From this page you can:
Home |
Search results
4 result(s) search for keyword(s) 'ภาวะสมองขาดเลือด.การผ่าตัดหัวใจแบบเปิด.ผลลัพธ์.ปัจจัยเสี่ยง.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ผลลัพธ์และปัจจัยเสี่ยงของการเกิดภาวะสมองขาดเลือด / สุธีรา ใจสอาด in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.23 No.2 (May-Aug) 2017/2560 ([10/18/2017])
[article]
Title : ผลลัพธ์และปัจจัยเสี่ยงของการเกิดภาวะสมองขาดเลือด : หลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิด Original title : Outcomes and risk factors in post operative open heart surgery stroke Material Type: printed text Authors: สุธีรา ใจสอาด, Author ; กุสุมา ศุววัฒนสัมฤทธิ์, Author ; นิโรบล กนกสุนทรรัตน์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.178-194 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.23 No.2 (May-Aug) 2017/2560 [10/18/2017] . - p.178-194Keywords: ภาวะสมองขาดเลือด.การผ่าตัดหัวใจแบบเปิด.ผลลัพธ์.ปัจจัยเสี่ยง. Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27386 [article] ผลลัพธ์และปัจจัยเสี่ยงของการเกิดภาวะสมองขาดเลือด = Outcomes and risk factors in post operative open heart surgery stroke : หลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิด [printed text] / สุธีรา ใจสอาด, Author ; กุสุมา ศุววัฒนสัมฤทธิ์, Author ; นิโรบล กนกสุนทรรัตน์, Author . - 2017 . - p.178-194.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)การเปรียบเทียบระดับความเสี่ยง จำนวน และชนิดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง / จุก สุวรรณโณ in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.23 No.2 (May-Aug) 2017/2560 ([10/18/2017])
[article]
Title : การเปรียบเทียบระดับความเสี่ยง จำนวน และชนิดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง : ขาดเลือดชั่วคราวในเพศหญิง และชาย Material Type: printed text Authors: จุก สุวรรณโณ, Author ; จอม สุวรรณโน, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.160-177 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.23 No.2 (May-Aug) 2017/2560 [10/18/2017] . - p.160-177Keywords: โรคหลอดเลือดสมอง.ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง.ปัจจัยเสี่ยง.ผู้ป่วยชาย.ผู้ป่วยหญิง. Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27385 [article] การเปรียบเทียบระดับความเสี่ยง จำนวน และชนิดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง : ขาดเลือดชั่วคราวในเพศหญิง และชาย [printed text] / จุก สุวรรณโณ, Author ; จอม สุวรรณโน, Author . - 2017 . - p.160-177.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ความสัมพันธ์ระหว่างสิิ่งแวดล้อมการปฏิบัติการพยาบาลและผลลัพธ์ / กุลวดี อภิชาติบุตร in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างสิิ่งแวดล้อมการปฏิบัติการพยาบาลและผลลัพธ์ : ที่ไม่พึงประสงค์ที่เกิดกับผู้ป่วยในโรงพยาบาลทั่วไป Original title : The Relationship between nursing practice environment and adverse patient outcomes in general hospitals Material Type: printed text Authors: กุลวดี อภิชาติบุตร, Author ; อรอรนงค์ วิชัยคำ, Author ; วิภาดา คุณาวิกติกุล, Author ; เรมวล นันทศุภวัฒน์, Author ; อภิรดี นันทศุภวัฒน์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.206--215 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.206--215Keywords: โรงพยาบาลทั่วไป.การปฏิบัติการพยาบาล.ผลลัพธ์ที่ไม่พึงประสงค์.ผู้ป่วยในโรงพยาบาลทั่วไป. Abstract: ศึกษาความสัมพันธ์ะหว่างสิ่งแวดล้อมการปฏิบัติการพยาบาล และผลลัพธ์ที่ไม่พึงประสงค์ที่เกิดกับผู้ป่วยในโรงพยาบาลทั่วไป คือ 155 หอผู้ป่วย และพยาบาล จำนวน 886 คน ที่ได้จากการสุ่มหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบบันทึกผลลัพธ์ที่ไม่พึงประสงค์ของหอผู้ป่วย แบบสอบถามสิ่งแวดล้อมการปฎิบัติการพยาบาล ค่าสัมประสิทธ์ิแอลฟ่าของครอนบาค เท่ากับ .93
ผลการศึกษา พบว่า
* สิ่งแวดล้อมการปฏิบัติการพยาบาลตามการรับรู้การพยาบาลวิชาชีพจัดอยู่ในหมวดหมู่ที่พึงพอใจ
* ความคลาดเคลื่อนทางยา เป็นผลลัพธิ์ที่ไม่พึงประสงค์ที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด
* สิ่งแวดล้อมการปฏิบัติการพยาบาลมีความสัมพันธ์ทางลบกับความคลาดเคลื่อนทางยา
โดยผลการศึกษาครั้งนี้ สามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับผู้บริหารการพยาบาลในการจัดการสิ่งแวดล้อมการปฏิบัติการพยาบาลให้เหมาะสม เพื่อป้องกันการเกิดผลลัพธ์ที่ไม่พึงประสงค์ที่เกิดกับผู้ป่วย
ี่Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26757 [article] ความสัมพันธ์ระหว่างสิิ่งแวดล้อมการปฏิบัติการพยาบาลและผลลัพธ์ = The Relationship between nursing practice environment and adverse patient outcomes in general hospitals : ที่ไม่พึงประสงค์ที่เกิดกับผู้ป่วยในโรงพยาบาลทั่วไป [printed text] / กุลวดี อภิชาติบุตร, Author ; อรอรนงค์ วิชัยคำ, Author ; วิภาดา คุณาวิกติกุล, Author ; เรมวล นันทศุภวัฒน์, Author ; อภิรดี นันทศุภวัฒน์, Author . - 2017 . - p.206--215.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.206--215Keywords: โรงพยาบาลทั่วไป.การปฏิบัติการพยาบาล.ผลลัพธ์ที่ไม่พึงประสงค์.ผู้ป่วยในโรงพยาบาลทั่วไป. Abstract: ศึกษาความสัมพันธ์ะหว่างสิ่งแวดล้อมการปฏิบัติการพยาบาล และผลลัพธ์ที่ไม่พึงประสงค์ที่เกิดกับผู้ป่วยในโรงพยาบาลทั่วไป คือ 155 หอผู้ป่วย และพยาบาล จำนวน 886 คน ที่ได้จากการสุ่มหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบบันทึกผลลัพธ์ที่ไม่พึงประสงค์ของหอผู้ป่วย แบบสอบถามสิ่งแวดล้อมการปฎิบัติการพยาบาล ค่าสัมประสิทธ์ิแอลฟ่าของครอนบาค เท่ากับ .93
ผลการศึกษา พบว่า
* สิ่งแวดล้อมการปฏิบัติการพยาบาลตามการรับรู้การพยาบาลวิชาชีพจัดอยู่ในหมวดหมู่ที่พึงพอใจ
* ความคลาดเคลื่อนทางยา เป็นผลลัพธิ์ที่ไม่พึงประสงค์ที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด
* สิ่งแวดล้อมการปฏิบัติการพยาบาลมีความสัมพันธ์ทางลบกับความคลาดเคลื่อนทางยา
โดยผลการศึกษาครั้งนี้ สามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับผู้บริหารการพยาบาลในการจัดการสิ่งแวดล้อมการปฏิบัติการพยาบาลให้เหมาะสม เพื่อป้องกันการเกิดผลลัพธ์ที่ไม่พึงประสงค์ที่เกิดกับผู้ป่วย
ี่Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26757 ปัจจัยทำนายการเกิดภาวะหัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะชนิดสั่นพลิ้ว / พรทิพา ทองมา in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 ([11/16/2017])
[article]
Title : ปัจจัยทำนายการเกิดภาวะหัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะชนิดสั่นพลิ้ว : ในผู้ป่วยหลังทำผ่าตัดหัวใจแบบเปิด Material Type: printed text Authors: พรทิพา ทองมา, Author ; อรพรรณ โตสิงห์, Author ; ศิริอร สินธุ, Author ; วรวงศ์ ศลิษฏ์อรรถกร, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.114-126 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 [11/16/2017] . - p.114-126Keywords: หัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะชนิดสั่นพลิ้ว.การผ่าตัดหัวใจแบบเปิด.ผู้ป่วยที่ได้รับการทำหัวใจแบบเปิด. Abstract: การวิจัยเชิงบรรยายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายการเกิดภาวะหัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะชนิดสั่นพลิ้วหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิด
กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยที่ได้รับการทำผ่าตัดหัวใจแบบเปิดจำนวน 150 ราย ในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ ในกรุงเทพมหานคร เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล ข้อมูลเกี่ยวกับการเจ็บป่วย และการรักษา แบบบันทึกอัตราการกรองของเสียที่ไต แบบประเมินกลุ่มอาการการตอบสนองต่อการอักเสบทั่วร่างกาย และแบบประเมินการเกิดภาวะหัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะชนิดสั่นพลิ้ว วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนาและสถิติวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติค
ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์และสามารถทำนายการเกิดภาวะหัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะชนิดสั่นพลิ้วได้แก่ คะแนนของกลุ่มอาการการตอบสนองต่อการอักเสบทั่วร่างกายมากกว่าหรือเท่ากับ 2 คะแนนขึ้นไป (odds ratio, 4.869; 95% CI, 2.277-10.408; p < 0.001) อายุ 50- 60 ปี (odds ratio, 3.542; 95% CI, 0.987-12.703; p=0.041) และระยะเวลาการใช้เครื่องหัวใจ และปอดเทียม >150 นาที (odds, ratio,3.123; 95% CI, 1.276-7.644; p=0.010)
ผลการวิจัยเสนอแนะว่าพยาบาลควรนำปัจจัยที่สามารถทำนายการเกิดภาวะหัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะชนิดสั่นพลิ้วหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิดมาพัฒนาเป็นแนวปฏิบัติทางการพยาบาลไปใช้เป็นแนวทางการประเมินผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิดLink for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27493 [article] ปัจจัยทำนายการเกิดภาวะหัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะชนิดสั่นพลิ้ว : ในผู้ป่วยหลังทำผ่าตัดหัวใจแบบเปิด [printed text] / พรทิพา ทองมา, Author ; อรพรรณ โตสิงห์, Author ; ศิริอร สินธุ, Author ; วรวงศ์ ศลิษฏ์อรรถกร, Author . - 2017 . - p.114-126.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 [11/16/2017] . - p.114-126Keywords: หัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะชนิดสั่นพลิ้ว.การผ่าตัดหัวใจแบบเปิด.ผู้ป่วยที่ได้รับการทำหัวใจแบบเปิด. Abstract: การวิจัยเชิงบรรยายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายการเกิดภาวะหัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะชนิดสั่นพลิ้วหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิด
กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยที่ได้รับการทำผ่าตัดหัวใจแบบเปิดจำนวน 150 ราย ในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ ในกรุงเทพมหานคร เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล ข้อมูลเกี่ยวกับการเจ็บป่วย และการรักษา แบบบันทึกอัตราการกรองของเสียที่ไต แบบประเมินกลุ่มอาการการตอบสนองต่อการอักเสบทั่วร่างกาย และแบบประเมินการเกิดภาวะหัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะชนิดสั่นพลิ้ว วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนาและสถิติวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติค
ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์และสามารถทำนายการเกิดภาวะหัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะชนิดสั่นพลิ้วได้แก่ คะแนนของกลุ่มอาการการตอบสนองต่อการอักเสบทั่วร่างกายมากกว่าหรือเท่ากับ 2 คะแนนขึ้นไป (odds ratio, 4.869; 95% CI, 2.277-10.408; p < 0.001) อายุ 50- 60 ปี (odds ratio, 3.542; 95% CI, 0.987-12.703; p=0.041) และระยะเวลาการใช้เครื่องหัวใจ และปอดเทียม >150 นาที (odds, ratio,3.123; 95% CI, 1.276-7.644; p=0.010)
ผลการวิจัยเสนอแนะว่าพยาบาลควรนำปัจจัยที่สามารถทำนายการเกิดภาวะหัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะชนิดสั่นพลิ้วหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิดมาพัฒนาเป็นแนวปฏิบัติทางการพยาบาลไปใช้เป็นแนวทางการประเมินผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิดLink for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27493