From this page you can:
Home |
Search results
1 result(s) search for keyword(s) 'ความผันผวนของราคาล่วงหน้า.สัญญาซื้อขายทองคำล่วงหน้า.สมมติฐานของ Samuelson.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ปัจจัยที่กำหนดความผันผวนของราคาทองคำล่วงหน้า: กรณีศึกษาตลาดสัญญาซื้อขายล่วงหน้าประเทศไทย / วรดี จงอัศญากุล in Applied economics journal, Vol.21 No.1 (Jun) 2014 ([10/09/2014])
[article]
Title : ปัจจัยที่กำหนดความผันผวนของราคาทองคำล่วงหน้า: กรณีศึกษาตลาดสัญญาซื้อขายล่วงหน้าประเทศไทย Original title : Determinants of the gold future price volatility : the case of Thailand future exchange Material Type: printed text Authors: วรดี จงอัศญากุล, Author Publication Date: 2014 Article on page: p.59-78 Languages : English (eng) Original Language : Thai (tha)
in Applied economics journal > Vol.21 No.1 (Jun) 2014 [10/09/2014] . - p.59-78Keywords: ความผันผวนของราคาล่วงหน้า.สัญญาซื้อขายทองคำล่วงหน้า.สมมติฐานของ Samuelson. Abstract: การวิจัยนี้ได้ศึกษาปัจจัยที่กำหนดความผันผวนของราคาทองคำล่วงหน้าที่ซื้อขายในตลาด สัญญาซื้อขายล่วงหน้าประเทศไทย โดยใช้แบบจำลองถดถอยเชิงเส้นพหุคูณ และแบบจำลอง GARCH จากข้อมูลรายวันของราคาที่ใช้ชำระราคา ปริมาณการซื้อขาย และสถานะคงค้างของสัญญาซื้อขาย ทองคำล่วงหน้า ตั้งแต่วันแรกที่ซื้อขายจนถึงวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2556 โดยเป็นข้อมูลของสัญญา ที่มีเดือนส่งมอบใกล้ที่สุดจนถึงก่อนวันซื้อขายวันสุดท้ายของสัญญา 1 วัน มาเรียงต่อกัน ผลการศึกษา จากทั้ง 2 แบบจำลอง พบว่าความผันผวนของผลตอบแทนสัญญาซื้อขายทองคำล่วงหน้าจะมากขึ้น เมื่อ (1) เข้าใกล้วันครบกำหนดอายุ (2) ปริมาณซื้อขายมากขึ้น และ (3) สถานะคงค้างลดลง นอกจากนี้ผลการวิเคราะห์ยังพบว่าความแปรปรวนร่วมระหว่างผลตอบแทนสำหรับการซื้อขายทันที และการเปลี่ยนแปลงต้นทุนในการถือครองเป็นลบ ซึ่งเป็นการสนับสนุนผลกระทบวันครบกำหนด อายุในสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ดังนั้นนักลงทุนควรสนใจกับปัจจัยเหล่านี้ที่ส่งผลต่อการคาดการณ์ ราคาทองคำในอนาคต รวมทั้งผู้บริหารความเสี่ยงควรต้องปรับอัตราประกันความเสี่ยงให้มีความ เหมาะสมตามการเปลี่ยนแปลงของความผันผวน สำหรับสำนักหักบัญชีควรต้องให้ความสนใจใน การกำหนดอัตราหลักประกันแตกต่างกันในสัญญาซื้อขายทองคำล่วงหน้าที่เหลือเวลาครบกำหนด อายุแตกต่างกัน โดยสัญญาซื้อขายทองคำล่วงหน้าที่ใกล้ครบกำหนดอายุ ซึ่งมีความผันผวนมากขึ้น ก็ควรมีอัตราหลักประกันที่มากกว่าโดยเปรียบเทียบ รวมทั้งการเพิ่มอัตราหลักประกัน หากพบว่า Gold Futures มีปริมาณซื้อขายมากขึ้น และสถานะคงค้างลดลง Link for e-copy: http://www.journal.eco.ku.ac.th/ Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24023 [article] ปัจจัยที่กำหนดความผันผวนของราคาทองคำล่วงหน้า: กรณีศึกษาตลาดสัญญาซื้อขายล่วงหน้าประเทศไทย = Determinants of the gold future price volatility : the case of Thailand future exchange [printed text] / วรดี จงอัศญากุล, Author . - 2014 . - p.59-78.
Languages : English (eng) Original Language : Thai (tha)
in Applied economics journal > Vol.21 No.1 (Jun) 2014 [10/09/2014] . - p.59-78Keywords: ความผันผวนของราคาล่วงหน้า.สัญญาซื้อขายทองคำล่วงหน้า.สมมติฐานของ Samuelson. Abstract: การวิจัยนี้ได้ศึกษาปัจจัยที่กำหนดความผันผวนของราคาทองคำล่วงหน้าที่ซื้อขายในตลาด สัญญาซื้อขายล่วงหน้าประเทศไทย โดยใช้แบบจำลองถดถอยเชิงเส้นพหุคูณ และแบบจำลอง GARCH จากข้อมูลรายวันของราคาที่ใช้ชำระราคา ปริมาณการซื้อขาย และสถานะคงค้างของสัญญาซื้อขาย ทองคำล่วงหน้า ตั้งแต่วันแรกที่ซื้อขายจนถึงวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2556 โดยเป็นข้อมูลของสัญญา ที่มีเดือนส่งมอบใกล้ที่สุดจนถึงก่อนวันซื้อขายวันสุดท้ายของสัญญา 1 วัน มาเรียงต่อกัน ผลการศึกษา จากทั้ง 2 แบบจำลอง พบว่าความผันผวนของผลตอบแทนสัญญาซื้อขายทองคำล่วงหน้าจะมากขึ้น เมื่อ (1) เข้าใกล้วันครบกำหนดอายุ (2) ปริมาณซื้อขายมากขึ้น และ (3) สถานะคงค้างลดลง นอกจากนี้ผลการวิเคราะห์ยังพบว่าความแปรปรวนร่วมระหว่างผลตอบแทนสำหรับการซื้อขายทันที และการเปลี่ยนแปลงต้นทุนในการถือครองเป็นลบ ซึ่งเป็นการสนับสนุนผลกระทบวันครบกำหนด อายุในสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ดังนั้นนักลงทุนควรสนใจกับปัจจัยเหล่านี้ที่ส่งผลต่อการคาดการณ์ ราคาทองคำในอนาคต รวมทั้งผู้บริหารความเสี่ยงควรต้องปรับอัตราประกันความเสี่ยงให้มีความ เหมาะสมตามการเปลี่ยนแปลงของความผันผวน สำหรับสำนักหักบัญชีควรต้องให้ความสนใจใน การกำหนดอัตราหลักประกันแตกต่างกันในสัญญาซื้อขายทองคำล่วงหน้าที่เหลือเวลาครบกำหนด อายุแตกต่างกัน โดยสัญญาซื้อขายทองคำล่วงหน้าที่ใกล้ครบกำหนดอายุ ซึ่งมีความผันผวนมากขึ้น ก็ควรมีอัตราหลักประกันที่มากกว่าโดยเปรียบเทียบ รวมทั้งการเพิ่มอัตราหลักประกัน หากพบว่า Gold Futures มีปริมาณซื้อขายมากขึ้น และสถานะคงค้างลดลง Link for e-copy: http://www.journal.eco.ku.ac.th/ Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24023