From this page you can:
Home |
Search results
6 result(s) search for keyword(s) 'ธรรมาภิบาล.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ธรรมาภิบาล / รัชยา ภักดีจิตต์ / [กรุงเทพฯ] : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2555
Title : ธรรมาภิบาล : เพื่อการบริหารภาครัฐและภาคเอกชน Original title : Good govermance public and private management Material Type: printed text Authors: รัชยา ภักดีจิตต์, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1 Publisher: [กรุงเทพฯ] : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2555 Pagination: 174 หน้า. Size: 21 ซม. ISBN (or other code): 978-974-03-3024-0 Price: บริจาค (100.00) Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารรัฐกิจ -- ไทย
[LCSH]การปฎิรูปราชการพลเรือน -- ไทย.
[LCSH]การรับผิดชอบต่อสังคม
[LCSH]การเปลี่ยนแปลงทางสังคม -- ไทย
[LCSH]ธรรมรัฐ
[LCSH]บรรษัทภิบาลKeywords: ธรรมาภิบาล. Class number: JQ1745 ร712ธ 2555 Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23083 ธรรมาภิบาล = Good govermance public and private management : เพื่อการบริหารภาครัฐและภาคเอกชน [printed text] / รัชยา ภักดีจิตต์, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 1 . - [กรุงเทพฯ] : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555 . - 174 หน้า. ; 21 ซม.
ISBN : 978-974-03-3024-0 : บริจาค (100.00)
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารรัฐกิจ -- ไทย
[LCSH]การปฎิรูปราชการพลเรือน -- ไทย.
[LCSH]การรับผิดชอบต่อสังคม
[LCSH]การเปลี่ยนแปลงทางสังคม -- ไทย
[LCSH]ธรรมรัฐ
[LCSH]บรรษัทภิบาลKeywords: ธรรมาภิบาล. Class number: JQ1745 ร712ธ 2555 Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23083 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000353738 JQ1745 ร712ธ 2555 Book Main Library General Shelf Available SIU THE-T. ธรรมาภิบาลของผู้บริหารมหาวิทยาลัยของรัฐ มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ และมหาวิทยาลัยเอกชนในภาคใต้ของประเทศไทย / สุดสาคร สิงห์ทอง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU THE-T Title : ธรรมาภิบาลของผู้บริหารมหาวิทยาลัยของรัฐ มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ และมหาวิทยาลัยเอกชนในภาคใต้ของประเทศไทย Original title : Governance of the University Administrators in the Public University, Autonomous Public University and Private University in Southern Thailand Material Type: printed text Authors: สุดสาคร สิงห์ทอง, Author ; จารุภัทร เรืองสุวรรณ, Associated Name ; จารุภัทร เรืองสุวรรณ, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: xii, 256 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-08
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.รป.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารรัฐกิจ -- แง่ศีลธรรมจรรยา
[LCSH]ธรรมรัฐ
[LCSH]ธรรมรัฐ -- วิจัย -- ไทย (ภาคใต้)Keywords: ธรรมาภิบาล
ผู้บริหารมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยAbstract: การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบระดับธรรมาภิบาล ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อธรรมาภิบาล และปัจจัยทางทฤษฎีที่นำมาใช้ในการปฏิบัติงานแล้วส่งผลต่อธรรมาภิบาลของผู้บริหารมหาวิทยาลัยของรัฐ มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐและมหาวิทยาลัยเอกชนในภาคใต้ของประเทศไทย เป็นการวิจัยแบบผสม หน่วยวิเคราะห์ คือ บุคลากรของมหาวิทยาลัยในภาคใต้ จำนวน 5 แห่ง ประชากรและ กลุ่มตัวอย่างเป็นบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุน เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 244 คน สถิติที่ใช้ คือ ร้อยละ ความถี่ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าเฉลี่ย มัธยฐาน ไคว์สแควร์ การเปรียบเทียบพหุสหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอย โดยโปรแกรม SPSS
ผลการวิจัยพบว่า
1. ระดับธรรมาภิบาลของผู้บริหารมหาวิทยาลัยในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ยกเว้นด้าน ความโปร่งใส อยู่ในระดับปานกลาง
2. ตัวแปรอิสระมีความสัมพันธ์เชิงบวกสูงกับธรรมาภิบาลของผู้บริหารมหาวิทยาลัย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น .01
3. ระดับธรรมาภิบาลของผู้บริหารมหาวิทยาลัยเอกชนสูงกว่ามหาวิทยาลัยของรัฐและมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น .05
4. ตัวแปรอิสระ 5 ตัวแปร เรียงตามความสำคัญคือ ความสามารถในการกำหนดนโยบายและการนำนโยบายไปปฏิบัติ ประสิทธิภาพการบริหารงานอย่างคุ้มค่า ภาวะผู้นำของผู้บริหารมหาวิทยาลัย ความสามารถและความพร้อมในการปฏิบัติงาน และการติดต่อสื่อสารในการปฏิบัติงาน เป็นชุดตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อการอธิบายธรรมาภิบาลของผู้บริหารมหาวิทยาลัย ได้ร้อยละ 54.0 โดยมีความคลาดเคลื่อนของการทำนายเท่ากับ 9.119 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น .01
5. ปัจจัยทางทฤษฎีที่นำมาใช้ในการปฏิบัติงาน แล้วส่งผลต่อธรรมาภิบาลของผู้บริหารมหาวิทยาลัย มีการจัดลำดับความสำคัญแตกต่างกันในทุกมหาวิทยาลัย โดยทฤษฎีธรรมาภิบาลได้รับการนำมาใช้ในลำดับแรกเกือบทุกมหาวิทยาลัย รองลงมา คือ ทฤษฎีการบริหารในส่วนของการพัฒนาภาวะผู้นำและพฤติกรรมองค์การ ทฤษฎีนโยบายสาธารณะในส่วนของการให้บริการสาธารณะ และทฤษฎีการมีส่วนร่วมCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26552 SIU THE-T. ธรรมาภิบาลของผู้บริหารมหาวิทยาลัยของรัฐ มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ และมหาวิทยาลัยเอกชนในภาคใต้ของประเทศไทย = Governance of the University Administrators in the Public University, Autonomous Public University and Private University in Southern Thailand [printed text] / สุดสาคร สิงห์ทอง, Author ; จารุภัทร เรืองสุวรรณ, Associated Name ; จารุภัทร เรืองสุวรรณ, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - xii, 256 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-08
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.รป.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารรัฐกิจ -- แง่ศีลธรรมจรรยา
[LCSH]ธรรมรัฐ
[LCSH]ธรรมรัฐ -- วิจัย -- ไทย (ภาคใต้)Keywords: ธรรมาภิบาล
ผู้บริหารมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยAbstract: การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบระดับธรรมาภิบาล ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อธรรมาภิบาล และปัจจัยทางทฤษฎีที่นำมาใช้ในการปฏิบัติงานแล้วส่งผลต่อธรรมาภิบาลของผู้บริหารมหาวิทยาลัยของรัฐ มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐและมหาวิทยาลัยเอกชนในภาคใต้ของประเทศไทย เป็นการวิจัยแบบผสม หน่วยวิเคราะห์ คือ บุคลากรของมหาวิทยาลัยในภาคใต้ จำนวน 5 แห่ง ประชากรและ กลุ่มตัวอย่างเป็นบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุน เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 244 คน สถิติที่ใช้ คือ ร้อยละ ความถี่ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าเฉลี่ย มัธยฐาน ไคว์สแควร์ การเปรียบเทียบพหุสหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอย โดยโปรแกรม SPSS
ผลการวิจัยพบว่า
1. ระดับธรรมาภิบาลของผู้บริหารมหาวิทยาลัยในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ยกเว้นด้าน ความโปร่งใส อยู่ในระดับปานกลาง
2. ตัวแปรอิสระมีความสัมพันธ์เชิงบวกสูงกับธรรมาภิบาลของผู้บริหารมหาวิทยาลัย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น .01
3. ระดับธรรมาภิบาลของผู้บริหารมหาวิทยาลัยเอกชนสูงกว่ามหาวิทยาลัยของรัฐและมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น .05
4. ตัวแปรอิสระ 5 ตัวแปร เรียงตามความสำคัญคือ ความสามารถในการกำหนดนโยบายและการนำนโยบายไปปฏิบัติ ประสิทธิภาพการบริหารงานอย่างคุ้มค่า ภาวะผู้นำของผู้บริหารมหาวิทยาลัย ความสามารถและความพร้อมในการปฏิบัติงาน และการติดต่อสื่อสารในการปฏิบัติงาน เป็นชุดตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อการอธิบายธรรมาภิบาลของผู้บริหารมหาวิทยาลัย ได้ร้อยละ 54.0 โดยมีความคลาดเคลื่อนของการทำนายเท่ากับ 9.119 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น .01
5. ปัจจัยทางทฤษฎีที่นำมาใช้ในการปฏิบัติงาน แล้วส่งผลต่อธรรมาภิบาลของผู้บริหารมหาวิทยาลัย มีการจัดลำดับความสำคัญแตกต่างกันในทุกมหาวิทยาลัย โดยทฤษฎีธรรมาภิบาลได้รับการนำมาใช้ในลำดับแรกเกือบทุกมหาวิทยาลัย รองลงมา คือ ทฤษฎีการบริหารในส่วนของการพัฒนาภาวะผู้นำและพฤติกรรมองค์การ ทฤษฎีนโยบายสาธารณะในส่วนของการให้บริการสาธารณะ และทฤษฎีการมีส่วนร่วมCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26552 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591998 SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-08 c.1 Thesis Graduate Library Thesis Corner Due for return by 10/30/2024 32002000593788 SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-08 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. บทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัดตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะสงฆ์ภาค 10 / พระมหาคะนอง จันทร์คำลอย / ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Collection Title: SIU THE-T Title : บทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัดตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะสงฆ์ภาค 10 Original title : The Abbot’s Roles in Monasteries Management towards Good Governance Principles under the Sangha Region 10 Material Type: printed text Authors: พระมหาคะนอง จันทร์คำลอย, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: xi, 140 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-20
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ธรรมาภิบาล
[LCSH]เจ้าอาวาสKeywords: เจ้าอาวาส, คณะสงฆ์ภาค 10, ธรรมาภิบาล Abstract: งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัญหาการบริหารกิจการคณะสงฆ์ว่าด้วยกฎ ระเบียบ ข้อบังคับและหลักธรรมาภิบาล ต่อบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค 10 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค 10 3) เพื่อศึกษาบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค 10 ผู้วิจัยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) คือ 1) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ด้วยการสัมภาษณ์จำนวน 24 คน โดยการวิเคราะห์เนื้อหา 2) การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่าง ของประชาชนในสังกัดคณะสงฆ์ภาค10 จำนวน 6 จังหวัด จำนวน 400 คน โดยการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุคูณ
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพพบว่า ปัญหามิติการบริหารกิจการคณะสงฆ์และหลักธรรมาภิบาล ต่อบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค 10
1) การเผยแผ่ศาสนา ขาดการวางแผนเชิงรุก 2) การศาสนศึกษา ขาดแคลนงบประมาณอุดหนุน 3) การศึกษาสงเคราะห์ ขาดการมีส่วนร่วม 4) การสาธารณะสงเคราะห์ ขาดการวางแผน 5) การสาธารณูปการ การขัดแย้งกับชุมชน 6) การปกครอง ขาดโครงสร้างที่เหมาะสม และงานวิจัยเชิงปริมาณพบว่า ปัจจัยมิติการบริหารกิจการคณะสงฆ์ที่ส่งผลต่อบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค 10 ภาพรวมอยู่ในระดับมากคือ ด้านการศาสนศึกษา (x̄ = 4.52, S.D. = 0.69) โดยตัวแปรทำนายทั้ง 4 ตัวได้แก่ ด้านศาสนศึกษา ด้านสาธารณสงเคราะห์ ด้านสาธารณูปการ และด้านการปกครอง สามารถร่วมกันทำนายบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค 10 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.513 มีอำนาจทำนายร้อยละ 25.20 ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการทำนายมีค่า 1.990 และปัจจัยธรรมาภิบาลที่ส่งผลต่อบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค10 ภาพรวมอยู่ในระดับมากคือหลักความโปร่งใสและหลักการมีส่วนร่วม มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.55, S.D. = 0.57, 0.66) โดยตัวแปรทำนายทั้ง 4 ตัวได้แก่ด้านหลักนิติธรรม ด้านหลักการมีส่วนร่วม ด้านความคุ้มค่า และด้านหลักการตอบสนอง สามารถร่วมกันทำนายบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค 10 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.691 มีอำนาจทำนายร้อยละ 47.80 ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการทำนายมีค่า 1.863
ข้อเสนอแนะ ศึกษาทัศนคติของชุมชนที่มีภูมิลำเนาฐานรอบศาสนสถาน นำงานวิจัยมาปรับปรุงและยกระดับการบริหารกิจการคณะสงฆ์และนำสู่ภาคปฏิบัติร่วมกันเพื่อสร้างสันติสุขให้กับชุมชนCurricular : MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28273 SIU THE-T. บทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัดตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะสงฆ์ภาค 10 = The Abbot’s Roles in Monasteries Management towards Good Governance Principles under the Sangha Region 10 [printed text] / พระมหาคะนอง จันทร์คำลอย, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - xi, 140 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-20
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ธรรมาภิบาล
[LCSH]เจ้าอาวาสKeywords: เจ้าอาวาส, คณะสงฆ์ภาค 10, ธรรมาภิบาล Abstract: งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัญหาการบริหารกิจการคณะสงฆ์ว่าด้วยกฎ ระเบียบ ข้อบังคับและหลักธรรมาภิบาล ต่อบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค 10 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค 10 3) เพื่อศึกษาบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค 10 ผู้วิจัยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) คือ 1) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ด้วยการสัมภาษณ์จำนวน 24 คน โดยการวิเคราะห์เนื้อหา 2) การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่าง ของประชาชนในสังกัดคณะสงฆ์ภาค10 จำนวน 6 จังหวัด จำนวน 400 คน โดยการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุคูณ
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพพบว่า ปัญหามิติการบริหารกิจการคณะสงฆ์และหลักธรรมาภิบาล ต่อบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค 10
1) การเผยแผ่ศาสนา ขาดการวางแผนเชิงรุก 2) การศาสนศึกษา ขาดแคลนงบประมาณอุดหนุน 3) การศึกษาสงเคราะห์ ขาดการมีส่วนร่วม 4) การสาธารณะสงเคราะห์ ขาดการวางแผน 5) การสาธารณูปการ การขัดแย้งกับชุมชน 6) การปกครอง ขาดโครงสร้างที่เหมาะสม และงานวิจัยเชิงปริมาณพบว่า ปัจจัยมิติการบริหารกิจการคณะสงฆ์ที่ส่งผลต่อบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค 10 ภาพรวมอยู่ในระดับมากคือ ด้านการศาสนศึกษา (x̄ = 4.52, S.D. = 0.69) โดยตัวแปรทำนายทั้ง 4 ตัวได้แก่ ด้านศาสนศึกษา ด้านสาธารณสงเคราะห์ ด้านสาธารณูปการ และด้านการปกครอง สามารถร่วมกันทำนายบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค 10 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.513 มีอำนาจทำนายร้อยละ 25.20 ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการทำนายมีค่า 1.990 และปัจจัยธรรมาภิบาลที่ส่งผลต่อบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค10 ภาพรวมอยู่ในระดับมากคือหลักความโปร่งใสและหลักการมีส่วนร่วม มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.55, S.D. = 0.57, 0.66) โดยตัวแปรทำนายทั้ง 4 ตัวได้แก่ด้านหลักนิติธรรม ด้านหลักการมีส่วนร่วม ด้านความคุ้มค่า และด้านหลักการตอบสนอง สามารถร่วมกันทำนายบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค 10 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.691 มีอำนาจทำนายร้อยละ 47.80 ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการทำนายมีค่า 1.863
ข้อเสนอแนะ ศึกษาทัศนคติของชุมชนที่มีภูมิลำเนาฐานรอบศาสนสถาน นำงานวิจัยมาปรับปรุงและยกระดับการบริหารกิจการคณะสงฆ์และนำสู่ภาคปฏิบัติร่วมกันเพื่อสร้างสันติสุขให้กับชุมชนCurricular : MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28273 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607503 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-20 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607514 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-20 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ปัจจัยที่อธิบายธรรมาภิบาลของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในภาคตะวันออกของประเทศไทย / ธนบดี ฐานะชาลา / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU THE-T Title : ปัจจัยที่อธิบายธรรมาภิบาลของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในภาคตะวันออกของประเทศไทย Original title : Factors Explaining Good Governance among Administrators of the Local Administration Organization in the Eastern Region of Thailand Material Type: printed text Authors: ธนบดี ฐานะชาลา, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: xi, 263 p. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-11
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ธรรมรัฐ -- ไทย (ภาคตะวันออก)
[LCSH]องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -- การบริหารKeywords: ธรรมาภิบาล
ปัจจัยที่อธิบายธรรมาภิบาล
รัฐประศาสนศาสตร์Abstract: การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับธรรมาภิบาลของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภาคตะวันออกของประเทศไทย 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่อธิบายธรรมาภิบาลของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภาคตะวันออกของประเทศไทย
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัย เชิงปริมาณและเสริมด้วยการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ข้าราชการ/พนักงาน จำนวน 345 คน และผู้นำชุมชน จำนวน 14 คน ใน 7 จังหวัด ประกอบด้วย จังหวัดจันทบุรี จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดชลบุรี จังหวัดตราด จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดระยอง และจังหวัดสระแก้ว เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยผ่านการตรวจสอบความแม่นตรงจากผู้ทรงคุณวุฒิ มีค่าเท่ากับ 1.00 และมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .988 (α coefficient = .988) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการหาค่าการถดถอยเชิงพหุคูณ
ผลการวิจัย พบว่า
1. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลระดับธรรมาภิบาลของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภาคตะวันออกของประเทศไทย พบว่า โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อันดับหนึ่ง คือ ด้านหลักความรับผิดชอบ รองลงมา คือ ด้านหลักความมีส่วนร่วม หลักนิติธรรม หลักความคุ้มค่า หลักคุณธรรม และหลักความโปร่งใส ตามลำดับ
2. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลระดับปัจจัยที่อธิบายธรรมาภิบาลของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภาคตะวันออกของประเทศไทย พบว่า โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก อันดับหนึ่ง คือ ด้านภาวะผู้นำ รองลงมา คือ ด้านการสื่อสารระหว่างรัฐกับประชาชน ด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน และกลไกในการตรวจสอบถ่วงดุล ตามลำดับ
3. ผลการวิเคราะห์ปัจจัยที่อธิบายธรรมาภิบาลของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภาคตะวันออกของประเทศไทย โดยใช้สถิติการถดถอยเชิงพหุคูณ (multiple regression) ผลการ
วิเคราะห์ พบว่า ปัจจัยที่อธิบายธรรมาภิบาลของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 4 ตัวแปร เรียงลำดับความสำคัญจากมากไปน้อย คือ ภาวะผู้นำ (X1),การมีส่วนร่วมของประชาชน (X2), กลไกในการตรวจสอบถ่วงดุล (X3) และ การสื่อสารระหว่างรัฐกับประชาชน (X4) มีผลต่อภาพรวมธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้ 41.00% ที่ระดับนัยสำคัญ .05
ข้อค้นพบนี้ นำไปสู่แนวทางในการพัฒนาธรรมาภิบาลของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในรูปแบบของการพัฒนาเชิงบูรณาการ ซึ่งหมายถึง การยกระดับธรรมาภิบาลของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จะต้องดำเนินการทั้งในด้านการพัฒนาผู้นำ การจัดระบบและกระบวนการให้ประชาชนมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ รวมตลอดถึงการพัฒนากลไกลในการตรวจสอบและถ่วงดุล ให้มีประสิทธิภาพเพิ่มมากยิ่งขึ้น และมีการสื่อสารที่หลากหลายระหว่างรัฐกับประชาชนอย่างต่อเนื่อง ในทางทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ จึงสรุปได้จากข้อค้นพบนี้ว่า ไม่มีทฤษฎีเดียวในการพัฒนา ธรรมาภิบาล การพัฒนาธรรมาภิบาลจึงต้องอาศัยทฤษฎีที่เป็นสหวิทยาการและมี การบูรณาการCurricular : GE/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26609 SIU THE-T. ปัจจัยที่อธิบายธรรมาภิบาลของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในภาคตะวันออกของประเทศไทย = Factors Explaining Good Governance among Administrators of the Local Administration Organization in the Eastern Region of Thailand [printed text] / ธนบดี ฐานะชาลา, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - xi, 263 p. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-11
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ธรรมรัฐ -- ไทย (ภาคตะวันออก)
[LCSH]องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -- การบริหารKeywords: ธรรมาภิบาล
ปัจจัยที่อธิบายธรรมาภิบาล
รัฐประศาสนศาสตร์Abstract: การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับธรรมาภิบาลของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภาคตะวันออกของประเทศไทย 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่อธิบายธรรมาภิบาลของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภาคตะวันออกของประเทศไทย
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัย เชิงปริมาณและเสริมด้วยการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ข้าราชการ/พนักงาน จำนวน 345 คน และผู้นำชุมชน จำนวน 14 คน ใน 7 จังหวัด ประกอบด้วย จังหวัดจันทบุรี จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดชลบุรี จังหวัดตราด จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดระยอง และจังหวัดสระแก้ว เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยผ่านการตรวจสอบความแม่นตรงจากผู้ทรงคุณวุฒิ มีค่าเท่ากับ 1.00 และมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .988 (α coefficient = .988) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการหาค่าการถดถอยเชิงพหุคูณ
ผลการวิจัย พบว่า
1. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลระดับธรรมาภิบาลของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภาคตะวันออกของประเทศไทย พบว่า โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อันดับหนึ่ง คือ ด้านหลักความรับผิดชอบ รองลงมา คือ ด้านหลักความมีส่วนร่วม หลักนิติธรรม หลักความคุ้มค่า หลักคุณธรรม และหลักความโปร่งใส ตามลำดับ
2. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลระดับปัจจัยที่อธิบายธรรมาภิบาลของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภาคตะวันออกของประเทศไทย พบว่า โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก อันดับหนึ่ง คือ ด้านภาวะผู้นำ รองลงมา คือ ด้านการสื่อสารระหว่างรัฐกับประชาชน ด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน และกลไกในการตรวจสอบถ่วงดุล ตามลำดับ
3. ผลการวิเคราะห์ปัจจัยที่อธิบายธรรมาภิบาลของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภาคตะวันออกของประเทศไทย โดยใช้สถิติการถดถอยเชิงพหุคูณ (multiple regression) ผลการ
วิเคราะห์ พบว่า ปัจจัยที่อธิบายธรรมาภิบาลของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 4 ตัวแปร เรียงลำดับความสำคัญจากมากไปน้อย คือ ภาวะผู้นำ (X1),การมีส่วนร่วมของประชาชน (X2), กลไกในการตรวจสอบถ่วงดุล (X3) และ การสื่อสารระหว่างรัฐกับประชาชน (X4) มีผลต่อภาพรวมธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้ 41.00% ที่ระดับนัยสำคัญ .05
ข้อค้นพบนี้ นำไปสู่แนวทางในการพัฒนาธรรมาภิบาลของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในรูปแบบของการพัฒนาเชิงบูรณาการ ซึ่งหมายถึง การยกระดับธรรมาภิบาลของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จะต้องดำเนินการทั้งในด้านการพัฒนาผู้นำ การจัดระบบและกระบวนการให้ประชาชนมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ รวมตลอดถึงการพัฒนากลไกลในการตรวจสอบและถ่วงดุล ให้มีประสิทธิภาพเพิ่มมากยิ่งขึ้น และมีการสื่อสารที่หลากหลายระหว่างรัฐกับประชาชนอย่างต่อเนื่อง ในทางทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ จึงสรุปได้จากข้อค้นพบนี้ว่า ไม่มีทฤษฎีเดียวในการพัฒนา ธรรมาภิบาล การพัฒนาธรรมาภิบาลจึงต้องอาศัยทฤษฎีที่เป็นสหวิทยาการและมี การบูรณาการCurricular : GE/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26609 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592566 SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-11 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. หลักธรรมาภิบาลและปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ / เทวฤทธิ์ วิญญา / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2021
Collection Title: SIU THE-T Title : หลักธรรมาภิบาลและปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ Original title : Good Governance Principle and Administrative Factors Affecting Performance Efficiencies of Faculty Senates in Rajabhat Universities Material Type: printed text Authors: เทวฤทธิ์ วิญญา, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2021 Pagination: x, 141 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2021-01
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2021Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหาร
[LCSH]ธรรมาภิบาล
[LCSH]มหาวิทยาลัยราชภัฏ -- ข้าราชการ -- การทำงานKeywords: ธรรมาภิบาล, ปัจจัยการบริหาร, ประสิทธิภาพ Abstract: การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับการรับรู้ถึงการนำเอาหลักธรรมาภิบาลของสภาคณาจารย์และข้าราชการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมาใช้ในการปฏิบัติงาน 2) เพื่อศึกษาระดับการรับรู้ถึงปัจจัยการบริหารงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ 3) เพื่อศึกษาถึงระดับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ 4) เพื่อศึกษาระดับของหลักธรรมาภิบาลและปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ 5) เพื่อศึกษาปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับหลักธรรมาภิบาลและปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Reseach) โดยมีทั้งการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Reseach) และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Reseach) เพื่อนำเอาข้อมูลทั้ง 2 แบบมาสังเคราะห์ตามวัตถุประสงค์การวิจัย โดยการวิจัยเชิงปริมาณผู้วิจัยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างคือสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 20 แห่ง จำนวน 118 คน ส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธี Focus group จากคณะกรรมการสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภาคเหนือ 8 จำนวน 40 คน การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้ค่าความถี่ (Frequency) และค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic men) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และใช้สถิติ Regression ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลการบรรยายเชิงพรรณนา และมีการอภิปรายผลการวิจัย
ผลการวิจัยสรุปได้ดังต่อไปนี้
1) ระดับการรับรู้ถึงการนำเอาหลักธรรมาภิบาลของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏมาใช้ในการปฏิบัติงาน พบว่าความคิดเห็นของสมาชิกสภาคณาจารย์และข้าราชการต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของสภาคณาจารย์และข้าราชการที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ อยู่ในระดับดีมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.28 (S.D = 0.70) 2) ระดับการรับรู้ถึงปัจจัยการบริหารงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ พบว่าความคิดเห็นความคิดเห็นของสมาชิกสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏเกี่ยวกับปัจจัยด้านโครงสร้างของสภาคณาจารย์และข้าราชการกับการบริหารงาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉลี่ย 4.20 (S.D = 0.73) 3) ระดับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ พบว่าความคิดเห็นของสมาชิกสภาคณาจารย์ฯ ที่มีต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ โดยภาพรวมอยู่ในระดับดีมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.31 (S.D = 0.71) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่ามากที่สุดคือ การนำเสนอเชิงนโยบายและแผนพัฒนามหาวิทยาลัยด้านต่าง ๆ ต่อมหาวิทยาลัย มีค่าเฉลี่ย 4.68 (S.D = 0.67) 4) ระดับของหลักธรรมาภิบาลและปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ พบว่าความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการบริหารทั้ง 5 ปัจจัยกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ โดยภาพรวมอยู่ในระดับน้อยที่สุด โดยพบว่ามีเพียงหลักธรรมาภิบาล มีความสัมพันธ์ในระดับน้อยที่สุดในทิศทางบวก (Pxy = .152) ส่วนอีก 4 ปัจจัยจะมีความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพในปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการในระดับน้อยที่สุดทิศทางลบ 5) ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับหลักธรรมาภิบาลและปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏพบว่า ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ ปัญหาในการบริหารของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ ขาดการสนับสนุนทางด้านงบประมาณจากมหาวิทยาลัย สภาคณาจารย์ไม่ได้แสดงบทบาทต่อมหาวิทยาลัยอย่างเต็มที่ บุคลากรในสภาคณาจารย์ฯ มีภาระความรับผิดในการสอนและการบริหารสภาทำให้ไม่ปฏิบัติที่ได้มีประสิทธิภาพเท่าที่ควรCurricular : GE/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28402 SIU THE-T. หลักธรรมาภิบาลและปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ = Good Governance Principle and Administrative Factors Affecting Performance Efficiencies of Faculty Senates in Rajabhat Universities [printed text] / เทวฤทธิ์ วิญญา, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2021 . - x, 141 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2021-01
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2021
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหาร
[LCSH]ธรรมาภิบาล
[LCSH]มหาวิทยาลัยราชภัฏ -- ข้าราชการ -- การทำงานKeywords: ธรรมาภิบาล, ปัจจัยการบริหาร, ประสิทธิภาพ Abstract: การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับการรับรู้ถึงการนำเอาหลักธรรมาภิบาลของสภาคณาจารย์และข้าราชการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมาใช้ในการปฏิบัติงาน 2) เพื่อศึกษาระดับการรับรู้ถึงปัจจัยการบริหารงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ 3) เพื่อศึกษาถึงระดับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ 4) เพื่อศึกษาระดับของหลักธรรมาภิบาลและปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ 5) เพื่อศึกษาปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับหลักธรรมาภิบาลและปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Reseach) โดยมีทั้งการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Reseach) และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Reseach) เพื่อนำเอาข้อมูลทั้ง 2 แบบมาสังเคราะห์ตามวัตถุประสงค์การวิจัย โดยการวิจัยเชิงปริมาณผู้วิจัยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างคือสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 20 แห่ง จำนวน 118 คน ส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธี Focus group จากคณะกรรมการสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภาคเหนือ 8 จำนวน 40 คน การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้ค่าความถี่ (Frequency) และค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic men) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และใช้สถิติ Regression ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลการบรรยายเชิงพรรณนา และมีการอภิปรายผลการวิจัย
ผลการวิจัยสรุปได้ดังต่อไปนี้
1) ระดับการรับรู้ถึงการนำเอาหลักธรรมาภิบาลของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏมาใช้ในการปฏิบัติงาน พบว่าความคิดเห็นของสมาชิกสภาคณาจารย์และข้าราชการต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของสภาคณาจารย์และข้าราชการที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ อยู่ในระดับดีมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.28 (S.D = 0.70) 2) ระดับการรับรู้ถึงปัจจัยการบริหารงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ พบว่าความคิดเห็นความคิดเห็นของสมาชิกสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏเกี่ยวกับปัจจัยด้านโครงสร้างของสภาคณาจารย์และข้าราชการกับการบริหารงาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉลี่ย 4.20 (S.D = 0.73) 3) ระดับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ พบว่าความคิดเห็นของสมาชิกสภาคณาจารย์ฯ ที่มีต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ โดยภาพรวมอยู่ในระดับดีมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.31 (S.D = 0.71) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่ามากที่สุดคือ การนำเสนอเชิงนโยบายและแผนพัฒนามหาวิทยาลัยด้านต่าง ๆ ต่อมหาวิทยาลัย มีค่าเฉลี่ย 4.68 (S.D = 0.67) 4) ระดับของหลักธรรมาภิบาลและปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ พบว่าความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการบริหารทั้ง 5 ปัจจัยกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ โดยภาพรวมอยู่ในระดับน้อยที่สุด โดยพบว่ามีเพียงหลักธรรมาภิบาล มีความสัมพันธ์ในระดับน้อยที่สุดในทิศทางบวก (Pxy = .152) ส่วนอีก 4 ปัจจัยจะมีความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพในปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการในระดับน้อยที่สุดทิศทางลบ 5) ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับหลักธรรมาภิบาลและปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏพบว่า ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ ปัญหาในการบริหารของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ ขาดการสนับสนุนทางด้านงบประมาณจากมหาวิทยาลัย สภาคณาจารย์ไม่ได้แสดงบทบาทต่อมหาวิทยาลัยอย่างเต็มที่ บุคลากรในสภาคณาจารย์ฯ มีภาระความรับผิดในการสอนและการบริหารสภาทำให้ไม่ปฏิบัติที่ได้มีประสิทธิภาพเท่าที่ควรCurricular : GE/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28402 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607856 SIU THE-T: IPAG-DPA-2021-01 c.1 Thesis Main Library Thesis Corner Available 32002000607854 SIU THE-T: IPAG-DPA-2021-01 c.2 Thesis Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. แนวทางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสมของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล / รณกร รัตนะพร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2021
Collection Title: SIU THE-T Title : แนวทางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสมของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล Original title : Management Guideline According to Good Governance for Suitable of Police Special Branch Bureau Material Type: printed text Authors: รณกร รัตนะพร, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2021 Pagination: x, 152 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2021-03
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2021Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหาร
[LCSH]ตำรวจ
[LCSH]ธรรมาภิบาลKeywords: ธรรมาภิบาล, การบริหาร, ตำรวจสันติบาล Abstract: งานวิจัยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสม 2) เพื่อศึกษาปัจจัยปัญหาและอุปสรรคต่อแนวทางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสม 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อแนวทางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสม การวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) คือ (1) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ด้วยการสัมภาษณ์ผู้บริหารกองบัญชาการตำรวจสันติบาล จำนวน 11 คน โดยการวิเคราะห์เนื้อหา (2) การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 คน โดยการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า 1) แนวทางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสม คือการบริหารงานรูปแบบใหม่ที่ที่เรียกว่า “Special Team” S = security, P = participation, E = efficiency, C = creative, I = innovation, A = activeness, L = law, T = transparent, E = ethics, A = accountability, and M = moral 2) ปัจจัยปัญหาและอุปสรรคต่อแนวทางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสม เป็นการบริหารงานตามกฎ ระเบียบที่มีความซับซ้อน ไม่สอดคล้องกับกระแสความเปลี่ยนแปลงของสังคมได้อย่างทันการณ์ 3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อแนวทางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสม (1) ปัจจัยด้านการบริหารจัดการ ด้านค่านิยมร่วมอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.54, S.D. = 0.62) และ (2) หลักธรรมาภิบาล 10 หลัก ด้านหลักความเสมอภาคอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.71, S.D. = 0.55) สามารถทำนายหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ข้อเสนอแนะ ควรมีการบริหารจัดการองค์ความรู้ นำมาปรับใช้ในด้านการให้บริการแก่ประชาชน และถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ แก่หน่วยงานได้เต็มศักยภาพของแต่ละคนCurricular : GE/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28405 SIU THE-T. แนวทางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสมของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล = Management Guideline According to Good Governance for Suitable of Police Special Branch Bureau [printed text] / รณกร รัตนะพร, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2021 . - x, 152 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2021-03
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2021
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหาร
[LCSH]ตำรวจ
[LCSH]ธรรมาภิบาลKeywords: ธรรมาภิบาล, การบริหาร, ตำรวจสันติบาล Abstract: งานวิจัยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสม 2) เพื่อศึกษาปัจจัยปัญหาและอุปสรรคต่อแนวทางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสม 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อแนวทางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสม การวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) คือ (1) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ด้วยการสัมภาษณ์ผู้บริหารกองบัญชาการตำรวจสันติบาล จำนวน 11 คน โดยการวิเคราะห์เนื้อหา (2) การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 คน โดยการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า 1) แนวทางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสม คือการบริหารงานรูปแบบใหม่ที่ที่เรียกว่า “Special Team” S = security, P = participation, E = efficiency, C = creative, I = innovation, A = activeness, L = law, T = transparent, E = ethics, A = accountability, and M = moral 2) ปัจจัยปัญหาและอุปสรรคต่อแนวทางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสม เป็นการบริหารงานตามกฎ ระเบียบที่มีความซับซ้อน ไม่สอดคล้องกับกระแสความเปลี่ยนแปลงของสังคมได้อย่างทันการณ์ 3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อแนวทางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสม (1) ปัจจัยด้านการบริหารจัดการ ด้านค่านิยมร่วมอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.54, S.D. = 0.62) และ (2) หลักธรรมาภิบาล 10 หลัก ด้านหลักความเสมอภาคอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.71, S.D. = 0.55) สามารถทำนายหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ข้อเสนอแนะ ควรมีการบริหารจัดการองค์ความรู้ นำมาปรับใช้ในด้านการให้บริการแก่ประชาชน และถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ แก่หน่วยงานได้เต็มศักยภาพของแต่ละคนCurricular : GE/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28405 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607851 SIU THE-T: IPAG-DPA-2021-03 c.1 Thesis Main Library Thesis Corner Available 32002000607852 SIU THE-T: IPAG-DPA-2021-03 c.2 Thesis Main Library Thesis Corner Available