From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
SIU THE-T. การนำนโยบายด้านความมั่นคงของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ / ดารัณ จุนสมุทร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2021
Collection Title: SIU THE-T Title : การนำนโยบายด้านความมั่นคงของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ Original title : Implementation of Security Policies of Special Branch Bureau, Royal Thai Police Material Type: printed text Authors: ดารัณ จุนสมุทร, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2021 Pagination: ix, 183 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2021-02
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2021Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารงาน
[LCSH]ข้าราชการตำรวจ -- -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ความมั่นคง -- ไทยKeywords: ความมั่นคง, การนำนโยบายไปปฏิบัติ, การบริหารงาน, ตำรวจสันติบาล Abstract: งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการนำนโยบายด้านความมั่นคง ของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลสำเร็จต่อการนำนโยบายด้านความมั่นคง ของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ 3) เพื่อเสนอแนวทางในการนำนโยบายด้านความมั่นคง ของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ ผู้วิจัยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) คือ (1) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกของผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จากผู้บริหารกองบัญชาการตำรวจสันติบาล จำนวน 11 คน โดยใช้การวิเคราะห์แบบการจำแนกชนิดของข้อมูล (2) การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) การใช้ข้อมูลแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างจากกองบัญชาการตำรวจสันติบาล จำนวน 400 คน โดยใช้สมการถดถอยเชิงพหุคูณ
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า สภาพการนำนโยบายไปปฏิบัติ ด้านการบริหารงานมี 3 ด้าน บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมายคือ ประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประสิทธิภาพตามแผนปฏิบัติราชการและการพัฒนาองค์กร ส่วนคุณภาพการให้บริการไม่บรรลุผลสำเร็จ และแนวทางในการนำนโยบายไปปฏิบัติ ผู้นำยุคใหม่ต้องปรับตัวให้เท่าทันต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป อาศัยความร่วมมือของผู้ตามที่สอดคล้องกับแรงจูงใจ ด้วยการเปิดโอกาสการมีส่วนร่วมในการคิด วางแผนและการตัดสินใจ ส่วนการวิจัยเชิงปริมาณ ปัจจัยที่ส่งผลสำเร็จต่อการนำนโยบายไปปฏิบัติ พบว่า ปัจจัยเชิงนโยบาย ด้านภาวะผู้นำ มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.46, S.D. = 0.72) และการบริหารงานที่ส่งผลสำเร็จต่อการนำนโยบายไปปฏิบัติ ด้านการพัฒนาองค์กร มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.24, S.D. = 0.73)
ข้อเสนอแนะ ควรมีงบประมาณที่เพียงพอด้านคุณภาพการให้บริการ ที่สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและโปร่งใสCurricular : GE/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28403 SIU THE-T. การนำนโยบายด้านความมั่นคงของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ = Implementation of Security Policies of Special Branch Bureau, Royal Thai Police [printed text] / ดารัณ จุนสมุทร, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2021 . - ix, 183 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2021-02
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2021
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารงาน
[LCSH]ข้าราชการตำรวจ -- -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ความมั่นคง -- ไทยKeywords: ความมั่นคง, การนำนโยบายไปปฏิบัติ, การบริหารงาน, ตำรวจสันติบาล Abstract: งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการนำนโยบายด้านความมั่นคง ของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลสำเร็จต่อการนำนโยบายด้านความมั่นคง ของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ 3) เพื่อเสนอแนวทางในการนำนโยบายด้านความมั่นคง ของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ ผู้วิจัยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) คือ (1) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกของผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จากผู้บริหารกองบัญชาการตำรวจสันติบาล จำนวน 11 คน โดยใช้การวิเคราะห์แบบการจำแนกชนิดของข้อมูล (2) การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) การใช้ข้อมูลแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างจากกองบัญชาการตำรวจสันติบาล จำนวน 400 คน โดยใช้สมการถดถอยเชิงพหุคูณ
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า สภาพการนำนโยบายไปปฏิบัติ ด้านการบริหารงานมี 3 ด้าน บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมายคือ ประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประสิทธิภาพตามแผนปฏิบัติราชการและการพัฒนาองค์กร ส่วนคุณภาพการให้บริการไม่บรรลุผลสำเร็จ และแนวทางในการนำนโยบายไปปฏิบัติ ผู้นำยุคใหม่ต้องปรับตัวให้เท่าทันต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป อาศัยความร่วมมือของผู้ตามที่สอดคล้องกับแรงจูงใจ ด้วยการเปิดโอกาสการมีส่วนร่วมในการคิด วางแผนและการตัดสินใจ ส่วนการวิจัยเชิงปริมาณ ปัจจัยที่ส่งผลสำเร็จต่อการนำนโยบายไปปฏิบัติ พบว่า ปัจจัยเชิงนโยบาย ด้านภาวะผู้นำ มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.46, S.D. = 0.72) และการบริหารงานที่ส่งผลสำเร็จต่อการนำนโยบายไปปฏิบัติ ด้านการพัฒนาองค์กร มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.24, S.D. = 0.73)
ข้อเสนอแนะ ควรมีงบประมาณที่เพียงพอด้านคุณภาพการให้บริการ ที่สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและโปร่งใสCurricular : GE/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28403 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607834 SIU THE-T: IPAG-DPA-2021-02 c.1 Thesis Main Library Thesis Corner Available 32002000607886 SIU THE-T: IPAG-DPA-2021-02 c.2 Thesis Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การรับรู้ของพนักงานที่มีต่อรูปแบบการบริหารงานของผู้จัดการชาวไทย / สาลินี ชัยวัฒนพร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU THE-T Title : การรับรู้ของพนักงานที่มีต่อรูปแบบการบริหารงานของผู้จัดการชาวไทย Original title : Perceptions of Employees towards Thai Manager’s Management Style Material Type: printed text Authors: สาลินี ชัยวัฒนพร, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; เพชรรัตน์ โล้วิชากรติกุล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: xvi, 344 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2017-01
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารงาน
[LCSH]วัฒนธรรมองค์การ -- การจัดการ
[LCSH]แรงจูงใจในการทำงานKeywords: การรับรู้ของพนักงาน,
การยอมรับของพนักงาน,
การบริหารงาน,
ผู้จัดการชาวไทยAbstract: งานวิจัยนี้ เพื่อศึกษาการรับรู้ของพนักงานเกี่ยวกับรูปแบบของของผู้จัดการชาวไทย โดยมี
กลุ่มตัวอย่าง 800 คน และศึกษาผู้ที่สาเร็จปริญญาตรีและประกอบอาชีพในหน่วยงานภาครัฐและ
ภาคส่วนเอกชน อย่างละ 400 คน ซึ่งแบบสอบถามได้ถูกพัฒนามาจากแนวคิด 5 มิติทางวัฒนธรรมของ ฮอฟสตีท (Hofstede) และได้ไปพัฒนาต่อเนื่องและถูกใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง งานวิจัยนี้ใช้สถิติเชิงพรรณนาในการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม และทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปร โดยใช้สถิติเชิงอนุมาณในการหาค่า t-test และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว One-way ANOVA ในการทดสอบสมมติฐาน
ผลการวิจัยพบว่า ในส่วนงานราชการมีการรับรู้การบริหารของผู้จัดการชาวไทยรับรู้ว่า
หัวหน้างานมักหลีกเลี่ยงความเสี่ยงเป็นอันดับแรก (มิติการหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอน) รองลงมาคือการตั้งเป้าหมายในระยะยาว (มิติเป้าหมายระยะยาว) การรักษาระยะห่างจากลูกน้อง (มิติความเหลื่อมล้าในอานาจ) แบ่งแยกความสาคัญระหว่างผู้ชายกับผู้หญิง (มิติการแบ่งแยกชายหญิง) และมีความนิยมเป็นหมู่เหล่าค่อนข้างมาก (ปัจเจกบุคคลและกลุ่มนิยม) ตามลาดับ ส่วนการยอมรับการบริหารงานของผู้จัดการชาวไทยของพนักงานในส่วนงานราชการพบว่าให้ความสาคัญเกี่ยวกับลักษณะผู้นาของผู้บริหารเป็นอันดับแรก ถัดมาคือความพึงพอใจในการทางาน ความพึงพอใจในตัวผู้บังคับบัญชา ระบบการให้คุณให้โทษ การปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมในการทางาน ระบบการประเมินผล ตามลาดับ
นอกจากนี้ ผลการวิจัยในส่วนงานเอกชนมีการรับรู้ของพนักงานที่แตกต่างกัน โดยรับรู้ว่า
ผู้จัดการชาวไทยให้ความสาคัญกับการมีเป้าหมายในระยะยาวมากที่สุด รองลงมาคือการหลีกเลี่ยง
ความเสี่ยง (มิติหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอน) รักษาระยะห่างระหว่างตนเองกับลูกน้อง (มิติความเหลื่อมล้าในอานาจ) มีความรักพวกพ้อง (มิติปัจเจกบุคคลและกลุ่มนิยม) และเห็นว่าผู้หญิงมีความสาคัญเท่าเทียมกับผู้ชาย (มิติการแบ่งแยกชายหญิง) ตามลาดับ นอกจากนั้นผลการวิจัยยังแสดงให้เห็นว่าพนักงานชาวไทยทั้งภาครัฐและเอกชนส่วนใหญ่ การยอมรับการทางานภายใต้การบริหารงานของผู้จัดการชาวไทยว่ามีความพึงพอใจในการทางานเป็นอันดับแรก รองลงมาเป็นการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมในการทางาน ลักษณะของผู้นาของผู้บริหาร ความพึงพอใจในตัวผู้บังคับบัญชา ระบบการประเมินผลงาน และระบบการให้คุณให้โทษ ตามลาดับCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26777 SIU THE-T. การรับรู้ของพนักงานที่มีต่อรูปแบบการบริหารงานของผู้จัดการชาวไทย = Perceptions of Employees towards Thai Manager’s Management Style [printed text] / สาลินี ชัยวัฒนพร, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; เพชรรัตน์ โล้วิชากรติกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - xvi, 344 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOM-DBA-2017-01
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารงาน
[LCSH]วัฒนธรรมองค์การ -- การจัดการ
[LCSH]แรงจูงใจในการทำงานKeywords: การรับรู้ของพนักงาน,
การยอมรับของพนักงาน,
การบริหารงาน,
ผู้จัดการชาวไทยAbstract: งานวิจัยนี้ เพื่อศึกษาการรับรู้ของพนักงานเกี่ยวกับรูปแบบของของผู้จัดการชาวไทย โดยมี
กลุ่มตัวอย่าง 800 คน และศึกษาผู้ที่สาเร็จปริญญาตรีและประกอบอาชีพในหน่วยงานภาครัฐและ
ภาคส่วนเอกชน อย่างละ 400 คน ซึ่งแบบสอบถามได้ถูกพัฒนามาจากแนวคิด 5 มิติทางวัฒนธรรมของ ฮอฟสตีท (Hofstede) และได้ไปพัฒนาต่อเนื่องและถูกใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง งานวิจัยนี้ใช้สถิติเชิงพรรณนาในการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม และทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปร โดยใช้สถิติเชิงอนุมาณในการหาค่า t-test และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว One-way ANOVA ในการทดสอบสมมติฐาน
ผลการวิจัยพบว่า ในส่วนงานราชการมีการรับรู้การบริหารของผู้จัดการชาวไทยรับรู้ว่า
หัวหน้างานมักหลีกเลี่ยงความเสี่ยงเป็นอันดับแรก (มิติการหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอน) รองลงมาคือการตั้งเป้าหมายในระยะยาว (มิติเป้าหมายระยะยาว) การรักษาระยะห่างจากลูกน้อง (มิติความเหลื่อมล้าในอานาจ) แบ่งแยกความสาคัญระหว่างผู้ชายกับผู้หญิง (มิติการแบ่งแยกชายหญิง) และมีความนิยมเป็นหมู่เหล่าค่อนข้างมาก (ปัจเจกบุคคลและกลุ่มนิยม) ตามลาดับ ส่วนการยอมรับการบริหารงานของผู้จัดการชาวไทยของพนักงานในส่วนงานราชการพบว่าให้ความสาคัญเกี่ยวกับลักษณะผู้นาของผู้บริหารเป็นอันดับแรก ถัดมาคือความพึงพอใจในการทางาน ความพึงพอใจในตัวผู้บังคับบัญชา ระบบการให้คุณให้โทษ การปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมในการทางาน ระบบการประเมินผล ตามลาดับ
นอกจากนี้ ผลการวิจัยในส่วนงานเอกชนมีการรับรู้ของพนักงานที่แตกต่างกัน โดยรับรู้ว่า
ผู้จัดการชาวไทยให้ความสาคัญกับการมีเป้าหมายในระยะยาวมากที่สุด รองลงมาคือการหลีกเลี่ยง
ความเสี่ยง (มิติหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอน) รักษาระยะห่างระหว่างตนเองกับลูกน้อง (มิติความเหลื่อมล้าในอานาจ) มีความรักพวกพ้อง (มิติปัจเจกบุคคลและกลุ่มนิยม) และเห็นว่าผู้หญิงมีความสาคัญเท่าเทียมกับผู้ชาย (มิติการแบ่งแยกชายหญิง) ตามลาดับ นอกจากนั้นผลการวิจัยยังแสดงให้เห็นว่าพนักงานชาวไทยทั้งภาครัฐและเอกชนส่วนใหญ่ การยอมรับการทางานภายใต้การบริหารงานของผู้จัดการชาวไทยว่ามีความพึงพอใจในการทางานเป็นอันดับแรก รองลงมาเป็นการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมในการทางาน ลักษณะของผู้นาของผู้บริหาร ความพึงพอใจในตัวผู้บังคับบัญชา ระบบการประเมินผลงาน และระบบการให้คุณให้โทษ ตามลาดับCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26777 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593390 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-01 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593424 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-01 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การศึกษาการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจตระเวนชายแดน จำกัด / จันทนา ฝ่ายกระโทก / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การศึกษาการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจตระเวนชายแดน จำกัด Original title : The Study of Management with Good Governance in the Cooperative Border Patrol Police Limited Material Type: printed text Authors: จันทนา ฝ่ายกระโทก, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: ix, 99 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-01
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารงาน
[LCSH]ธรรมาภิบาล
[LCSH]สหกรณ์ออมทรัพย์Keywords: การบริหารงาน,
หลักธรรมาภิบาล,
สหกรณ์ออมทรัพย์Abstract: การศึกษาครั้งนี้เพื่อศึกษาสภาพการบริหารงานของสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจตระเวนชายแดน จำกัด ที่เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล และเพื่อศึกษาเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อการบริหารงานให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เป็นข้าราชการตำรวจตระเวนชายแดนที่เป็นสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจตระเวนชายแดน จำกัด จำนวน 300 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวมรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพส่วนบุคคล สิ่งสนับสนุนการบริหารงานเพื่อให้การบริหารงานเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และทำการทดสอบรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ ที่ระดับ .05 โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จำนวน 215 คน คิดเป็นร้อยละ 71.70 โดยมีอายุระหว่าง 41 – 50 ปี คิดเป็นร้อยละ 29.30 จบการศึกษาระดับปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 36.30 มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 20,001 – 25,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 28.30 มีประสบการณ์ในการทำงาน 21 ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 43.70 มีส่วนร่วมตัดสินใจ คิดเป็นร้อยละ 36.00 มีความเห็นว่างบประมาณมีความเหมาะสม คิดเป็นร้อยละ 81.30 และมีการรับรู้ข่าวสารทางหนังสือ คิดเป็นร้อยละ 35.00 สมาชิกมีความคิดเห็นต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจตระเวนชายแดน จำกัด โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านคุณธรรม ด้านนิติธรรม ด้านความโปร่งใส ด้านความรับผิดชอบ ด้านการมีส่วนร่วม และ ด้านความคุ้มค่า ซึ่งเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาลตามหลักพื้นฐานธรรมาภิบาลของระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมือง และสังคมที่ดี พ.ศ.2542 Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26722 SIU IS-T. การศึกษาการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจตระเวนชายแดน จำกัด = The Study of Management with Good Governance in the Cooperative Border Patrol Police Limited [printed text] / จันทนา ฝ่ายกระโทก, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - ix, 99 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-01
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารงาน
[LCSH]ธรรมาภิบาล
[LCSH]สหกรณ์ออมทรัพย์Keywords: การบริหารงาน,
หลักธรรมาภิบาล,
สหกรณ์ออมทรัพย์Abstract: การศึกษาครั้งนี้เพื่อศึกษาสภาพการบริหารงานของสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจตระเวนชายแดน จำกัด ที่เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล และเพื่อศึกษาเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อการบริหารงานให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เป็นข้าราชการตำรวจตระเวนชายแดนที่เป็นสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจตระเวนชายแดน จำกัด จำนวน 300 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวมรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพส่วนบุคคล สิ่งสนับสนุนการบริหารงานเพื่อให้การบริหารงานเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และทำการทดสอบรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ ที่ระดับ .05 โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จำนวน 215 คน คิดเป็นร้อยละ 71.70 โดยมีอายุระหว่าง 41 – 50 ปี คิดเป็นร้อยละ 29.30 จบการศึกษาระดับปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 36.30 มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 20,001 – 25,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 28.30 มีประสบการณ์ในการทำงาน 21 ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 43.70 มีส่วนร่วมตัดสินใจ คิดเป็นร้อยละ 36.00 มีความเห็นว่างบประมาณมีความเหมาะสม คิดเป็นร้อยละ 81.30 และมีการรับรู้ข่าวสารทางหนังสือ คิดเป็นร้อยละ 35.00 สมาชิกมีความคิดเห็นต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจตระเวนชายแดน จำกัด โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านคุณธรรม ด้านนิติธรรม ด้านความโปร่งใส ด้านความรับผิดชอบ ด้านการมีส่วนร่วม และ ด้านความคุ้มค่า ซึ่งเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาลตามหลักพื้นฐานธรรมาภิบาลของระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมือง และสังคมที่ดี พ.ศ.2542 Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26722 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593275 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-01 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593283 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-01 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available พื้นฐานการบริหารงาน เพื่อมุ่งสู่เรียบง่ายสบายใจ 5 ล้าน 4 OK / สมหวัง วิทยาปัญญานนท์ / สระบุรี : บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย (ท่าหลวง) จำกัด - 2546
Title : พื้นฐานการบริหารงาน เพื่อมุ่งสู่เรียบง่ายสบายใจ 5 ล้าน 4 OK Material Type: printed text Authors: สมหวัง วิทยาปัญญานนท์, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1. Publisher: สระบุรี : บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย (ท่าหลวง) จำกัด Publication Date: 2546 Pagination: 32 หน้า Layout: pbk. Size: 22 ซม. ISBN (or other code): 9749138716 Price: 32 Baht Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารงาน
[LCSH]แนวพุทธCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=6671 พื้นฐานการบริหารงาน เพื่อมุ่งสู่เรียบง่ายสบายใจ 5 ล้าน 4 OK [printed text] / สมหวัง วิทยาปัญญานนท์, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 1. . - สระบุรี : บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย (ท่าหลวง) จำกัด, 2546 . - 32 หน้า : pbk. ; 22 ซม.
ISBN : 9749138716 : 32 Baht
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารงาน
[LCSH]แนวพุทธCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=6671 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000156933 HD37.T5 ส45 2546 Book Main Library General Shelf Available