From this page you can:
Home |
Search results
4 result(s) search for keyword(s) 'ไวรัส, เครือข่าย, โซเชียลมีเดีย'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
SIU IS-T. การศึกษาการแพร่กระจายของไวรัสคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายโซเชียลมีเดีย / อติราช ศุภกุล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การศึกษาการแพร่กระจายของไวรัสคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายโซเชียลมีเดีย Original title : A study on computer virus spreading through social media network Material Type: printed text Authors: อติราช ศุภกุล, Author ; เอกวุฒิ สุจเร, Associated Name ; กฤษดา มาลีวงศ์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: v, 23 น. Layout: ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOIT-MSIT-2017-02
Independent Study. [M.S.[Information Technology]]--Shinawatra University, 2017Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]เครือข่ายสังคมแบบออนไลน์
[LCSH]ไวรัสคอมพิวเตอร์Keywords: ไวรัส,
เครือข่าย,
โซเชียลมีเดียCurricular : BSCS/GE/MSIT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27543 SIU IS-T. การศึกษาการแพร่กระจายของไวรัสคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายโซเชียลมีเดีย = A study on computer virus spreading through social media network [printed text] / อติราช ศุภกุล, Author ; เอกวุฒิ สุจเร, Associated Name ; กฤษดา มาลีวงศ์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - v, 23 น. : ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOIT-MSIT-2017-02
Independent Study. [M.S.[Information Technology]]--Shinawatra University, 2017
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]เครือข่ายสังคมแบบออนไลน์
[LCSH]ไวรัสคอมพิวเตอร์Keywords: ไวรัส,
เครือข่าย,
โซเชียลมีเดียCurricular : BSCS/GE/MSIT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27543 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000596583 SIU IS-T: SOIT-MSIT-2017-02 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000596575 SIU IS-T: SOIT-MSIT-2017-02 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ในโครงการงานสังคมสงเคราะห์เครือข่ายพระมหาไถ่ (บาทหลวงเรย์มอนด์ เอ เบรนนัน) / เกศสุดา อินทร์สาหร่าย / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Collection Title: SIU THE-T Title : การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ในโครงการงานสังคมสงเคราะห์เครือข่ายพระมหาไถ่ (บาทหลวงเรย์มอนด์ เอ เบรนนัน) Original title : The Development of the Quality of Life of the Disabled in the Social Network Project of the Redemptorist Foundation for People with Disabilities (Father Raymond A. Brennan) Material Type: printed text Authors: เกศสุดา อินทร์สาหร่าย, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: xi, 216 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-01
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิต -- คนพิการ
[LCSH]บริการสังคมKeywords: การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ,
เครือข่ายพระมหาไถ่ (บาทหลวงเรย์มอนด์ เอ เบรนนัน)Abstract: การวิจัยเรื่องการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในโครงการงานสังคมสงเคราะห์เครือข่าย พระมหาไถ่ (บาทหลวงเรย์มอนด์ เอ เบรนนัน) เป็นงานวิจัยที่มุ่งเน้นให้เกิดการพัฒนาคนพิการให้สามารถพึ่งพาตนเอง และเป็นแนวทางในการช่วยให้คนพิการที่เพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมากมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างอิสระ เสมอภาค เท่าเทียมกับบุคคลทั่ว ๆ เพื่อเป็นแนวทางสามารถในการนำชุดความรู้นี้ไปใช้กับหน่วยงานอื่นต่อไป
การศึกษาวิจัยครั้งนี้ เป็นการศึกษาวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Method Research) โดยการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) และการวิชัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาปัญหาของการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในงานสังคมสงเคราะห์เครือข่ายพระมหาไถ่ (บาทหลวงเรย์มอนด์ เอ เบรนนัน) 2. เพื่อศึกษาสาเหตุของปัญหาของการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในงานสังคมสงเคราะห์เครือข่ายพระมหาไถ่ (บาทหลวงเรย์มอนด์ เอ เบรนนัน) 3. เพื่อศึกษาและเสนอวิธีการแก้ไขปัญหาและข้อเสนอแนะการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในงานสังคมสงเคราะห์เครือข่ายพระมหาไถ่ (บาทหลวงเรย์มอนด์ เอ เบรนนัน) 4. เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในงานสังคมสงเคราะห์เครือข่ายพระมหาไถ่ (บาทหลวง เรย์มอนด์ เอ เบรนนัน)
ผลการวิจัย ปัจจัยด้านพฤติกรรมของครอบครัว พบว่าครอบครัวต้องเข้าใจความรู้สึกทางด้านสภาพจิตใจของคนพิการ ยอมรับสภาพความพิการ และสร้างความเข็มแข็งโดยการให้คนพิการเห็นคุณค่าในตนเองพร้อมที่จะเรียนรู้การอยู่ด้วยตนเอง ปัจจัยด้านความร่วมมือขององค์กรในเครือข่าย พบว่าการสนับสนุนของภาครัฐไม่เพียงพอและไม่ตรงตามเป้าหมายความต้องการของคนพิการ ดังนั้นสิ่งที่สำคัญต่อการสนับสนุนให้องค์กรคนพิการหรือตัวคนพิการต้องยึดหลักการส่งเสริมโดยเน้นความสำคัญต่อการพัฒนาศักยภาพความจำเป็นต่อการดำรงชีวิตของคนพิการเป็นสำคัญ ปัจจัยด้านการจัดการศึกษา การอบรม พบว่าหลักสูตรการเรียนการสอนไม่ตรงกับความต้องการตลาดแรงงาน ส่งผลให้การนำความรู้ในห้องเรียนมาปฏิบัติจริงยังไม่สามารถตอบโจทย์องค์กรที่จ้างแรงงานคนพิการในตลาดแรงงานในสังคมปัจจุบัน รวมทั้งการพัฒนาคนพิการสู่นักกีฬาอาชีพยังไม่มีหลักประกัน มาตรฐานค่าตอบแทนและขาดนักวิเคราะห์ที่มีความเชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์การกีฬาเข้ามาช่วยเหลือคนพิการ ดังนั้นควรกระตุ้นระบบการศึกษาไทยจะก่อให้เกิดการพัฒนาคนพิการให้เป็นคนที่มีศักยภาพทางการศึกษาพร้อมต่อการออกสู่สังคมในวัยทำงาน สุดท้ายปัจจัยด้านพัฒนาทักษะชีวิตในการอยู่ร่วมกับสังคม พบว่าคนพิการมีความรู้สึกว่ามีความเลื่อมล้ำ ขาดความเสมอภาค การให้บริการระหว่างคนพิการกับคนปกติ ดังนั้นการสนับสนุนทางสังคมที่ทำให้คนพิการรู้สึกมีคุณค่าต้องตระหนักตั้งแต่ระดับชุมชนเพราะเป็นกลุ่มที่อยู่ใกล้ชิดกับคนพิการลำดับแรกเพื่อส่งเสริมการอยู่ร่วมกันในสังคมระหว่างคนปกติและคนพิการCurricular : MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28108 SIU THE-T. การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ในโครงการงานสังคมสงเคราะห์เครือข่ายพระมหาไถ่ (บาทหลวงเรย์มอนด์ เอ เบรนนัน) = The Development of the Quality of Life of the Disabled in the Social Network Project of the Redemptorist Foundation for People with Disabilities (Father Raymond A. Brennan) [printed text] / เกศสุดา อินทร์สาหร่าย, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - xi, 216 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-01
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิต -- คนพิการ
[LCSH]บริการสังคมKeywords: การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ,
เครือข่ายพระมหาไถ่ (บาทหลวงเรย์มอนด์ เอ เบรนนัน)Abstract: การวิจัยเรื่องการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในโครงการงานสังคมสงเคราะห์เครือข่าย พระมหาไถ่ (บาทหลวงเรย์มอนด์ เอ เบรนนัน) เป็นงานวิจัยที่มุ่งเน้นให้เกิดการพัฒนาคนพิการให้สามารถพึ่งพาตนเอง และเป็นแนวทางในการช่วยให้คนพิการที่เพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมากมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างอิสระ เสมอภาค เท่าเทียมกับบุคคลทั่ว ๆ เพื่อเป็นแนวทางสามารถในการนำชุดความรู้นี้ไปใช้กับหน่วยงานอื่นต่อไป
การศึกษาวิจัยครั้งนี้ เป็นการศึกษาวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Method Research) โดยการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) และการวิชัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาปัญหาของการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในงานสังคมสงเคราะห์เครือข่ายพระมหาไถ่ (บาทหลวงเรย์มอนด์ เอ เบรนนัน) 2. เพื่อศึกษาสาเหตุของปัญหาของการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในงานสังคมสงเคราะห์เครือข่ายพระมหาไถ่ (บาทหลวงเรย์มอนด์ เอ เบรนนัน) 3. เพื่อศึกษาและเสนอวิธีการแก้ไขปัญหาและข้อเสนอแนะการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในงานสังคมสงเคราะห์เครือข่ายพระมหาไถ่ (บาทหลวงเรย์มอนด์ เอ เบรนนัน) 4. เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในงานสังคมสงเคราะห์เครือข่ายพระมหาไถ่ (บาทหลวง เรย์มอนด์ เอ เบรนนัน)
ผลการวิจัย ปัจจัยด้านพฤติกรรมของครอบครัว พบว่าครอบครัวต้องเข้าใจความรู้สึกทางด้านสภาพจิตใจของคนพิการ ยอมรับสภาพความพิการ และสร้างความเข็มแข็งโดยการให้คนพิการเห็นคุณค่าในตนเองพร้อมที่จะเรียนรู้การอยู่ด้วยตนเอง ปัจจัยด้านความร่วมมือขององค์กรในเครือข่าย พบว่าการสนับสนุนของภาครัฐไม่เพียงพอและไม่ตรงตามเป้าหมายความต้องการของคนพิการ ดังนั้นสิ่งที่สำคัญต่อการสนับสนุนให้องค์กรคนพิการหรือตัวคนพิการต้องยึดหลักการส่งเสริมโดยเน้นความสำคัญต่อการพัฒนาศักยภาพความจำเป็นต่อการดำรงชีวิตของคนพิการเป็นสำคัญ ปัจจัยด้านการจัดการศึกษา การอบรม พบว่าหลักสูตรการเรียนการสอนไม่ตรงกับความต้องการตลาดแรงงาน ส่งผลให้การนำความรู้ในห้องเรียนมาปฏิบัติจริงยังไม่สามารถตอบโจทย์องค์กรที่จ้างแรงงานคนพิการในตลาดแรงงานในสังคมปัจจุบัน รวมทั้งการพัฒนาคนพิการสู่นักกีฬาอาชีพยังไม่มีหลักประกัน มาตรฐานค่าตอบแทนและขาดนักวิเคราะห์ที่มีความเชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์การกีฬาเข้ามาช่วยเหลือคนพิการ ดังนั้นควรกระตุ้นระบบการศึกษาไทยจะก่อให้เกิดการพัฒนาคนพิการให้เป็นคนที่มีศักยภาพทางการศึกษาพร้อมต่อการออกสู่สังคมในวัยทำงาน สุดท้ายปัจจัยด้านพัฒนาทักษะชีวิตในการอยู่ร่วมกับสังคม พบว่าคนพิการมีความรู้สึกว่ามีความเลื่อมล้ำ ขาดความเสมอภาค การให้บริการระหว่างคนพิการกับคนปกติ ดังนั้นการสนับสนุนทางสังคมที่ทำให้คนพิการรู้สึกมีคุณค่าต้องตระหนักตั้งแต่ระดับชุมชนเพราะเป็นกลุ่มที่อยู่ใกล้ชิดกับคนพิการลำดับแรกเพื่อส่งเสริมการอยู่ร่วมกันในสังคมระหว่างคนปกติและคนพิการCurricular : MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28108 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607328 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-01 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607326 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-01 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ของประชาชนในกรุงเทพมหานคร กรณีศึกษา: พื้นที่เขตพญาไท / อัมพรศิริ เอื้อวัฒนานุกูล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ของประชาชนในกรุงเทพมหานคร กรณีศึกษา: พื้นที่เขตพญาไท Original title : Factors Affecting the Selection of Mobile Networks of People in Bangkok Metropolis Case Study: Areas of Phayathai District Material Type: printed text Authors: อัมพรศิริ เอื้อวัฒนานุกูล, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: ix, 71 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-06
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]โทรศัพท์เคลื่อนที่
[LCSH]โทรศัพท์เคลื่อนที่ -- พฤติกรรมผู้ใช้บริการKeywords: เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่,
ผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่,
พฤติกรรมของผู้ใช้บริการAbstract: วัตถุประสงค์ในการศึกษาครั้งนี้เพื่อ 1) ศึกษาลักษณะประชากรของผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ที่มีผลต่อการเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ในกรุงเทพมหานคร 2) ศึกษาพฤติกรรมการใช้ของประชาชนที่มีผลต่อการเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ในกรุงเทพมหานคร 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิภาพการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ของประชาชนกับการเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ของประชาชนในกรุงเทพมหานคร
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ประชาชนผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ในกรุงเทพมหานคร เขตพญาไท จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ t test การวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนจำแนกทางเดียว (One-way analysis of variance – ANOVA) และเปรียบเทียบเชิงซ้อนรายคู่ (multiple-comparison) ของ Scheffe ในกรณีที่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 400 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 20-24 ปี สถานภาพโสด ประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน/รับจ้าง การศึกษาสูงสุดระดับปริญญาตรี รายได้ต่อเดือน 10,001-20,000 บาท และนับถือศาสนาพุทธ ส่วนใหญ่มีจำนวนเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่ใช้งาน 1 เครือข่าย เป็นระบบรายเดือน (Postpaid) เครือข่าย AIS และไม่เคยเปลี่ยนเครือข่ายการใช้งาน ปัจจัยที่ทำให้มีแนวโน้มการเปลี่ยนเครือข่าย คือ ประสิทธิภาพเครือข่ายที่ดีกว่า โดยระยะเวลาในการใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่เฉลี่ยต่อวัน มากกว่า 4 ชั่วโมง ใช้งานในช่วงเวลา 16.01 – 21.00 น. ค่าใช้บริการเฉลี่ยต่อเดือนประมาณ 501 – 1,000 บาท กิจกรรมที่ใช้งานบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ ส่วนใหญ่ใช้งานสังคมออนไลน์ เช่น Facebook, Twitter บุคคลที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ คือตนเอง ส่วนของข้อมูลเกี่ยวกับระดับปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์ เคลื่อนที่ โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน สามารถเรียงจากมากไปน้อยได้ดังนี้ ด้านประสิทธิภาพสัญญาณ รองลงมา คือ ด้านความสะดวกและการให้บริการ ด้านบุคลากร ด้านราคา ด้านภาพลักษณ์ของเครือข่ายผู้ให้บริการ ด้านสถานที่จัดจำหน่าย และด้านการส่งเสริมการตลาด ตามลำดับCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27449 SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ของประชาชนในกรุงเทพมหานคร กรณีศึกษา: พื้นที่เขตพญาไท = Factors Affecting the Selection of Mobile Networks of People in Bangkok Metropolis Case Study: Areas of Phayathai District [printed text] / อัมพรศิริ เอื้อวัฒนานุกูล, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - ix, 71 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-06
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]โทรศัพท์เคลื่อนที่
[LCSH]โทรศัพท์เคลื่อนที่ -- พฤติกรรมผู้ใช้บริการKeywords: เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่,
ผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่,
พฤติกรรมของผู้ใช้บริการAbstract: วัตถุประสงค์ในการศึกษาครั้งนี้เพื่อ 1) ศึกษาลักษณะประชากรของผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ที่มีผลต่อการเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ในกรุงเทพมหานคร 2) ศึกษาพฤติกรรมการใช้ของประชาชนที่มีผลต่อการเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ในกรุงเทพมหานคร 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิภาพการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ของประชาชนกับการเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ของประชาชนในกรุงเทพมหานคร
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ประชาชนผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ในกรุงเทพมหานคร เขตพญาไท จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ t test การวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนจำแนกทางเดียว (One-way analysis of variance – ANOVA) และเปรียบเทียบเชิงซ้อนรายคู่ (multiple-comparison) ของ Scheffe ในกรณีที่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 400 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 20-24 ปี สถานภาพโสด ประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน/รับจ้าง การศึกษาสูงสุดระดับปริญญาตรี รายได้ต่อเดือน 10,001-20,000 บาท และนับถือศาสนาพุทธ ส่วนใหญ่มีจำนวนเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่ใช้งาน 1 เครือข่าย เป็นระบบรายเดือน (Postpaid) เครือข่าย AIS และไม่เคยเปลี่ยนเครือข่ายการใช้งาน ปัจจัยที่ทำให้มีแนวโน้มการเปลี่ยนเครือข่าย คือ ประสิทธิภาพเครือข่ายที่ดีกว่า โดยระยะเวลาในการใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่เฉลี่ยต่อวัน มากกว่า 4 ชั่วโมง ใช้งานในช่วงเวลา 16.01 – 21.00 น. ค่าใช้บริการเฉลี่ยต่อเดือนประมาณ 501 – 1,000 บาท กิจกรรมที่ใช้งานบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ ส่วนใหญ่ใช้งานสังคมออนไลน์ เช่น Facebook, Twitter บุคคลที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ คือตนเอง ส่วนของข้อมูลเกี่ยวกับระดับปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้เครือข่ายโทรศัพท์ เคลื่อนที่ โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน สามารถเรียงจากมากไปน้อยได้ดังนี้ ด้านประสิทธิภาพสัญญาณ รองลงมา คือ ด้านความสะดวกและการให้บริการ ด้านบุคลากร ด้านราคา ด้านภาพลักษณ์ของเครือข่ายผู้ให้บริการ ด้านสถานที่จัดจำหน่าย และด้านการส่งเสริมการตลาด ตามลำดับCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27449 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000595817 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-06 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000595825 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-06 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available รายงานข้อเสนอแนะเชิงนโยบายของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติต่อกรณีข้อร้องเรียนของเครือข่ายประชาชนภาคตะวันออก / คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ / กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ - 2556
Title : รายงานข้อเสนอแนะเชิงนโยบายของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติต่อกรณีข้อร้องเรียนของเครือข่ายประชาชนภาคตะวันออก Material Type: printed text Authors: คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, Author ; คนึงนิจ ศรีบัวเนียม, Author Publisher: กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ Publication Date: 2556 Pagination: 196 หน้า. Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-721314-9 Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การร้องเรียน -- ไทย (ภาคตะวันออก)
[LCSH]สิทธิชุมชน -- การคุ้มครอง -- ไทย (ภาคตะวันออก)
[LCSH]สิทธิมนุษยชน -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ -- ไทย (ภาคตะวันออก)Keywords: เครือข่ายประชาชน.
สิทธิมนุษยชน.
สิทธิชุมชน.
การร้องเรียน.Class number: K/TH996 ค123 2556 Contents note: อำนาจหน้าที่ (Authority and Duties) กับสถานะและบทบาท (Status and Roles) ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติเกี่ยวกับสิทธิต่างๆ เพื่อการเข้าถึงซึ่งสุขภาพที่ดี ทรัพยากรธรรมชาติที่มีคุณภาพ และสิ่งแวดล้อมที่ดี -- ข้อพิจารณาเรื่องร้องเรียนของเครื่อข่ายประชาชนภาคตะวันออก -- ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในภาพรวมระดับประเทศ กรณีการคุ้มครองสิทธิชุมชน ตามมาตรา 66 และมาตรา 67 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 Curricular : BALA/BBA/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23256 รายงานข้อเสนอแนะเชิงนโยบายของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติต่อกรณีข้อร้องเรียนของเครือข่ายประชาชนภาคตะวันออก [printed text] / คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, Author ; คนึงนิจ ศรีบัวเนียม, Author . - กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, 2556 . - 196 หน้า. ; 30 ซม.
ISBN : 978-6-16-721314-9 : บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การร้องเรียน -- ไทย (ภาคตะวันออก)
[LCSH]สิทธิชุมชน -- การคุ้มครอง -- ไทย (ภาคตะวันออก)
[LCSH]สิทธิมนุษยชน -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ -- ไทย (ภาคตะวันออก)Keywords: เครือข่ายประชาชน.
สิทธิมนุษยชน.
สิทธิชุมชน.
การร้องเรียน.Class number: K/TH996 ค123 2556 Contents note: อำนาจหน้าที่ (Authority and Duties) กับสถานะและบทบาท (Status and Roles) ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติเกี่ยวกับสิทธิต่างๆ เพื่อการเข้าถึงซึ่งสุขภาพที่ดี ทรัพยากรธรรมชาติที่มีคุณภาพ และสิ่งแวดล้อมที่ดี -- ข้อพิจารณาเรื่องร้องเรียนของเครื่อข่ายประชาชนภาคตะวันออก -- ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในภาพรวมระดับประเทศ กรณีการคุ้มครองสิทธิชุมชน ตามมาตรา 66 และมาตรา 67 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 Curricular : BALA/BBA/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23256 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000356202 K/TH996 ค123 2556 Book Main Library General Shelf Available