From this page you can:
Home |
Search results
7 result(s) search for keyword(s) 'ญาติผู้ดูแล.ความเหน่อยล้า.การจัดการกับความเหนื่อยล้า.ภาวะหัวใจล้มเหลว.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ความเหนื่อยล้าและวิธีการจัดการกับความเหนื่อยล้าของญาติผู้ดูแลผู้ป่วยสูงอายุ / ลัดดาวัลย์ ไกรรักษ์ in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 ([11/16/2017])
[article]
Title : ความเหนื่อยล้าและวิธีการจัดการกับความเหนื่อยล้าของญาติผู้ดูแลผู้ป่วยสูงอายุ : ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวภายหลังออกจากโรงพยาบาล Original title : Fatigue and fatigue management of family caregivers caring for older adults with heart failure post discharge Material Type: printed text Authors: ลัดดาวัลย์ ไกรรักษ์, Author ; วรรณภา ประไพพานิช, Author ; สุปรีดา มั่นคง, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.17-30 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 [11/16/2017] . - p.17-30Keywords: ญาติผู้ดูแล.ความเหน่อยล้า.การจัดการกับความเหนื่อยล้า.ภาวะหัวใจล้มเหลว. Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย เพื่อศึกษาความเหนื่อยล้าและการจัดการกับความเหนื่อยล้าของญาติผู้ดูแลผู้ป่วยสูงอายุที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว โดยใช้ทฤษฎี The Theory of Unpleasant Symptoms และ Model for symptom management เป็นกรอบแนวคิดในการศึกษา
กลุ่มตัวอย่างเป็นญาติผู้ดูแลผู้ป่วยสูงอายุที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวที่จำหน่ายออกจากโรงพยาบาลไปแล้วอย่างน้อย1เดือน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง ตามคุณสมบัติที่กำหนด จำนวน 100 คน เครื่องมือเก็บข้อมูล 4 ส่วน ประกอบด้วย 1) แบบบันทึกข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วย 2) แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลของญาติ 3) แบบสอบถามความเหนื่อยล้า และ 4) แบบสอบถามการจัดการกับอาการเหนื่อยล้า วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย
ผลการวิจัยพบว่าญาติผู้ดูแลทั้งหมดมีความเหนื่อยล้าหลายระดับ โดยส่วนใหญ่มีความเหนื่อยล้าระดับปานกลาง มีการจัดการกับความเหนื่อยล้าโดยการไม่ใช้ยา และการใช้ยาร่วมกับการไม่ใช้ยา สำหรับการจัดการความเหนื่อยล้าโดยการไม่ใช้ยามีหลายกิจกรรมร่วมกัน ซึ่ง 5 กิจกรรมที่ใช้มาก ได้แก่ การพูดคุยกับคนรู้ใจ การนอนหลับ/พักผ่อน การทำสมาธิ การฟังดนตรีและการออกกำลังกาย กลุ่มตัวอย่างใช้วิธีต่างๆในการจัดการกับความเหนื่อยล้าให้เหมาะสมตามสถานการณ์และอาการที่เกิดขึ้น แหล่งข้อมูลของการจัดการโดยไม่ใช้ยาขึ้นอยู่กับวิธีจัดการด้วยตนเองตามอาการและวิธีการของตนเอง โดยได้ความรู้จากแผ่นพับหรือหนังสือ ญาติผู้ดูแลจัดการกับความเหนื่อยล้าโดยการใช้ยาร่วมด้วยนั้นใช้แหล่งข้อมูลส่วนใหญ่มาจากแพทย์และพยาบาลโดยคำนึงถึงการใช้ยาในขนาดที่เหมาะสม กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดคิดว่าการจัดการกับตนเองช่วยให้ความเหนื่อยล้าลดลงและช่วยให้รู้สึกสบายใจมากขึ้น กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดปฏิบัติกิจกรรมการจัดการกับความเหนื่อยล้าที่บ้าน
ผลการศึกษาแสดงว่าญาติผู้ดูแลผู้ป่วยมีความเหนื่อยล้า พยาบาลควรวางแผนการพยาบาลเพื่อป้องกัน ช่วยเหลือและแก้ไขการเกิดความเหนื่อยล้าของญาติผู้ดูแลLink for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27486 [article] ความเหนื่อยล้าและวิธีการจัดการกับความเหนื่อยล้าของญาติผู้ดูแลผู้ป่วยสูงอายุ = Fatigue and fatigue management of family caregivers caring for older adults with heart failure post discharge : ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวภายหลังออกจากโรงพยาบาล [printed text] / ลัดดาวัลย์ ไกรรักษ์, Author ; วรรณภา ประไพพานิช, Author ; สุปรีดา มั่นคง, Author . - 2017 . - p.17-30.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 [11/16/2017] . - p.17-30Keywords: ญาติผู้ดูแล.ความเหน่อยล้า.การจัดการกับความเหนื่อยล้า.ภาวะหัวใจล้มเหลว. Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย เพื่อศึกษาความเหนื่อยล้าและการจัดการกับความเหนื่อยล้าของญาติผู้ดูแลผู้ป่วยสูงอายุที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว โดยใช้ทฤษฎี The Theory of Unpleasant Symptoms และ Model for symptom management เป็นกรอบแนวคิดในการศึกษา
กลุ่มตัวอย่างเป็นญาติผู้ดูแลผู้ป่วยสูงอายุที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวที่จำหน่ายออกจากโรงพยาบาลไปแล้วอย่างน้อย1เดือน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง ตามคุณสมบัติที่กำหนด จำนวน 100 คน เครื่องมือเก็บข้อมูล 4 ส่วน ประกอบด้วย 1) แบบบันทึกข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วย 2) แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลของญาติ 3) แบบสอบถามความเหนื่อยล้า และ 4) แบบสอบถามการจัดการกับอาการเหนื่อยล้า วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย
ผลการวิจัยพบว่าญาติผู้ดูแลทั้งหมดมีความเหนื่อยล้าหลายระดับ โดยส่วนใหญ่มีความเหนื่อยล้าระดับปานกลาง มีการจัดการกับความเหนื่อยล้าโดยการไม่ใช้ยา และการใช้ยาร่วมกับการไม่ใช้ยา สำหรับการจัดการความเหนื่อยล้าโดยการไม่ใช้ยามีหลายกิจกรรมร่วมกัน ซึ่ง 5 กิจกรรมที่ใช้มาก ได้แก่ การพูดคุยกับคนรู้ใจ การนอนหลับ/พักผ่อน การทำสมาธิ การฟังดนตรีและการออกกำลังกาย กลุ่มตัวอย่างใช้วิธีต่างๆในการจัดการกับความเหนื่อยล้าให้เหมาะสมตามสถานการณ์และอาการที่เกิดขึ้น แหล่งข้อมูลของการจัดการโดยไม่ใช้ยาขึ้นอยู่กับวิธีจัดการด้วยตนเองตามอาการและวิธีการของตนเอง โดยได้ความรู้จากแผ่นพับหรือหนังสือ ญาติผู้ดูแลจัดการกับความเหนื่อยล้าโดยการใช้ยาร่วมด้วยนั้นใช้แหล่งข้อมูลส่วนใหญ่มาจากแพทย์และพยาบาลโดยคำนึงถึงการใช้ยาในขนาดที่เหมาะสม กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดคิดว่าการจัดการกับตนเองช่วยให้ความเหนื่อยล้าลดลงและช่วยให้รู้สึกสบายใจมากขึ้น กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดปฏิบัติกิจกรรมการจัดการกับความเหนื่อยล้าที่บ้าน
ผลการศึกษาแสดงว่าญาติผู้ดูแลผู้ป่วยมีความเหนื่อยล้า พยาบาลควรวางแผนการพยาบาลเพื่อป้องกัน ช่วยเหลือและแก้ไขการเกิดความเหนื่อยล้าของญาติผู้ดูแลLink for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27486 การประเมินประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยหลือดเลือดสมอง / สุปรีดา มั่นคง in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 ([02/08/2017])
[article]
Title : การประเมินประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยหลือดเลือดสมอง : และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน Material Type: printed text Authors: สุปรีดา มั่นคง, Author ; ยุพาพิน ศิรโพธิ์งาม, Author ; สิริรัตน์ ลีลาจรัส, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.84-101 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.84-101Keywords: ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง.ญาติผู้ดูแลผู้ป่วย.การดูแลระยะเปลี่ยนผ่าน.โรงพยาบาล. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน โดยการใช้การดูแลระยะเปลี่ยนผ่านตามแนวคิดของเนเลอร์ เป็นกรอบแนวคิดการวิจัย.
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ กลุ่มผู้ป่วย และญาติผู้ดูแลตามเกณฑ์ แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 34 คู่ และกลุ่มทดลอง 40 คู่
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ
1)โปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลือดเลือดสมองและญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน
2)แบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ป่วยและญาติผู้ดูแล
3)แบบประเมินความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
4)แบบประเมินความพร้อมของญาติผู้ดูแล
5)แบบประเมินภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วย
6)แบบประเมินความมั่นใจในการดูแล
7)แบบประเมินความเครียดของญาติผู้ดูแล
8)แบบประเมินคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแล
และ 9)แบบประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วยและฐาติผู้ดูแล
ผลการศึกษา พบว่า ระยะ 1เ ดือน-3 เดือน หลังจำหน่าย ค่าเฉี่ยคะแนนความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วย ความพร้อมของญาติผู้ดูแล และความพึงพอใจของผู้ป่วยและญาติผู้ดูแลในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และในระยะ 3 เดือนหลังจำหน่าย พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนการปรับตัวและคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแลในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
การศึกษาครั้งนี้ พบว่า โปรแกรมดังกล่าวสามารถนำไปปรับใช้กับการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเสื่อมและญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านได้Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26872 [article] การประเมินประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยหลือดเลือดสมอง : และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน [printed text] / สุปรีดา มั่นคง, Author ; ยุพาพิน ศิรโพธิ์งาม, Author ; สิริรัตน์ ลีลาจรัส, Author . - 2017 . - p.84-101.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.84-101Keywords: ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง.ญาติผู้ดูแลผู้ป่วย.การดูแลระยะเปลี่ยนผ่าน.โรงพยาบาล. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน โดยการใช้การดูแลระยะเปลี่ยนผ่านตามแนวคิดของเนเลอร์ เป็นกรอบแนวคิดการวิจัย.
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ กลุ่มผู้ป่วย และญาติผู้ดูแลตามเกณฑ์ แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 34 คู่ และกลุ่มทดลอง 40 คู่
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ
1)โปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลือดเลือดสมองและญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน
2)แบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ป่วยและญาติผู้ดูแล
3)แบบประเมินความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
4)แบบประเมินความพร้อมของญาติผู้ดูแล
5)แบบประเมินภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วย
6)แบบประเมินความมั่นใจในการดูแล
7)แบบประเมินความเครียดของญาติผู้ดูแล
8)แบบประเมินคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแล
และ 9)แบบประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วยและฐาติผู้ดูแล
ผลการศึกษา พบว่า ระยะ 1เ ดือน-3 เดือน หลังจำหน่าย ค่าเฉี่ยคะแนนความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วย ความพร้อมของญาติผู้ดูแล และความพึงพอใจของผู้ป่วยและญาติผู้ดูแลในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และในระยะ 3 เดือนหลังจำหน่าย พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนการปรับตัวและคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแลในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
การศึกษาครั้งนี้ พบว่า โปรแกรมดังกล่าวสามารถนำไปปรับใช้กับการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเสื่อมและญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านได้Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26872 คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว / สมลักษณ์ เทพสุริยานนท์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว Original title : Quality of life in heart failure patients Material Type: printed text Authors: สมลักษณ์ เทพสุริยานนท์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.39-45 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.39-45Keywords: คุณภาพชีวิต.ภาวะหัวใจล้มเหลว. Abstract: ภาวะหัวใจล้มเหลวเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญส่งผลกระทบต่อผู้ป่วยทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และเศรษฐกิจ ทำให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยลดลง การส่งเสริมให้ผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวมีคุณภาพชีวิตที่ดัขึ้นจึงเป็นเรื่องสำคัญ พยาบาลมีบทบาทสำคัญในการดูแลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว จึงต้องมีความเข้าใจในเรื่องคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยหัวใจล้มเหลว โดยใช้เครื่องมือที่เหมาะสมในการประเมินภาวะหัวใจล้มเหลว สามารถเลือกแนวคิดที่เกี่ยวข้องในการอธิบายคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว ตลอดจนเข้าใจปัจจัยที่ทำให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยดีขึ้น หรือลดลง และเลือกแนวทางที่เหมาะสมในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26739 [article] คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว = Quality of life in heart failure patients [printed text] / สมลักษณ์ เทพสุริยานนท์, Author . - 2017 . - p.39-45.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.39-45Keywords: คุณภาพชีวิต.ภาวะหัวใจล้มเหลว. Abstract: ภาวะหัวใจล้มเหลวเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญส่งผลกระทบต่อผู้ป่วยทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และเศรษฐกิจ ทำให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยลดลง การส่งเสริมให้ผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวมีคุณภาพชีวิตที่ดัขึ้นจึงเป็นเรื่องสำคัญ พยาบาลมีบทบาทสำคัญในการดูแลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว จึงต้องมีความเข้าใจในเรื่องคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยหัวใจล้มเหลว โดยใช้เครื่องมือที่เหมาะสมในการประเมินภาวะหัวใจล้มเหลว สามารถเลือกแนวคิดที่เกี่ยวข้องในการอธิบายคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว ตลอดจนเข้าใจปัจจัยที่ทำให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยดีขึ้น หรือลดลง และเลือกแนวทางที่เหมาะสมในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26739 ประสิทธิผลของชุดการดูแลเพื่อส่งเสริมความสามารถในการดูแลของผู้ดูแลและการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน / เพ็ญพิชชา ถิ่นแก้ว in วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ, Vol.38 No.4 (Oct-Dec) 2015 ([05/18/2016])
[article]
Title : ประสิทธิผลของชุดการดูแลเพื่อส่งเสริมความสามารถในการดูแลของผู้ดูแลและการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน : ของผู้สูงอายุที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว Material Type: printed text Authors: เพ็ญพิชชา ถิ่นแก้ว, Author ; เพลินพิศ ฐานิวัฒนานนท์, Author ; วิภาวี คงอินทร์, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.22-33 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ > Vol.38 No.4 (Oct-Dec) 2015 [05/18/2016] . - p.22-33Keywords: การดูแลเพื่อส่งเสริมความสามารถ.ผู้สูงอายุ.ภาวะหัวใจล้มเหลว. Curricular : BNS Link for e-copy: http://antispam.kmutt.ac.th/index.php.nah/index Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25605 [article] ประสิทธิผลของชุดการดูแลเพื่อส่งเสริมความสามารถในการดูแลของผู้ดูแลและการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน : ของผู้สูงอายุที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว [printed text] / เพ็ญพิชชา ถิ่นแก้ว, Author ; เพลินพิศ ฐานิวัฒนานนท์, Author ; วิภาวี คงอินทร์, Author . - 2016 . - p.22-33.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ > Vol.38 No.4 (Oct-Dec) 2015 [05/18/2016] . - p.22-33Keywords: การดูแลเพื่อส่งเสริมความสามารถ.ผู้สูงอายุ.ภาวะหัวใจล้มเหลว. Curricular : BNS Link for e-copy: http://antispam.kmutt.ac.th/index.php.nah/index Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25605 ผลของการใช้โปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเองต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและ / พรพรรณ เทอดสุทธิรณภูมิ in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 ([10/14/2015])
[article]
Title : ผลของการใช้โปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเองต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและ : คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวโรงพยาบาลประจวบคีรีขันธ์ Material Type: printed text Authors: พรพรรณ เทอดสุทธิรณภูมิ, Author Publication Date: 2015 Article on page: pp.2-14 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 [10/14/2015] . - pp.2-14Keywords: ภาวะหัวใจล้มเหลว.พฤติกรรมการดูและตนเอง.คุณภาพชีวิต.ระบบการพยาบาลแบบสนับสนุนและให้ความรู้. Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของการใช้โปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเองต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว โรงพยาบาลประจวบคีรีขันธ์ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว ที่เข้ารับบริการที่หน่วยงานผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลประจวบคีรีขันธ์ เลือกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงโดยมีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่ กำหนดจำนวน 60 ราย แบ่งเป็นกลุ่มทดลองจำนวน 30 ราย และกลุ่มควบคุมจำนวน 30 ราย กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเองที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีระบบการพยาบาลของโอเร็ม โดยใช้ระบบสนับสนุนและให้ความรู้ กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติเก็บข้อมูลก่อนและหลังการทดลอง และในกลุ่มควบคุมโดยใช้แบบสอบถามพฤติกรรมการดูแลตนเอง และแบบสอบถามคุณภาพชีวิตโรคหัวใจล้มเหลว วิเคราะหฺ์ข้อมูลโดยใชเสถิติ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และสถิติทดสอบที ผลการศึกษา พบว่า ผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวภายหลังได้รับโปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเองมีคุณภาพชีวิตดีกว่า และมีพฤติกรรมการดูแลตนเองดีกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) ผลการวิจัยนี้ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนารูปแบบของการพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว รวมทั้งผู้ป่วยโรคเรื้อรังอื่น ๆ ให้สามารถเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเองและเพิ่มคุณภาพชีวิต Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24995 [article] ผลของการใช้โปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเองต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและ : คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวโรงพยาบาลประจวบคีรีขันธ์ [printed text] / พรพรรณ เทอดสุทธิรณภูมิ, Author . - 2015 . - pp.2-14.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 [10/14/2015] . - pp.2-14Keywords: ภาวะหัวใจล้มเหลว.พฤติกรรมการดูและตนเอง.คุณภาพชีวิต.ระบบการพยาบาลแบบสนับสนุนและให้ความรู้. Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของการใช้โปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเองต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว โรงพยาบาลประจวบคีรีขันธ์ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว ที่เข้ารับบริการที่หน่วยงานผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลประจวบคีรีขันธ์ เลือกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงโดยมีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่ กำหนดจำนวน 60 ราย แบ่งเป็นกลุ่มทดลองจำนวน 30 ราย และกลุ่มควบคุมจำนวน 30 ราย กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเองที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีระบบการพยาบาลของโอเร็ม โดยใช้ระบบสนับสนุนและให้ความรู้ กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติเก็บข้อมูลก่อนและหลังการทดลอง และในกลุ่มควบคุมโดยใช้แบบสอบถามพฤติกรรมการดูแลตนเอง และแบบสอบถามคุณภาพชีวิตโรคหัวใจล้มเหลว วิเคราะหฺ์ข้อมูลโดยใชเสถิติ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และสถิติทดสอบที ผลการศึกษา พบว่า ผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวภายหลังได้รับโปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเองมีคุณภาพชีวิตดีกว่า และมีพฤติกรรมการดูแลตนเองดีกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) ผลการวิจัยนี้ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนารูปแบบของการพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว รวมทั้งผู้ป่วยโรคเรื้อรังอื่น ๆ ให้สามารถเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเองและเพิ่มคุณภาพชีวิต Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24995 ผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองและญาติผู้ดูแล ระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านต่อความสามารถในการปฏิบัีติกิจวัตรประจำวันภาวะแทรกซ้อน และความพึงพอใจของผู้ป่วย / วาสนา มูลฐี in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.1 (Jan-Mar) 2016/59 ([03/29/2016])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองและญาติผู้ดูแล ระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านต่อความสามารถในการปฏิบัีติกิจวัตรประจำวันภาวะแทรกซ้อน และความพึงพอใจของผู้ป่วย Original title : Impact of transitional care programme and family caregivers on stroke patient's routine activity performannce complications and satisfaction Material Type: printed text Authors: วาสนา มูลฐี, Author ; สุปรีดา มั่นคง, Author ; ยุพาพิน ศิรโพธิ์งาม, Author ; สิริรัตน์ ลีลาจรัส, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.95-110 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.1 (Jan-Mar) 2016/59 [03/29/2016] . - p.95-110Keywords: ผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วย.โรคหลอดเลือดสมอง.ญาติผู้ดูแล.ความสามารถการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน.ภาวะแทรกซ้อน.ความพึงพอใจของผู้ป่วย. Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25650 [article] ผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองและญาติผู้ดูแล ระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านต่อความสามารถในการปฏิบัีติกิจวัตรประจำวันภาวะแทรกซ้อน และความพึงพอใจของผู้ป่วย = Impact of transitional care programme and family caregivers on stroke patient's routine activity performannce complications and satisfaction [printed text] / วาสนา มูลฐี, Author ; สุปรีดา มั่นคง, Author ; ยุพาพิน ศิรโพธิ์งาม, Author ; สิริรัตน์ ลีลาจรัส, Author . - 2016 . - p.95-110.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ผลของโปรแกรมการสนับสนุนครอบครัวต่อการปรับตัวของญาติผู้ดูแลผู้ป่วย in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 ([09/21/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการสนับสนุนครอบครัวต่อการปรับตัวของญาติผู้ดูแลผู้ป่วย : หลังผ่าตัดสมองในหอผู้ป่วยวิกฤต Original title : The Effect of Family Support Program on Coping among Caregivers of Post-operative Neurosurgical Patients in ICU Material Type: printed text Publication Date: 2017 Article on page: p.49-64 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.49-64Keywords: การปรับตัว. โปรแกรมการสนับสนุนครอบครัว. ผู้ป่วยหลังผ่าตัดสมอง. ญาติผู้ดูแลหอผู้ป่วยวิกฤตประสาทศัลยศาสตร์. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อเปรียบเทียบการปรับตัวของญาติผู้ดูแลกลุ่มที่ได้รับ
โปรแกรมการสนับสนุนครอบครัว กับ กลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ ตั้งแต่ผู้ป่วยเข้ารับ
การรักษาในหอผู้ป่วยวิกฤตจนครบ 3 วัน
การออกแบบการวิจัย: วิธีวิจัยแบบกึ่งทดลอง (Quasi-experimental research)
การดำาเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นญาติผู้ดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัดสมอง จำนวน 60 ราย
แบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 2 กลุ่มๆ ละ 30 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยโปรแกรม
การสนับสนุนครอบครัวสำาหรับญาติผู้ดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัดสมอง และแบบสอบถามการปรับตัว
ฉบับย่อ (Brief COPE) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ Wilcoxon signed-rank test และ MannWhitney U Test
ผลการวิจัย: ภายหลังญาติผู้ดูแลกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการสนับสนุนครอบครัว
มีการปรับตัวดีขึ้นกว่าก่อนได้รับโปรแกรม (p < 0.05) และดีกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ
ทางสถิติ (p < 0.05) กล่าวคือ ผลของโปรแกรม ส่งผลให้ญาติผู้ดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัดสมอง
สามารถใช้วิธีการปรับตัวเพื่อเผชิญกับสถานการณ์ความเจ็บป่วยของผู้ป่วยได้อย่างมีนัยสำคัญ
ข้อเสนอแนะ: พยาบาลควรนำาโปรแกรมการสนับสนุนครอบครัวไปใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ
การพยาบาลตั้งแต่ผู้ป่วยเข้ารับการรักษาเพื่อช่วยให้ญาติผู้ดูแลมีการปรับตัวเพื่อเผชิญกับ
สถานการณ์ที่พบขณะอยู่ในหอผู้ป่วยวิกฤตLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27356 [article] ผลของโปรแกรมการสนับสนุนครอบครัวต่อการปรับตัวของญาติผู้ดูแลผู้ป่วย = The Effect of Family Support Program on Coping among Caregivers of Post-operative Neurosurgical Patients in ICU : หลังผ่าตัดสมองในหอผู้ป่วยวิกฤต [printed text] . - 2017 . - p.49-64.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.49-64Keywords: การปรับตัว. โปรแกรมการสนับสนุนครอบครัว. ผู้ป่วยหลังผ่าตัดสมอง. ญาติผู้ดูแลหอผู้ป่วยวิกฤตประสาทศัลยศาสตร์. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อเปรียบเทียบการปรับตัวของญาติผู้ดูแลกลุ่มที่ได้รับ
โปรแกรมการสนับสนุนครอบครัว กับ กลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ ตั้งแต่ผู้ป่วยเข้ารับ
การรักษาในหอผู้ป่วยวิกฤตจนครบ 3 วัน
การออกแบบการวิจัย: วิธีวิจัยแบบกึ่งทดลอง (Quasi-experimental research)
การดำาเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นญาติผู้ดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัดสมอง จำนวน 60 ราย
แบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 2 กลุ่มๆ ละ 30 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยโปรแกรม
การสนับสนุนครอบครัวสำาหรับญาติผู้ดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัดสมอง และแบบสอบถามการปรับตัว
ฉบับย่อ (Brief COPE) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ Wilcoxon signed-rank test และ MannWhitney U Test
ผลการวิจัย: ภายหลังญาติผู้ดูแลกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการสนับสนุนครอบครัว
มีการปรับตัวดีขึ้นกว่าก่อนได้รับโปรแกรม (p < 0.05) และดีกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ
ทางสถิติ (p < 0.05) กล่าวคือ ผลของโปรแกรม ส่งผลให้ญาติผู้ดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัดสมอง
สามารถใช้วิธีการปรับตัวเพื่อเผชิญกับสถานการณ์ความเจ็บป่วยของผู้ป่วยได้อย่างมีนัยสำคัญ
ข้อเสนอแนะ: พยาบาลควรนำาโปรแกรมการสนับสนุนครอบครัวไปใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ
การพยาบาลตั้งแต่ผู้ป่วยเข้ารับการรักษาเพื่อช่วยให้ญาติผู้ดูแลมีการปรับตัวเพื่อเผชิญกับ
สถานการณ์ที่พบขณะอยู่ในหอผู้ป่วยวิกฤตLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27356