจ และมีความสุขในการเรียนภาคปฎิบัติ 2. ส่วนสัีมพัีนธภาพที่เป็นอุปสรรคและไม่ส่งเสริมการฝึกปฎิบัติงานทางด้านคลินิก ประกอบด้วย 2.1 บรรยากาศทางคลินิกที่ตึงเครียด 2.2 การสูญเสียในความเป็นบุคคล 2.3 การไม่ได้รับโอกาสในการทดลองฝึกปฎิบัติื และ 2.4 การปฎิบัติการพยาบาลที่ไม่สอดคล้องกัน ทำให้นักศึกษาไม่อย่ากขึ้นฝึกปฎิบัติงาน ทำให้การเรียนรู้ของนักศึกษาถูกจำกัด และไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร ผลการวิจัยครั้งนี้ได้ข้อมูลที่ลึกซึ้งเกี่ยวกับสัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาพยาบาลกับพยาบาลวิชาชีพในการฝึกปฎิบัติทางคลินิก สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการเสนอแนะเพิ่มการส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาพยาบาลและพยาบาลวิชาชีพเพื่อให้บรรลุเ้ป้าหมายของการฝึกภาคปฎิบัติในคลินิกCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23152 สัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาพยาบาลกับพยาบาลวิชาชีพในการฝึกปฏิบัติทางคลินิก = The Relationship between student nurse and staff nurse in clinical practice [printed text] / จุไร ประธาน, Author . - [S.l.] : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2548 . - 110 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์. [พย.ม. [การพยาบาลศึกษา]] - มหาวิทยาลัยนเรศวร 2548
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาลศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน
[LCSH]พฤติกรรมการช่วยเหลือ
[LCSH]สภาพแวดล้อมการทำงานKeywords: พยาบาล.
การศึกษา.
การสอน.Class number: WY100 จ249 2548 Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพ จุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาสัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาพยาบาลกับพยาบาลวิชาชีพในการฝึกปฏิบัติทางคลินิกตามการรับรู้ของนักศึกษาพยาบาล ผู้ให้ข้อมูลเป็นนักศึกษาพยาบาลชั้นปีทีื4 หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ในโครงการร่วมผลิตระหว่างมหาวิทยาลัยนเรศวร และวิทยาลัียพยาบาลบรมราชชนนี สังกัดกระทรวงสาํธารณสุข จำนวน 16 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก และการบันทึกเทป วิเคราห์ข้อมูลโดยใช้การตีความ
ผลการศึกษาพบว่า สัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาพยาบาลกับพยาบาลวิชาชีพในการฝึกปฎิบัติิทางคลินิกแบ่งเป็น 2 ด้าน คือ 1. สัมพันธภาพที่ส่งเสริมการฝึกปฏิบัติทางคลินิก และ 2. สัมพันธภาพที่ไม่ส่งเสริมการฝึกปฎิบัติทางคลินิก ของนักศึกษาประกอบด้วย 1. สัมพันธภาพที่ส่งเสริมการฝึกปฏิบัติทางคลินิก มี 4 ปัจจัย คือ 1.1 บรรยากาศการต้อนรับที่ดีและเป็นกันเองของพยาบาลวิชาชีพ 1.2 การให้ความเาใจใส่ดูแลในการสอนและนิเทศงาน 1.3 การแสดงความชื่นชมให้กำลังใจ และให้ความสำคัญ 1.4 การเรียนรู้และหาคำตอบด้วยตนเอง ปัจจัยทั้ง 4 ประการนี้ นักศึกษาระบุว่า ทำให้นักศึกษาได้รับประโยชน์จากประสบการณ์ในการฝึกภาคปฎิบัติอย่างเต็มที่ ช่วยให้นักศึกษามีความมั่นใจ และมีความสุขในการเรียนภาคปฎิบัติ 2. ส่วนสัีมพัีนธภาพที่เป็นอุปสรรคและไม่ส่งเสริมการฝึกปฎิบัติงานทางด้านคลินิก ประกอบด้วย 2.1 บรรยากาศทางคลินิกที่ตึงเครียด 2.2 การสูญเสียในความเป็นบุคคล 2.3 การไม่ได้รับโอกาสในการทดลองฝึกปฎิบัติื และ 2.4 การปฎิบัติการพยาบาลที่ไม่สอดคล้องกัน ทำให้นักศึกษาไม่อย่ากขึ้นฝึกปฎิบัติงาน ทำให้การเรียนรู้ของนักศึกษาถูกจำกัด และไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร ผลการวิจัยครั้งนี้ได้ข้อมูลที่ลึกซึ้งเกี่ยวกับสัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาพยาบาลกับพยาบาลวิชาชีพในการฝึกปฎิบัติทางคลินิก สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการเสนอแนะเพิ่มการส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาพยาบาลและพยาบาลวิชาชีพเพื่อให้บรรลุเ้ป้าหมายของการฝึกภาคปฎิบัติในคลินิกCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23152 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354595 WY100 จ249 2548 Thesis Main Library Thesis Corner Available