From this page you can:
Home |
Search results
1 result(s) search for keyword(s) 'ที่นอนเสริมแรงกด. แรงกดทับ. ผู้สูงอายุ.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ประสิทธิผลการป้องกันการเกิดแผลกดทับของที่นอนชนิดไม่มีการเคลื่อนที่ของลมและ / พรทิพย์ สารีโส in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 ([07/25/2016])
[article]
Title : ประสิทธิผลการป้องกันการเกิดแผลกดทับของที่นอนชนิดไม่มีการเคลื่อนที่ของลมและ : ชนิดที่มีการเคลื่อนที่ของลม : การศึกษาเบื้องต้น Material Type: printed text Authors: พรทิพย์ สารีโส, Author ; ปิยะภร ไพรสนธิ์, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.83-96 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 [07/25/2016] . - p.83-96Keywords: ที่นอนเสริมแรงกด. แรงกดทับ. ผู้สูงอายุ. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย : พัฒนาและทดสอบประสิทธิผลการป้องกันการเกิดแผลกดทับ
ของที่นอนเสริมลดแรงกดชนิดไม่มีการเคลื่อนที่ของลมในผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับ
การออกแบบการวิจัย : การวิจัยเชิงพัฒนาทดลอง
วิธีดำเนินการวิจัย : กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยศัลยกรรม
กึ่งวิกฤต จำนวน 12 คน จัดเข้ากลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองกลุ่มละ 6 คนโดยวิธีการสุ่ม
ประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับโดยใช้แบบประเมินของบราเดนในวันแรกรับ วันที่ 3,
7 และ 14 และประเมินผิวหนังโดยแบบประเมินสภาพผิวหนังของเบอร์กสตรอมทุกวัน
กลุ่มตัวอย่างทั้ง 2 กลุ่มได้รับการดูแลตามมาตรฐานการป้องกันแผลกดทับของโรงพยาบาล
กลุ่มทดลองนอนบนที่นอนเสริมลดแรงกดและกลุ่มควบคุมนอนบนที่นอนชนิดที่มีการ
เคลื่อนที่ของลม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ สถิติไคสแควร์และ
สถิติการทดสอบของฟิชเชอร์
ผลการวิจัย : กลุ่มตัวอย่าง 12 คน เกิดแผลกดทับ 4 คน เป็นกลุ่มควบคุม 2 คนและ
กลุ่มทดลอง 2 คน กลุ่มควบคุมเริ่มเกิดแผลกดทับในวันที่ 6 และวันที่ 10 ตามลำดับ กลุ่ม
ทดลองเริ่มเกิดแผลกดทับ ในวันที่ 6 และวันที่ 7 ตามลำดับ เมื่อจำแนกช่วงอายุ ระดับความเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับ ระดับอัลบูมินในเลือดและดัชนีมวลกาย พบว่า การเกิดแผลกดทับ
ในกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุมไม่มีความแตกต่างกัน (p < 0.05)
ข้อเสนอแนะ : ควรมีการศึกษาเพิ่มเติม ดังนี้ 1) ขยายเวลาของโปรแกรมในการนอน
บนที่นอนนวัตกรรมให้นานขึ้นเพื่อศึกษาถึงอายุการใช้งานของที่นอนนวัตกรรม 2) เพิ่ม
กลุ่มตัวอย่างให้มีขนาดใหญ่ขึ้นและ ประเมินความพึงพอใจในการใช้นวัตกรรมที่นอนจากผู้ใช้Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27045 [article] ประสิทธิผลการป้องกันการเกิดแผลกดทับของที่นอนชนิดไม่มีการเคลื่อนที่ของลมและ : ชนิดที่มีการเคลื่อนที่ของลม : การศึกษาเบื้องต้น [printed text] / พรทิพย์ สารีโส, Author ; ปิยะภร ไพรสนธิ์, Author . - 2016 . - p.83-96.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 [07/25/2016] . - p.83-96Keywords: ที่นอนเสริมแรงกด. แรงกดทับ. ผู้สูงอายุ. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย : พัฒนาและทดสอบประสิทธิผลการป้องกันการเกิดแผลกดทับ
ของที่นอนเสริมลดแรงกดชนิดไม่มีการเคลื่อนที่ของลมในผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับ
การออกแบบการวิจัย : การวิจัยเชิงพัฒนาทดลอง
วิธีดำเนินการวิจัย : กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยศัลยกรรม
กึ่งวิกฤต จำนวน 12 คน จัดเข้ากลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองกลุ่มละ 6 คนโดยวิธีการสุ่ม
ประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับโดยใช้แบบประเมินของบราเดนในวันแรกรับ วันที่ 3,
7 และ 14 และประเมินผิวหนังโดยแบบประเมินสภาพผิวหนังของเบอร์กสตรอมทุกวัน
กลุ่มตัวอย่างทั้ง 2 กลุ่มได้รับการดูแลตามมาตรฐานการป้องกันแผลกดทับของโรงพยาบาล
กลุ่มทดลองนอนบนที่นอนเสริมลดแรงกดและกลุ่มควบคุมนอนบนที่นอนชนิดที่มีการ
เคลื่อนที่ของลม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ สถิติไคสแควร์และ
สถิติการทดสอบของฟิชเชอร์
ผลการวิจัย : กลุ่มตัวอย่าง 12 คน เกิดแผลกดทับ 4 คน เป็นกลุ่มควบคุม 2 คนและ
กลุ่มทดลอง 2 คน กลุ่มควบคุมเริ่มเกิดแผลกดทับในวันที่ 6 และวันที่ 10 ตามลำดับ กลุ่ม
ทดลองเริ่มเกิดแผลกดทับ ในวันที่ 6 และวันที่ 7 ตามลำดับ เมื่อจำแนกช่วงอายุ ระดับความเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับ ระดับอัลบูมินในเลือดและดัชนีมวลกาย พบว่า การเกิดแผลกดทับ
ในกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุมไม่มีความแตกต่างกัน (p < 0.05)
ข้อเสนอแนะ : ควรมีการศึกษาเพิ่มเติม ดังนี้ 1) ขยายเวลาของโปรแกรมในการนอน
บนที่นอนนวัตกรรมให้นานขึ้นเพื่อศึกษาถึงอายุการใช้งานของที่นอนนวัตกรรม 2) เพิ่ม
กลุ่มตัวอย่างให้มีขนาดใหญ่ขึ้นและ ประเมินความพึงพอใจในการใช้นวัตกรรมที่นอนจากผู้ใช้Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27045