From this page you can:
Home |
Search results
1 result(s) search for keyword(s) 'ดัชนีน้ำหนักของผักตบชวา, ผงผักตบชวา, คอมโพสิทด้วยยางธรรมชาติ'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
SIU RS-T. การใช้ผักตบชวาเป็นเส้นใยในคอมโพสิทยางธรรมชาติ / เอกพจน์ วนโกสุม / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU RS-T Title : การใช้ผักตบชวาเป็นเส้นใยในคอมโพสิทยางธรรมชาติ Original title : Using Water Hyacinth as Fiber in Composite Natural Rubber Material Type: printed text Authors: เอกพจน์ วนโกสุม, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: ix, 56 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-08
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผักตบชวา -- การแปรรูป Keywords: ดัชนีน้ำหนักของผักตบชวา,
ผงผักตบชวา,
คอมโพสิทด้วยยางธรรมชาติAbstract: การศึกษาวิจัยการนำเสันใยจากผักตบชวามาทำคอมโพสิทด้วยยางธรรมชาติเพื่อเป็นการแก้ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและยังเป็นการเพิ่มมูลค่าของเส้นใยผักตบชวาและของยางธรรมชาติเนื่องจากผักตบชวาเป็นพืชที่แพร่พันธุ์เร็วมาก โดยมีอัตราการเจริญเติบโตเป็น 8 เท่าต่อเดือนหรือมีการสะสมมวลชีวภาพได้สูงถึง 20 กรัมน้ำหนักแห้งต่อตารางเมตรต่อวัน ดังนั้นหากสร้างปัญหาก็จะรุนแรงมาก หากเป็นผลผลิตก็จะเป็นผลผลิตที่มีอุปทาน(supply)สูงมาก หากสามารถเปลี่ยนผักตบชวาเป็นวัตถุดิบอุตสาหกรรมได้ก็จะมีแหล่งวัตถุดิบขนาดมหึมาทั่วประเทศผงผักตบชวาตากแห้งนำมาผสมกับยางพารา (ยางธรรมชาติ)โดยสร้างสรรค์ให้เป็นวัสดุต้นทางในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้ ก็จะเป็นประโยชน์อย่างมหาศาลทั้งในทางเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
การศึกษาวิจัยนี้จะเป็นการนำเอาผักตบชวาทุกส่วนมาใช้ทำให้เป็นผง (zero waste) โดยจะได้ผงผักตบชวา 8 % โดยน้ำหนักเมื่อเทียบกับผักตบชวาสด ค่าดัชนีน้ำหนักของผักตบชวาสดที่ได้คือ 9945 กรัมต่อตารางเมตร ดังนั้นจะสามารถทำเป็นผงได้ 795.6 กรัมต่อตารางเมตร จากการสำรวจในส่วนของพื้นที่ที่รับผิดชอบในเขตชลประทานมีทั้งหมด 2.77 ล้านตัน ถ้าคิดเป็นพื้นที่ประมาณ 279 ตารางกิโลเมตร และจะผลิตผงผักตบชวาได้ 220,000 ตัน โดยมีต้นทุนประมาณ 14.38บาทต่อกิโลกรัม หรือ 14,380บาทต่อตัน
ส่วนการนำไปผสมกับยางธรรมชาติกลายเป็นคอมโพสิทเพื่อเป็นการเพิ่มความแข็งแรงให้กับวัสดุคอมโพสิทเมื่อเทียบกับยางที่ไม่ใส่ผงผักตบชวาและยางที่ผสมคาร์บอนในท้องตลาดซึ่งเป็นการศึกษาความเป็นไปได้ที่จะนำไปใช้เป็นวัตถุดิบของผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้อย่างกว้างขวางCurricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27189 SIU RS-T. การใช้ผักตบชวาเป็นเส้นใยในคอมโพสิทยางธรรมชาติ = Using Water Hyacinth as Fiber in Composite Natural Rubber [printed text] / เอกพจน์ วนโกสุม, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - ix, 56 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-08
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผักตบชวา -- การแปรรูป Keywords: ดัชนีน้ำหนักของผักตบชวา,
ผงผักตบชวา,
คอมโพสิทด้วยยางธรรมชาติAbstract: การศึกษาวิจัยการนำเสันใยจากผักตบชวามาทำคอมโพสิทด้วยยางธรรมชาติเพื่อเป็นการแก้ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและยังเป็นการเพิ่มมูลค่าของเส้นใยผักตบชวาและของยางธรรมชาติเนื่องจากผักตบชวาเป็นพืชที่แพร่พันธุ์เร็วมาก โดยมีอัตราการเจริญเติบโตเป็น 8 เท่าต่อเดือนหรือมีการสะสมมวลชีวภาพได้สูงถึง 20 กรัมน้ำหนักแห้งต่อตารางเมตรต่อวัน ดังนั้นหากสร้างปัญหาก็จะรุนแรงมาก หากเป็นผลผลิตก็จะเป็นผลผลิตที่มีอุปทาน(supply)สูงมาก หากสามารถเปลี่ยนผักตบชวาเป็นวัตถุดิบอุตสาหกรรมได้ก็จะมีแหล่งวัตถุดิบขนาดมหึมาทั่วประเทศผงผักตบชวาตากแห้งนำมาผสมกับยางพารา (ยางธรรมชาติ)โดยสร้างสรรค์ให้เป็นวัสดุต้นทางในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้ ก็จะเป็นประโยชน์อย่างมหาศาลทั้งในทางเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
การศึกษาวิจัยนี้จะเป็นการนำเอาผักตบชวาทุกส่วนมาใช้ทำให้เป็นผง (zero waste) โดยจะได้ผงผักตบชวา 8 % โดยน้ำหนักเมื่อเทียบกับผักตบชวาสด ค่าดัชนีน้ำหนักของผักตบชวาสดที่ได้คือ 9945 กรัมต่อตารางเมตร ดังนั้นจะสามารถทำเป็นผงได้ 795.6 กรัมต่อตารางเมตร จากการสำรวจในส่วนของพื้นที่ที่รับผิดชอบในเขตชลประทานมีทั้งหมด 2.77 ล้านตัน ถ้าคิดเป็นพื้นที่ประมาณ 279 ตารางกิโลเมตร และจะผลิตผงผักตบชวาได้ 220,000 ตัน โดยมีต้นทุนประมาณ 14.38บาทต่อกิโลกรัม หรือ 14,380บาทต่อตัน
ส่วนการนำไปผสมกับยางธรรมชาติกลายเป็นคอมโพสิทเพื่อเป็นการเพิ่มความแข็งแรงให้กับวัสดุคอมโพสิทเมื่อเทียบกับยางที่ไม่ใส่ผงผักตบชวาและยางที่ผสมคาร์บอนในท้องตลาดซึ่งเป็นการศึกษาความเป็นไปได้ที่จะนำไปใช้เป็นวัตถุดิบของผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้อย่างกว้างขวางCurricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27189 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594752 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-08 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000594745 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-08 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan