From this page you can:
Home |
Search results
5 result(s) search for keyword(s) 'โยคะ. กายบริหาร.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
Old book collection. โยคะชาร์จพลังชีวิต / ครูนิด / แซทโฟร์ พรินติ้ง - 2556
Collection Title: Old book collection Title : โยคะชาร์จพลังชีวิต : โยคะแล้วสวย หน้าเด็ก ทำได้เอง Material Type: printed text Authors: ครูนิด, Author Publisher: แซทโฟร์ พรินติ้ง Publication Date: 2556 Pagination: 208 หน้า. Layout: ภาพประกอบ. Size: 20 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-275324-4 Price: 185.00 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กายบริหาร
[LCSH]กายบริหาร -- ไทย
[LCSH]โยคะKeywords: โยคะ.
กายบริหาร.Class number: QT255 ค174 2556 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23506 Old book collection. โยคะชาร์จพลังชีวิต : โยคะแล้วสวย หน้าเด็ก ทำได้เอง [printed text] / ครูนิด, Author . - กรุงเทพ ฯ : แซทโฟร์ พรินติ้ง, 2556 . - 208 หน้า. : ภาพประกอบ. ; 20 ซม.
ISBN : 978-6-16-275324-4 : 185.00
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กายบริหาร
[LCSH]กายบริหาร -- ไทย
[LCSH]โยคะKeywords: โยคะ.
กายบริหาร.Class number: QT255 ค174 2556 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23506 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000392033 QT255 ค174 2556 c.1 Book Main Library Library Counter Available 32002000392041 QT255 ค174 2556 c.2 Book Main Library Library Counter Available 32002000392017 QT255 ค174 2556 c.3 Book Main Library Library Counter Available การพัฒนารูปแบบการป้องกันโรคซึมเศร้า / สุริยะ จงแพ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 ([10/17/2017])
[article]
Title : การพัฒนารูปแบบการป้องกันโรคซึมเศร้า : ด้วยการให้การปรึกษาแบบกลุ่มแนวพุทธธรรมและโยค Original title : Development of prevention model for depressive disorder by buddhist group conseling an yoga Material Type: printed text Authors: สุริยะ จงแพ, Author ; สุณี ฉิมพิบูลย์, Author ; นภสร แก้วนิลกุล, Author ; มุนา วงศาโรจน์, Author ; พัชรี รัตนาพรพิทักษ์, Author ; ศิริเพ็ญ แก้วประดิษฐ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.66-79 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 [10/17/2017] . - p.66-79Keywords: Group counseling. Buddhism. yoga. depressive disorder. การให้การปรึกษาแบบกลุ่ม. พุทธศาสนา. โยคะ. โรคซึมเศร้า. Abstract: วัตถุประสงค์: เพื่อพัฒนารูปแบบการป้องกันโรคซึมเศร้าด้วยการให้การปรึกษาแบบกลุ่มแนวพุทธธรรมและโยคะ และประเมินผลการนำรูปแบบไปใช้
วิธีการศึกษา:ดำเนินการตามรูปแบบของโครงการพัฒนาการวิจัยสู่การปฏิบัติเพื่อพัฒนาคุณภาพการบริการ และการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย ผลการพัฒนาพบว่ามีงานวิจัยที่นำมาศึกษา 12 เรื่อง สรุปได้เป็นรูปแบบการให้การปรึกษาแนวพุทธธรรมแบบกลุ่มปิด ร่วมกับอาสนะโยคะใช้เวลาบำบัด 3 ครั้งๆ ละ 120 นาที ผู้บำบัดเป็นพยาบาลและจิตอาสา กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้มีภาวะซึมเศร้า และผู้ป่วยโรคซึมเศร้าในชุมชนจำนวน 10 คน วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วยการแจกแจงความถี่ และค่าร้อยละ
ผลการศึกษา: หลังได้รับการบำบัดกลุ่มตัวอย่างมีคะแนนเฉลี่ยของภาวะซึมเศร้าต่ำกว่าก่อนได้รับการบำบัด
สรุป: ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่ารูปแบบการป้องกันโรคซึมเศร้าด้วยการให้การปรึกษาแบบกลุ่มแนวพุทธธรรมและโยคะสามารถลดภาวะซึมเศร้าของผู้ที่มีภาวะซึมเศร้าและผู้ป่วยโรคซึมเศร้าได้
Abstract
Objectives: To develop the model of prevention for depressive disorder by Buddhist group counseling and yoga and evaluate the model implementation.
Methods: The model based on capstone project and routine to research. A total of 12 research studies were selected in this study. Major findings regarding developed Buddhist close group counseling and yoga. There are three activities, each lasting 120 minutes by nurses and volunteer. The sample included ten persons with depression and depressive disorder in the community. Data were analyzed by descriptive statistics.
Results: The score of Beck Depression Inventory (BDI) decreased after receiving intervention.
Conclusion: Results from this study revealed that the model of prevention for depressive disorder by Buddhist group counseling and yoga can decrease depression of persons with depression and depressive disorder.Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27373 [article] การพัฒนารูปแบบการป้องกันโรคซึมเศร้า = Development of prevention model for depressive disorder by buddhist group conseling an yoga : ด้วยการให้การปรึกษาแบบกลุ่มแนวพุทธธรรมและโยค [printed text] / สุริยะ จงแพ, Author ; สุณี ฉิมพิบูลย์, Author ; นภสร แก้วนิลกุล, Author ; มุนา วงศาโรจน์, Author ; พัชรี รัตนาพรพิทักษ์, Author ; ศิริเพ็ญ แก้วประดิษฐ์, Author . - 2017 . - p.66-79.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 [10/17/2017] . - p.66-79Keywords: Group counseling. Buddhism. yoga. depressive disorder. การให้การปรึกษาแบบกลุ่ม. พุทธศาสนา. โยคะ. โรคซึมเศร้า. Abstract: วัตถุประสงค์: เพื่อพัฒนารูปแบบการป้องกันโรคซึมเศร้าด้วยการให้การปรึกษาแบบกลุ่มแนวพุทธธรรมและโยคะ และประเมินผลการนำรูปแบบไปใช้
วิธีการศึกษา:ดำเนินการตามรูปแบบของโครงการพัฒนาการวิจัยสู่การปฏิบัติเพื่อพัฒนาคุณภาพการบริการ และการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย ผลการพัฒนาพบว่ามีงานวิจัยที่นำมาศึกษา 12 เรื่อง สรุปได้เป็นรูปแบบการให้การปรึกษาแนวพุทธธรรมแบบกลุ่มปิด ร่วมกับอาสนะโยคะใช้เวลาบำบัด 3 ครั้งๆ ละ 120 นาที ผู้บำบัดเป็นพยาบาลและจิตอาสา กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้มีภาวะซึมเศร้า และผู้ป่วยโรคซึมเศร้าในชุมชนจำนวน 10 คน วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วยการแจกแจงความถี่ และค่าร้อยละ
ผลการศึกษา: หลังได้รับการบำบัดกลุ่มตัวอย่างมีคะแนนเฉลี่ยของภาวะซึมเศร้าต่ำกว่าก่อนได้รับการบำบัด
สรุป: ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่ารูปแบบการป้องกันโรคซึมเศร้าด้วยการให้การปรึกษาแบบกลุ่มแนวพุทธธรรมและโยคะสามารถลดภาวะซึมเศร้าของผู้ที่มีภาวะซึมเศร้าและผู้ป่วยโรคซึมเศร้าได้
Abstract
Objectives: To develop the model of prevention for depressive disorder by Buddhist group counseling and yoga and evaluate the model implementation.
Methods: The model based on capstone project and routine to research. A total of 12 research studies were selected in this study. Major findings regarding developed Buddhist close group counseling and yoga. There are three activities, each lasting 120 minutes by nurses and volunteer. The sample included ten persons with depression and depressive disorder in the community. Data were analyzed by descriptive statistics.
Results: The score of Beck Depression Inventory (BDI) decreased after receiving intervention.
Conclusion: Results from this study revealed that the model of prevention for depressive disorder by Buddhist group counseling and yoga can decrease depression of persons with depression and depressive disorder.Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27373 คู่มือบำบัด / ภัคจิรา ศุภวิทยา / กรุงเทพฯ : ต้นธรรม - 2537
Title : คู่มือบำบัด : อาการปวดเมื่อยด้วยตนเองตั้งแต่ศีราะจรดปลายเท้า Material Type: printed text Authors: ภัคจิรา ศุภวิทยา, Editor ; ปรัชญา จันทร์ทิพย์, Editor ; ปรัชญา จันทร์ทิพย์, Editor Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1. Publisher: กรุงเทพฯ : ต้นธรรม Publication Date: 2537 Pagination: 192 หน้า. Layout: ภาพประกอบ. Size: 21 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-320079-2 Price: 150.00 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กายบริหาร
[LCSH]กายภาพบำบัด
[LCSH]การบำบัดด้วยการรักษาKeywords: กายบริหาร.
กายภาพบำบัด.Class number: WB537 ค695 [2537] Abstract: เป็นคู่มือที่ช่วยบำบัดอาการต่าง ๆ โดยเริ่มจากการบอกถึงสาเหตุของการปวดเมื่อย การนวด การเดิน ยืน นั่ง ให้ถูกสุขลักษณะ การนอน การยกของ การบริหารร่างกาย ตลอดจนการทำให้ร่างกายผ่อนคลาย โดยการใช้วิธีสปา และการยืด คลายเส้น. Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23504 คู่มือบำบัด : อาการปวดเมื่อยด้วยตนเองตั้งแต่ศีราะจรดปลายเท้า [printed text] / ภัคจิรา ศุภวิทยา, Editor ; ปรัชญา จันทร์ทิพย์, Editor ; ปรัชญา จันทร์ทิพย์, Editor . - พิมพ์ครั้งที่ 1. . - กรุงเทพฯ : ต้นธรรม, 2537 . - 192 หน้า. : ภาพประกอบ. ; 21 ซม.
ISBN : 978-6-16-320079-2 : 150.00
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กายบริหาร
[LCSH]กายภาพบำบัด
[LCSH]การบำบัดด้วยการรักษาKeywords: กายบริหาร.
กายภาพบำบัด.Class number: WB537 ค695 [2537] Abstract: เป็นคู่มือที่ช่วยบำบัดอาการต่าง ๆ โดยเริ่มจากการบอกถึงสาเหตุของการปวดเมื่อย การนวด การเดิน ยืน นั่ง ให้ถูกสุขลักษณะ การนอน การยกของ การบริหารร่างกาย ตลอดจนการทำให้ร่างกายผ่อนคลาย โดยการใช้วิธีสปา และการยืด คลายเส้น. Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23504 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000391365 WB537 ค695 2537 c.1 Book Main Library Library Counter Not for loan 32002000391373 WB537 ค695 2537 c.2 Book Main Library Library Counter Not for loan 32002000391456 WB537 ค695 2537 c.3 Book Main Library Library Counter Not for loan ประสิทธิผลของแนวปฏิบัติการสร้างเสริมสุขภาพสตรีตั้งครรภ์ด้วยโยคะ / กาญจนา คงชนะ in วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, Vol.36 No.2 (May-Aug) 2016 ([12/27/2016])
[article]
Title : ประสิทธิผลของแนวปฏิบัติการสร้างเสริมสุขภาพสตรีตั้งครรภ์ด้วยโยคะ : ต่อความไม่สุขสบายขณะตั้งครรภ์ Original title : The effectiveness of practice guideline using yogic-based health promotion for pregnant women on discomfort during pregnancy Material Type: printed text Authors: กาญจนา คงชนะ, Author ; ประภาพร ชูกำเหนิด, Author ; วรางคณา ชัชเวช, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.133-147 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ > Vol.36 No.2 (May-Aug) 2016 [12/27/2016] . - p.133-147Keywords: การสร้างเสริมสุขภาพ.สตรีตั้งครรภ์.แนวปฏิบัติการสร้างเสริมสุขภาพ.โยคะความไม่สขุสบายขณะตั้งครรภ์. Link for e-copy: www.nur.psu.ac.th/journal/ Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25916 [article] ประสิทธิผลของแนวปฏิบัติการสร้างเสริมสุขภาพสตรีตั้งครรภ์ด้วยโยคะ = The effectiveness of practice guideline using yogic-based health promotion for pregnant women on discomfort during pregnancy : ต่อความไม่สุขสบายขณะตั้งครรภ์ [printed text] / กาญจนา คงชนะ, Author ; ประภาพร ชูกำเหนิด, Author ; วรางคณา ชัชเวช, Author . - 2016 . - p.133-147.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ผลของโยคะนิทราต่อความเหนื่อยล้าในมารดาหลังคลอด / เยาวเรศ สมทรัพย์ in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 ([07/25/2017])
[article]
Title : ผลของโยคะนิทราต่อความเหนื่อยล้าในมารดาหลังคลอด Original title : Impact of Yoga Nidra Practice on Postpartum Women’s Fatigue Material Type: printed text Authors: เยาวเรศ สมทรัพย์, Author ; ธารางรัตน์ หาญประเสริฐพงษ์, Author ; วัชรี จงไพบูลย์พัฒนะ, Author ; กุสม พฤกษ์ภัทรานนต์, Author ; วัลภา จุทอง, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.38-49 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.38-49Keywords: โยคะนิทรา. ความเหนื่อยล้า. มารดาหลังคลอด 24 ชม. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อ (1) เปรียบเทียบระดับความเหนื่อยล้าของมารดาหลังคลอด ระหว่างก่อนและหลังปฏิบัติโยคะนิทรา และ (2) เปรียบเทียบระดับความเหนื่อยล้าของมารดาหลังคลอด ระหว่างกลุ่มที่ปฏิบัติโยคะนิทรากับกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ
การออกแบบวิจัย: วิจัยกึ่งทดลองแบบ 2 กลุ่ม วัดก่อนและหลังกำรทดลอง
วิธีดำเนินการวิจัย:กลุ่มตัวอย่างเป็นมารดาหลังคลอดในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในภาคใต้จำนวน 124 ราย แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 62 ราย เก็บข้อมูลระหว่างเดือนตุลาคม 2557 ถึงเดือนมกราคม 2558 กลุ่มทดลองจะได้รับการปฏิบัติโยคะนิทราเป็นเวลา 20 นาทีในระยะ 2 ชั่วโมงแรกหลังคลอด ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือวิจัย ได้แก่ (1) แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล และข้อมูลทำงสูติศาสตร์(2) เสียงบันทึกและคู่มือกำรปฏิบัติโยคะนิทรา ที่ผ่านการตรวจความตรงทางเนื้อหา และ (3)แบบสอบถามความเหนื่อยล้ำ มีค่าสัมประสิทธิ์ความเที่ยงของครอนบัค 0.91 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่ำเฉลี่ย ค่ำเบี่ยงเบนมาตรฐาน ไคว์สแควร์ ค่าทีคู่ และค่าทีอิสระ
ผลการวิจัย: พบว่ามารดาหลังคลอดกลุ่มที่ปฏิบัติโยคะนิทรา มีความเหนื่อยล้าหลังคลอด น้อยกว่ากลุ่มที่ไม่ได้ปฏิบัติโยคะนิทราอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 18.67, p < 0.001). และมารดาหลังคลอดกลุ่มที่ปฏิบักติโยคะนิทรามีความเหนื่อยล้าหลังปฏิบัติน้อยกว่าก่อนปฏิบัติ
(t = 6.94, p < 0.001)ซึ่งผลวิจัยครั้งนี้สะท้อนว่าการปฏิบัติโยคะนิทราช่วง 2 ชั่วโมงแรกหลังคลอด ช่วยลดความเหนื่อยล้าในมารดาหลังคลอดได้
ข้อเสนอแนะ: ควรส่งเสริมมารดาหลังคลอดปกติทุกรายปฏิบัติโยคะนิทรา เพื่อช่วยลดความเหนื่อยล้ำ และฟื้นฟูสภาพ.Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27048 [article] ผลของโยคะนิทราต่อความเหนื่อยล้าในมารดาหลังคลอด = Impact of Yoga Nidra Practice on Postpartum Women’s Fatigue [printed text] / เยาวเรศ สมทรัพย์, Author ; ธารางรัตน์ หาญประเสริฐพงษ์, Author ; วัชรี จงไพบูลย์พัฒนะ, Author ; กุสม พฤกษ์ภัทรานนต์, Author ; วัลภา จุทอง, Author . - 2017 . - p.38-49.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.38-49Keywords: โยคะนิทรา. ความเหนื่อยล้า. มารดาหลังคลอด 24 ชม. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อ (1) เปรียบเทียบระดับความเหนื่อยล้าของมารดาหลังคลอด ระหว่างก่อนและหลังปฏิบัติโยคะนิทรา และ (2) เปรียบเทียบระดับความเหนื่อยล้าของมารดาหลังคลอด ระหว่างกลุ่มที่ปฏิบัติโยคะนิทรากับกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ
การออกแบบวิจัย: วิจัยกึ่งทดลองแบบ 2 กลุ่ม วัดก่อนและหลังกำรทดลอง
วิธีดำเนินการวิจัย:กลุ่มตัวอย่างเป็นมารดาหลังคลอดในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในภาคใต้จำนวน 124 ราย แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 62 ราย เก็บข้อมูลระหว่างเดือนตุลาคม 2557 ถึงเดือนมกราคม 2558 กลุ่มทดลองจะได้รับการปฏิบัติโยคะนิทราเป็นเวลา 20 นาทีในระยะ 2 ชั่วโมงแรกหลังคลอด ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือวิจัย ได้แก่ (1) แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล และข้อมูลทำงสูติศาสตร์(2) เสียงบันทึกและคู่มือกำรปฏิบัติโยคะนิทรา ที่ผ่านการตรวจความตรงทางเนื้อหา และ (3)แบบสอบถามความเหนื่อยล้ำ มีค่าสัมประสิทธิ์ความเที่ยงของครอนบัค 0.91 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่ำเฉลี่ย ค่ำเบี่ยงเบนมาตรฐาน ไคว์สแควร์ ค่าทีคู่ และค่าทีอิสระ
ผลการวิจัย: พบว่ามารดาหลังคลอดกลุ่มที่ปฏิบัติโยคะนิทรา มีความเหนื่อยล้าหลังคลอด น้อยกว่ากลุ่มที่ไม่ได้ปฏิบัติโยคะนิทราอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 18.67, p < 0.001). และมารดาหลังคลอดกลุ่มที่ปฏิบักติโยคะนิทรามีความเหนื่อยล้าหลังปฏิบัติน้อยกว่าก่อนปฏิบัติ
(t = 6.94, p < 0.001)ซึ่งผลวิจัยครั้งนี้สะท้อนว่าการปฏิบัติโยคะนิทราช่วง 2 ชั่วโมงแรกหลังคลอด ช่วยลดความเหนื่อยล้าในมารดาหลังคลอดได้
ข้อเสนอแนะ: ควรส่งเสริมมารดาหลังคลอดปกติทุกรายปฏิบัติโยคะนิทรา เพื่อช่วยลดความเหนื่อยล้ำ และฟื้นฟูสภาพ.Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27048