From this page you can:
Home |
Search results
8 result(s) search for keyword(s) 'พยาบาลห้องผ่าตัด.บทบาทพยาบาล.การเยี่ยมผู้ป่วยก่อนและหลังผ่าตัด.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
บทบาทของพยาบาลห้องผ่าตัด การให้ข้อมูลในการเยี่ยมผู้ป่วยก่อน และหลังผ่าตัด / รัตนา เพิ่มเพ็ชร์ in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.22 No.1 (Jan-Apr) 2016 ([06/14/2016])
[article]
Title : บทบาทของพยาบาลห้องผ่าตัด การให้ข้อมูลในการเยี่ยมผู้ป่วยก่อน และหลังผ่าตัด Original title : Development if adhesive blades and needles device counters using in the operating room Material Type: printed text Authors: รัตนา เพิ่มเพ็ชร์, Author ; เบญจมาภรณ์ บุตรศรีภูมิ, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.8-19 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.22 No.1 (Jan-Apr) 2016 [06/14/2016] . - p.8-19Keywords: พยาบาลห้องผ่าตัด.บทบาทพยาบาล.การเยี่ยมผู้ป่วยก่อนและหลังผ่าตัด. Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25541 [article] บทบาทของพยาบาลห้องผ่าตัด การให้ข้อมูลในการเยี่ยมผู้ป่วยก่อน และหลังผ่าตัด = Development if adhesive blades and needles device counters using in the operating room [printed text] / รัตนา เพิ่มเพ็ชร์, Author ; เบญจมาภรณ์ บุตรศรีภูมิ, Author . - 2016 . - p.8-19.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)การประเมินความเสี่ยงและการจัดการแผลที่เท้าในผู้ป่วยเบาหวาน / รุ่งศักดิ์ ศิรินิยมชัย in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 ([02/08/2017])
[article]
Title : การประเมินความเสี่ยงและการจัดการแผลที่เท้าในผู้ป่วยเบาหวาน : บทบาทพยาบาล Original title : Assessment of foot ulcer risk and nursing management in patients with diabetess the role of nurses Material Type: printed text Authors: รุ่งศักดิ์ ศิรินิยมชัย, Author ; พิมผกา ปัญโญใหญ่, Author ; สรัญญา พิจารณ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.145-155 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.145-155Keywords: ผู้ป่วยเบาหวาน.การจัดการแผลที่เท้า.การประเมินความเสี่ยง.บทบาทพยาบาล. Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26876 [article] การประเมินความเสี่ยงและการจัดการแผลที่เท้าในผู้ป่วยเบาหวาน = Assessment of foot ulcer risk and nursing management in patients with diabetess the role of nurses : บทบาทพยาบาล [printed text] / รุ่งศักดิ์ ศิรินิยมชัย, Author ; พิมผกา ปัญโญใหญ่, Author ; สรัญญา พิจารณ์, Author . - 2017 . - p.145-155.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)การประเมินและจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อการหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชน / กมลรัตน์ กิตติพิมพานนทฺ์ in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 ([02/08/2017])
[article]
Title : การประเมินและจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อการหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชน : บทบาทพยาบาลชุมชนในหน่วยบริการปฐมภูมิ Original title : Fall risk assessment and management among older adults in the community the role of the public health nurse in the primary care Material Type: printed text Authors: กมลรัตน์ กิตติพิมพานนทฺ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.183-195 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.183-195Keywords: การจัดการปัจจัยเสี่ยง.การหกล้ม. ผู้สูงอายุในชุมชน.บทบาทพยาบาลชุมชน.หน่วยบริการปฐมภูมิ Abstract: การจัดการปัจจัยเสี่ยง.
การหกล้ม.
ผู้สูงอายุ.
บทบาทพยาบาลชุมชน.
หน่วยบริการปฐมภูมิ.Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26879 [article] การประเมินและจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อการหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชน = Fall risk assessment and management among older adults in the community the role of the public health nurse in the primary care : บทบาทพยาบาลชุมชนในหน่วยบริการปฐมภูมิ [printed text] / กมลรัตน์ กิตติพิมพานนทฺ์, Author . - 2017 . - p.183-195.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.183-195Keywords: การจัดการปัจจัยเสี่ยง.การหกล้ม. ผู้สูงอายุในชุมชน.บทบาทพยาบาลชุมชน.หน่วยบริการปฐมภูมิ Abstract: การจัดการปัจจัยเสี่ยง.
การหกล้ม.
ผู้สูงอายุ.
บทบาทพยาบาลชุมชน.
หน่วยบริการปฐมภูมิ.Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26879 การป้องกันและการจัดการภาวะแขนบวมจากน้ำเหลืองคั่งในผู้เป็นมะเร็งเต้านม: บทบาทพยาบาล / มลฤดี เกษเพชร in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 ([07/24/2017])
[article]
Title : การป้องกันและการจัดการภาวะแขนบวมจากน้ำเหลืองคั่งในผู้เป็นมะเร็งเต้านม: บทบาทพยาบาล Original title : Prevention and Management of Arm Lymphedema in Breast Cancer Survivors: Nurse’s Roles Material Type: printed text Authors: มลฤดี เกษเพชร, Author ; นิโรบล กนกสุนทรรัตน์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.1-10 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 [07/24/2017] . - p.1-10Keywords: ภาวะแขนบวมจากน้ำเหลืองคั่ง. ผู้เป็นมะเร็งเต้านม. การป้องกัน. การควบคุม. บทบาทพยาบาล. Abstract: แขนบวมจากน้ำเหลืองคั่งเป็นภาวะแทรกซ้อนที่พบมากกว่าร้อยละ 20 ของผู้เป็นมะเร็งเต้านม พบได้ตั้งแต่ช่วงแรกของการรักษาจนถึงภายหลังการรักษาหลายเดือนหรือหลายปีเกิดจากมีการขัดขวางการไหลเวียนน้ำเหลืองจากแขนไม่ให้ไหลกลับหัวใจ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลจาก
การรักษา ทั้งการผ่าตัดเต้านม การตัดเลาะต่อมน้ำเหลือง การฉายรังสีบริเวณใกล้เคียง และยาเคมีบำบัดบางชนิด เมื่อเกิดขึ้นแล้วมักหายยาก ก่อให้เกิดอาการไม่สุขสบายและกระทบต่อการดำรงชีวิต ภาวะนี้สามารถป้องกันและควบคุมได้ พยาบาลมีบทบาทสำคัญในการป้องกันการเกิดและลดอาการไม่ให้รุนแรงจนรักษายาก บทความนี้ทบทวนความรู้เกี่ยวกับภาวะแขนบวมจากน้ำเหลืองคั่งในผู้เป็นมะเร็งเต้านม โดยมีเนื้อหาครอบคลุมอุบัติการณ์ พยาธิสรีระ ระดับความรุนแรง สาเหตุ ปัจจัยเสี่ยง ผลกระทบ การประเมิน การรักษา และเสนอแนะบทบาทพยาบาลในการป้องกันและการควบคุมภาวะแขนบวมจากน้ำเหลืองคั่งในผู้เป็นมะเร็งเต้านมLink for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26990 [article] การป้องกันและการจัดการภาวะแขนบวมจากน้ำเหลืองคั่งในผู้เป็นมะเร็งเต้านม: บทบาทพยาบาล = Prevention and Management of Arm Lymphedema in Breast Cancer Survivors: Nurse’s Roles [printed text] / มลฤดี เกษเพชร, Author ; นิโรบล กนกสุนทรรัตน์, Author . - 2017 . - p.1-10.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 [07/24/2017] . - p.1-10Keywords: ภาวะแขนบวมจากน้ำเหลืองคั่ง. ผู้เป็นมะเร็งเต้านม. การป้องกัน. การควบคุม. บทบาทพยาบาล. Abstract: แขนบวมจากน้ำเหลืองคั่งเป็นภาวะแทรกซ้อนที่พบมากกว่าร้อยละ 20 ของผู้เป็นมะเร็งเต้านม พบได้ตั้งแต่ช่วงแรกของการรักษาจนถึงภายหลังการรักษาหลายเดือนหรือหลายปีเกิดจากมีการขัดขวางการไหลเวียนน้ำเหลืองจากแขนไม่ให้ไหลกลับหัวใจ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลจาก
การรักษา ทั้งการผ่าตัดเต้านม การตัดเลาะต่อมน้ำเหลือง การฉายรังสีบริเวณใกล้เคียง และยาเคมีบำบัดบางชนิด เมื่อเกิดขึ้นแล้วมักหายยาก ก่อให้เกิดอาการไม่สุขสบายและกระทบต่อการดำรงชีวิต ภาวะนี้สามารถป้องกันและควบคุมได้ พยาบาลมีบทบาทสำคัญในการป้องกันการเกิดและลดอาการไม่ให้รุนแรงจนรักษายาก บทความนี้ทบทวนความรู้เกี่ยวกับภาวะแขนบวมจากน้ำเหลืองคั่งในผู้เป็นมะเร็งเต้านม โดยมีเนื้อหาครอบคลุมอุบัติการณ์ พยาธิสรีระ ระดับความรุนแรง สาเหตุ ปัจจัยเสี่ยง ผลกระทบ การประเมิน การรักษา และเสนอแนะบทบาทพยาบาลในการป้องกันและการควบคุมภาวะแขนบวมจากน้ำเหลืองคั่งในผู้เป็นมะเร็งเต้านมLink for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26990 การมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นเกินเกณฑ์ขณะตั้งครรภ์ บทบาทที่ท้าทายของพยาบาลผดุงครรภ์ / สุพิศ ศิริอรุณรัตน์ in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 ([02/08/2017])
[article]
Title : การมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นเกินเกณฑ์ขณะตั้งครรภ์ บทบาทที่ท้าทายของพยาบาลผดุงครรภ์ : challenging roles for nurse-midwives Original title : excessive weight gain during pregnancy Material Type: printed text Authors: สุพิศ ศิริอรุณรัตน์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.156-169 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.156-169Keywords: การมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น.ขณะตั้งครรภ์.บทบาทพยาบาลผดุงครรภ์. Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26877 [article] การมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นเกินเกณฑ์ขณะตั้งครรภ์ บทบาทที่ท้าทายของพยาบาลผดุงครรภ์ = excessive weight gain during pregnancy : challenging roles for nurse-midwives [printed text] / สุพิศ ศิริอรุณรัตน์, Author . - 2017 . - p.156-169.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)การสูบบุหรี่กับการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ / จิรภิญญา คำรัตน์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : การสูบบุหรี่กับการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ : บทบาทของพยาบาลในการช่วยเลิกบุหรี่ Original title : Cigrettes smoking and coronary artery disease nurses' role im smoking cessation Material Type: printed text Authors: จิรภิญญา คำรัตน์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.1-6 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.1-6Keywords: โรคหลอดเลือดหัวใจ.บทบาทพยาบาล. บุหรี่. การช่วยเลิกบุหรี่.การสูบบุหรี่ Abstract: การสูบบุหรี่ เป็นหนึ่งในปัจจัยสำคัญของการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ ซึ่งเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่สำคัญโรคหนึ่งที่กำลังคร่าชีวิตคนไทยอยู่ในปัจจุบัน การทราบถึงพิษภัย และผลกระทบที่เกิดจาการสูบบุหรีต่อหลอดเลือดหัวใจ จะช่วยให้ประชาชนตระหนักถึงอันตรายของบุหรี่ที่มีต่อสุขภาพและเห็นความสำคัญของการไม่สูบบุหรี่ หรือเลิกบุหรี่เพื่ิอลดความรุนแรงที่เกิดจากการสูบบุหรี่ต่อโรคหลอดเลือดหัวใจในอนาคต บทความนี้มีวตถุประสงค์เพื่่ออธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการสูบบุหรี และการเกิดโรคหลอดเลือหัวใจรวมถึงบทบาทของพยาบาลในการช่วยเลิกบุหรี่อันจะนำไปสู่การตระหนักรู้ในเรื่องการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจซึ่งเป็นผลมาจากการสูบบุหรี่ และเพื่อใช้เป็นแนวทางสำหรับบุคลากรทางสุขภาพในการช่วยเลิกบุหรี่ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือหัวใจต่อไป Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27207 [article] การสูบบุหรี่กับการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ = Cigrettes smoking and coronary artery disease nurses' role im smoking cessation : บทบาทของพยาบาลในการช่วยเลิกบุหรี่ [printed text] / จิรภิญญา คำรัตน์, Author . - 2017 . - p.1-6.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.1-6Keywords: โรคหลอดเลือดหัวใจ.บทบาทพยาบาล. บุหรี่. การช่วยเลิกบุหรี่.การสูบบุหรี่ Abstract: การสูบบุหรี่ เป็นหนึ่งในปัจจัยสำคัญของการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ ซึ่งเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่สำคัญโรคหนึ่งที่กำลังคร่าชีวิตคนไทยอยู่ในปัจจุบัน การทราบถึงพิษภัย และผลกระทบที่เกิดจาการสูบบุหรีต่อหลอดเลือดหัวใจ จะช่วยให้ประชาชนตระหนักถึงอันตรายของบุหรี่ที่มีต่อสุขภาพและเห็นความสำคัญของการไม่สูบบุหรี่ หรือเลิกบุหรี่เพื่ิอลดความรุนแรงที่เกิดจากการสูบบุหรี่ต่อโรคหลอดเลือดหัวใจในอนาคต บทความนี้มีวตถุประสงค์เพื่่ออธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการสูบบุหรี และการเกิดโรคหลอดเลือหัวใจรวมถึงบทบาทของพยาบาลในการช่วยเลิกบุหรี่อันจะนำไปสู่การตระหนักรู้ในเรื่องการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจซึ่งเป็นผลมาจากการสูบบุหรี่ และเพื่อใช้เป็นแนวทางสำหรับบุคลากรทางสุขภาพในการช่วยเลิกบุหรี่ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือหัวใจต่อไป Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27207 บทบาทของพยาบาลในการจัดการดูแลกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังระดับปฐมภูมิ ตามแนวคิดเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน / ปวีณา นราศรี in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 ([07/24/2017])
[article]
Title : บทบาทของพยาบาลในการจัดการดูแลกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังระดับปฐมภูมิ ตามแนวคิดเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน Material Type: printed text Authors: ปวีณา นราศรี, Author ; กานต์ ฉลาดธัญญกิจ, Author ; นพวรรณ เปียซื่, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.27-43 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 [07/24/2017] . - p.27-43Keywords: เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน. โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง. บทบาทพยาบาลปฐมภูมิ. การควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง. Abstract: สถานการณ์ปัญหาสุขภาพของประชากรทั่วโลก มีแนวโน้มของอัตราการป่วยและตาย
จากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง องค์การสหประชาชาติได้ประกาศเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ในปี พ.ศ. 2558 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนางานด้านเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ และนิเวศน์ของประชากรโลก ในประเทศไทยมีการพัฒนางานทุกด้านตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในด้านสุขภาพ สามารถประยุกต์แผนปฏิบัติสำคัญระดับปฐมภูมิในการดูแลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในชุมชนที่มีแหล่งประโยชน์จำกัด ที่พัฒนาโดยองค์การอนามัยโลก พยาบาลที่ปฏิบัติงานในระดับปฐมภูมิจึงมีบทบาทสำคัญในการดูแลประชากรทุกกลุ่มวัยอย่างเป็นองค์รวมเริ่มตั้งแต่วัยเด็ก วัยผ้ใูหญ่และผ้สู ูงอายุ ผ่านบทบาทในการวางแผน การปฏิบัติการพยาบาลโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ การสร้างนวัตกรรม การจัดการรายกรณี และการประสานงาน โดยสร้างความร่วมมือและเครือข่ายในชุมชน รวมทั้งการบริการวิชาการ โดยการอบรมและการเป็นพี่เลี้ยงการวจิ ัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่และเผยแพร่สู่ประชาชน ทั้งนี้เพื่อขับเคลื่อนงานระดับปฐมภูมิในการลดอัตราการเกิดโรคและภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังให้มีประสิทธิภาพ สู่เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนLink for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26992 [article] บทบาทของพยาบาลในการจัดการดูแลกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังระดับปฐมภูมิ ตามแนวคิดเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน [printed text] / ปวีณา นราศรี, Author ; กานต์ ฉลาดธัญญกิจ, Author ; นพวรรณ เปียซื่, Author . - 2017 . - p.27-43.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 [07/24/2017] . - p.27-43Keywords: เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน. โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง. บทบาทพยาบาลปฐมภูมิ. การควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง. Abstract: สถานการณ์ปัญหาสุขภาพของประชากรทั่วโลก มีแนวโน้มของอัตราการป่วยและตาย
จากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง องค์การสหประชาชาติได้ประกาศเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ในปี พ.ศ. 2558 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนางานด้านเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ และนิเวศน์ของประชากรโลก ในประเทศไทยมีการพัฒนางานทุกด้านตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในด้านสุขภาพ สามารถประยุกต์แผนปฏิบัติสำคัญระดับปฐมภูมิในการดูแลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในชุมชนที่มีแหล่งประโยชน์จำกัด ที่พัฒนาโดยองค์การอนามัยโลก พยาบาลที่ปฏิบัติงานในระดับปฐมภูมิจึงมีบทบาทสำคัญในการดูแลประชากรทุกกลุ่มวัยอย่างเป็นองค์รวมเริ่มตั้งแต่วัยเด็ก วัยผ้ใูหญ่และผ้สู ูงอายุ ผ่านบทบาทในการวางแผน การปฏิบัติการพยาบาลโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ การสร้างนวัตกรรม การจัดการรายกรณี และการประสานงาน โดยสร้างความร่วมมือและเครือข่ายในชุมชน รวมทั้งการบริการวิชาการ โดยการอบรมและการเป็นพี่เลี้ยงการวจิ ัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่และเผยแพร่สู่ประชาชน ทั้งนี้เพื่อขับเคลื่อนงานระดับปฐมภูมิในการลดอัตราการเกิดโรคและภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังให้มีประสิทธิภาพ สู่เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนLink for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26992 บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม / ชัชวาล วงค์สารี in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.22 No.2 July-Dec 2015 ([02/15/2016])
[article]
Title : บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม Original title : hemodialysis nurses' role in prevention and management volume overload in end stage of renal failure patient on receiving hemodialysis Material Type: printed text Authors: ชัชวาล วงค์สารี, Author Publication Date: 2016 Article on page: หน้า. 30-40 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.22 No.2 July-Dec 2015 [02/15/2016] . - หน้า. 30-40Keywords: บทบาทพยาบาลไตเทียม ภาวะน้ำเกินผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย Abstract: ผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่รักษาด้วยการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม จำเป็นต้องได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่องโดยการฟอกเลือด 2-3 ครั้งต่อสัปดาห์ ซึ่งปัจจุบันพบว่าจำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการรักษารูปแบบนี้มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นและภสวะน้ำเกินเป็นภาวะแทรกซ้อนหลักที่พบในผู้ป่วยกลุ่มนี้นอกจากจะทำให้ผู้ป่วยไม่สุขสบายแล้ว ยังเป็นสาเหตุให้โรคอื่นแสดงอาการแทรกซ้อนที่รุนแรงตามมา ในรายที่มีภาวะน้ำเกินอย่างเฉียบพลันจะทำให้เกิดการเสียชีวิตอย่างรวดเร็วจากโรคหัวใจกำเริบที่รุนแรง ซึ่งบางครั้งสาเหตุของการเกิดภาวะน้ำเกินสามารถป้องกันและจัดการได้ พยาบาลไตเทียมในฐานะบุคลากร มี 3 บทบาทที่สำคัญ ดังนี้ 1) บทบาทการป้องกันการเกิดน้ำเกิน โดยการสนับสนุนให้ผู้ป่วยมีความสามารถในการดูแลตนเองเพื่อควบคุมน้ำและการให้คพแนะนำและให้ความรู้แก่ผู้ป่วยเพื่อการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตเพื่อควบคุมน้ำ 2) บทบาทการดูแลผู้ป่วยที่มารับการฟอกเลือดปกติ โดยการดูแลผู้ป่วยที่มาฟอกเลือดตามแกติตั้งแต่ปู้ป่วยเริ่มมารอรับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม ขณะฟอกเลือดและหลังการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมซึ่งมีความสำคัญมากที่จะช่วยดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้ได้รับการฟอกเลือดขจัดของเสียและดึงน้ำส่วนเกินออก 3) บทบาทการจัดการภาวะน้ำเกินกรณีแุกเฉินเร่งด่วนเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะน้ำเกินที่แสดงอาการหอบเหนื่อยฉุกเฉินนอกเวลาทำการปกติของคลินิกไตเทียม หากผู้ป่วยมาพบแพทย์และแพทย์สั่งการรักษาผู้ป่วยด้วยการฟอกเลือดอย่างเร่งด่วน เพื่อลดอาการหรือช่วยชีวิตผู้ป่วย พยาบาลไตเทียมต้องแสดงบทบาทกึ่งอิสระตามการประเมินสภาพผู้ป่วยที่เป็นปัจจุบัน เริ่มฟอกเลือกโดยการดึงน้ำส่วนเกินออกอย่างรวดเร็๋วเพื่อช่วยเหลือลดอาการไม่สุขสบายผู้ป่วยที่สอดคล้องกับแผนการักษาของแพทย์ Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25390 [article] บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม = hemodialysis nurses' role in prevention and management volume overload in end stage of renal failure patient on receiving hemodialysis [printed text] / ชัชวาล วงค์สารี, Author . - 2016 . - หน้า. 30-40.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.22 No.2 July-Dec 2015 [02/15/2016] . - หน้า. 30-40Keywords: บทบาทพยาบาลไตเทียม ภาวะน้ำเกินผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย Abstract: ผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่รักษาด้วยการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม จำเป็นต้องได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่องโดยการฟอกเลือด 2-3 ครั้งต่อสัปดาห์ ซึ่งปัจจุบันพบว่าจำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการรักษารูปแบบนี้มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นและภสวะน้ำเกินเป็นภาวะแทรกซ้อนหลักที่พบในผู้ป่วยกลุ่มนี้นอกจากจะทำให้ผู้ป่วยไม่สุขสบายแล้ว ยังเป็นสาเหตุให้โรคอื่นแสดงอาการแทรกซ้อนที่รุนแรงตามมา ในรายที่มีภาวะน้ำเกินอย่างเฉียบพลันจะทำให้เกิดการเสียชีวิตอย่างรวดเร็วจากโรคหัวใจกำเริบที่รุนแรง ซึ่งบางครั้งสาเหตุของการเกิดภาวะน้ำเกินสามารถป้องกันและจัดการได้ พยาบาลไตเทียมในฐานะบุคลากร มี 3 บทบาทที่สำคัญ ดังนี้ 1) บทบาทการป้องกันการเกิดน้ำเกิน โดยการสนับสนุนให้ผู้ป่วยมีความสามารถในการดูแลตนเองเพื่อควบคุมน้ำและการให้คพแนะนำและให้ความรู้แก่ผู้ป่วยเพื่อการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตเพื่อควบคุมน้ำ 2) บทบาทการดูแลผู้ป่วยที่มารับการฟอกเลือดปกติ โดยการดูแลผู้ป่วยที่มาฟอกเลือดตามแกติตั้งแต่ปู้ป่วยเริ่มมารอรับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม ขณะฟอกเลือดและหลังการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมซึ่งมีความสำคัญมากที่จะช่วยดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้ได้รับการฟอกเลือดขจัดของเสียและดึงน้ำส่วนเกินออก 3) บทบาทการจัดการภาวะน้ำเกินกรณีแุกเฉินเร่งด่วนเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะน้ำเกินที่แสดงอาการหอบเหนื่อยฉุกเฉินนอกเวลาทำการปกติของคลินิกไตเทียม หากผู้ป่วยมาพบแพทย์และแพทย์สั่งการรักษาผู้ป่วยด้วยการฟอกเลือดอย่างเร่งด่วน เพื่อลดอาการหรือช่วยชีวิตผู้ป่วย พยาบาลไตเทียมต้องแสดงบทบาทกึ่งอิสระตามการประเมินสภาพผู้ป่วยที่เป็นปัจจุบัน เริ่มฟอกเลือกโดยการดึงน้ำส่วนเกินออกอย่างรวดเร็๋วเพื่อช่วยเหลือลดอาการไม่สุขสบายผู้ป่วยที่สอดคล้องกับแผนการักษาของแพทย์ Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25390