From this page you can:
Home |
Search results
5 result(s) search for keyword(s) 'ความฉลาดทางอารมณ์'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความฉลาดทางอารมณ์ / เบญจลักษณ์ สทุมถิระ, / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2546
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความฉลาดทางอารมณ์ : การสนับสนุนจากครอบครัวกับความเป็นผู้นำที่มีประสิทธิผลของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม Original title : Relationships between personal factors, : emotional quotient, family support, and effective leadership of head nurses, hospitals under the jurisdiction of the Ministry of Defense Material Type: printed text Authors: เบญจลักษณ์ สทุมถิระ, (2499), Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2546 Pagination: ก-ฎ, 100 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-175-361-6 Price: บริจาค General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546 Languages : English (eng) Descriptors: [LCSH]การพัฒนาตนเอง
[LCSH]ความฉลาดทางอารมณ์
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]ภาวะผู้นำ
[LCSH]วิทยานิพนธ์Keywords: ความฉลาดทางอารมณ์.
ภาวะผู้นำ.Class number: WY18 บ532 2546 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23128 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความฉลาดทางอารมณ์ = Relationships between personal factors, : emotional quotient, family support, and effective leadership of head nurses, hospitals under the jurisdiction of the Ministry of Defense : การสนับสนุนจากครอบครัวกับความเป็นผู้นำที่มีประสิทธิผลของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม [printed text] / เบญจลักษณ์ สทุมถิระ, (2499), Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 . - ก-ฎ, 100 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-175-361-6 : บริจาค
วิทยานิพนธ์ [พย. ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546
Languages : English (eng)
Descriptors: [LCSH]การพัฒนาตนเอง
[LCSH]ความฉลาดทางอารมณ์
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]ภาวะผู้นำ
[LCSH]วิทยานิพนธ์Keywords: ความฉลาดทางอารมณ์.
ภาวะผู้นำ.Class number: WY18 บ532 2546 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23128 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354496 WY18 บ532 2546 Thesis Main Library Thesis Corner Available เชาวน์อารมณ์ (Emotional quotient-EQ) / วีระวัฒน์ ปันนิตามัย / กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2551
Title : เชาวน์อารมณ์ (Emotional quotient-EQ) : ดัชนีเพื่อความสุขและความสำเร็จของชีวิต Material Type: printed text Authors: วีระวัฒน์ ปันนิตามัย Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 7 (ฉบับปรับปรุง) Publisher: กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2551 Series: ดัชนีวัดความสุขและความสำเร็จ Pagination: 401, [2] หน้า Layout: ภาพประกอบ ISBN (or other code): 978-974-03-2134-7 General note: School of Nursing. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความฉลาดทางอารมณ์
[LCSH]ปัญญา
[LCSH]อารมณ์
[LCSH]เชาวน์Keywords: ความฉลาดทางอารมณ์ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=21997 เชาวน์อารมณ์ (Emotional quotient-EQ) : ดัชนีเพื่อความสุขและความสำเร็จของชีวิต [printed text] / วีระวัฒน์ ปันนิตามัย . - พิมพ์ครั้งที่ 7 (ฉบับปรับปรุง) . - สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 . - 401, [2] หน้า : ภาพประกอบ. - (ดัชนีวัดความสุขและความสำเร็จ) .
ISBN : 978-974-03-2134-7
School of Nursing.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความฉลาดทางอารมณ์
[LCSH]ปัญญา
[LCSH]อารมณ์
[LCSH]เชาวน์Keywords: ความฉลาดทางอารมณ์ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=21997 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000366359 BF538 ว848 2551 c.1 Book Main Library Library Counter Not for loan 32002000366367 BF538 ว848 2551 c.2 Book Main Library Library Counter Not for loan 32002000351385 BF538 ว848 2551 c.3 Book Main Library Library Counter Not for loan 32002000351070 BF538 ว848 2551 c.4 Book Main Library Library Counter Not for loan ความสัมพันธ์ระหว่างการคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วย ความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร / จุฑามาส ดุลยพิชช์ / คณะพยาบาลศ่าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2552
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างการคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วย ความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร Original title : Relationships between systems thinking of head nurses, emotional intelligence of staff nurses, and effectiveness of patient units as perceived by staff nurses, tertiary hospitals, Bangkok Metropolis Material Type: printed text Authors: จุฑามาส ดุลยพิชช์, Author Publisher: คณะพยาบาลศ่าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2552 Pagination: ก-ฎ, 151 แผ่น Layout: ภาพประกอบ Size: 30 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม.[การบริหารการพยาบาล]]--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2552 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพัฒนาตนเอง
[LCSH]ความฉลาดทางอารมณ์
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยKeywords: หัวหน้่าหอผู้ป่วย.
ความฉลาดทางอารมณ์.
จิตวิทยา.Class number: WY18 จ243 2552 Abstract: ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วย ความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลประจำการที่มีประสบการณ์ทำงานในหอผู้ป่วยตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร จำนวน 365 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage sampling) เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วยแบบสอบถามการคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการ และแบบสอบถามประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค ได้ .97, .91 และ .89 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ประสิทธิผลของหอผู้ป่วย และการคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร โดยรวมอยู่ในระดับสูง (mean = 3.71, SD = .61 และ mean = 3.88, SD = .56 ตามลำดับ) ความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร อยู่ในระดับปานกลาง (mean = 151.26, SD = 33.59) 2. การคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วย และความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการ ต่างก็มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลาง กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r =.45 และ .32 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23208 ความสัมพันธ์ระหว่างการคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วย ความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร = Relationships between systems thinking of head nurses, emotional intelligence of staff nurses, and effectiveness of patient units as perceived by staff nurses, tertiary hospitals, Bangkok Metropolis [printed text] / จุฑามาส ดุลยพิชช์, Author . - [S.l.] : คณะพยาบาลศ่าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 . - ก-ฎ, 151 แผ่น : ภาพประกอบ ; 30.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม.[การบริหารการพยาบาล]]--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2552
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพัฒนาตนเอง
[LCSH]ความฉลาดทางอารมณ์
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยKeywords: หัวหน้่าหอผู้ป่วย.
ความฉลาดทางอารมณ์.
จิตวิทยา.Class number: WY18 จ243 2552 Abstract: ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วย ความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลประจำการที่มีประสบการณ์ทำงานในหอผู้ป่วยตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร จำนวน 365 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage sampling) เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วยแบบสอบถามการคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการ และแบบสอบถามประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค ได้ .97, .91 และ .89 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ประสิทธิผลของหอผู้ป่วย และการคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร โดยรวมอยู่ในระดับสูง (mean = 3.71, SD = .61 และ mean = 3.88, SD = .56 ตามลำดับ) ความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร อยู่ในระดับปานกลาง (mean = 151.26, SD = 33.59) 2. การคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วย และความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการ ต่างก็มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลาง กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r =.45 และ .32 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23208 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354843 WY18 จ243 2552 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความเครียด ความฉลาดทางอารมณ์ / กมลรัตน์ ทองสว่าง in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความเครียด ความฉลาดทางอารมณ์ : กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ Original title : The relationships between the personal factors stress emotional intelligence and academic achievement of the students at faculty of nursing Chiyaphum Rajabhat University Material Type: printed text Authors: กมลรัตน์ ทองสว่าง, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.91-110 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.91-110Keywords: ความเครียด.ความฉลาดทางอารมณ์.ปัจจัยส่วนบุคคล.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา.นักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ. Abstract: วัตถุประสงค์เพื่อ 1 ศึกษาระดับความเครัยดและความฉลาดทางอารมณ์ 2ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ระดับความเครียด ความฉลาดทางอารมร์ กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3 สร้างสมการในการพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ
กลุ่มตัวอย่าง คือ น.ศ.ชั้นปีที่ 1 และ 2 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ปี 2556 จำนวน 159 คน
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 3 ส่วน คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนตัว แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ และแบบวัดความเครียด สถิติที่ใช้ ได้แก่ สถิติพื้นฐาน สัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์แบบเพียร์สัน การวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณ และคัดเลือกตัวแปรเข้าสมการแบบหลายขั้นตอน
ผลการวิจัย พบว่า นักศึกษามีคะแนนระดับความเครียดอยู่ในระดับสูง มีคะแนนความฉลาดทางอารมณ์โดยรวมเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ปกติชั้นปีที่ศึกษา จำนวนพี่น้อง ความเห็นใจผู้อื่น การรับผิดชอบ และความฉลาดทางอารมณ์มีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ความฉลาดทางอารมณ์ส่วนองค์ประกอบด้านดีในด้านการรู้จักเห็นใจผู้อื่น (X1)ชั้นปีที่ศึกษา (X2) และจำนวนพี่น้อง (X3) สามารถร่วมกันพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ และได้สมการคือ Y=0.97+0.06X1-0.217X2+0.132X
ผลการศึกษาครั้งนี้สามารถนำไปเป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนการให้คำปรึกษาสำหรับนักศึกษาที่มีปัญหาเกี่ยวกับเรื่องสุขภาพจิตของคณะพยาบาลศาสตร์ เพื่อส่งผลต่อสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีของนักศึกษาLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27217 [article] ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความเครียด ความฉลาดทางอารมณ์ = The relationships between the personal factors stress emotional intelligence and academic achievement of the students at faculty of nursing Chiyaphum Rajabhat University : กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ [printed text] / กมลรัตน์ ทองสว่าง, Author . - 2017 . - p.91-110.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.91-110Keywords: ความเครียด.ความฉลาดทางอารมณ์.ปัจจัยส่วนบุคคล.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา.นักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ. Abstract: วัตถุประสงค์เพื่อ 1 ศึกษาระดับความเครัยดและความฉลาดทางอารมณ์ 2ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ระดับความเครียด ความฉลาดทางอารมร์ กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3 สร้างสมการในการพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ
กลุ่มตัวอย่าง คือ น.ศ.ชั้นปีที่ 1 และ 2 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ปี 2556 จำนวน 159 คน
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 3 ส่วน คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนตัว แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ และแบบวัดความเครียด สถิติที่ใช้ ได้แก่ สถิติพื้นฐาน สัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์แบบเพียร์สัน การวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณ และคัดเลือกตัวแปรเข้าสมการแบบหลายขั้นตอน
ผลการวิจัย พบว่า นักศึกษามีคะแนนระดับความเครียดอยู่ในระดับสูง มีคะแนนความฉลาดทางอารมณ์โดยรวมเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ปกติชั้นปีที่ศึกษา จำนวนพี่น้อง ความเห็นใจผู้อื่น การรับผิดชอบ และความฉลาดทางอารมณ์มีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ความฉลาดทางอารมณ์ส่วนองค์ประกอบด้านดีในด้านการรู้จักเห็นใจผู้อื่น (X1)ชั้นปีที่ศึกษา (X2) และจำนวนพี่น้อง (X3) สามารถร่วมกันพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ และได้สมการคือ Y=0.97+0.06X1-0.217X2+0.132X
ผลการศึกษาครั้งนี้สามารถนำไปเป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนการให้คำปรึกษาสำหรับนักศึกษาที่มีปัญหาเกี่ยวกับเรื่องสุขภาพจิตของคณะพยาบาลศาสตร์ เพื่อส่งผลต่อสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีของนักศึกษาLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27217 คู่มือทดสอบความฉลาดทางอารมณ์ = / คาร์เตอร์ ฟิลิป / กรุงเทพฯ : เกียวโดเนชั่น - 2552
Title : คู่มือทดสอบความฉลาดทางอารมณ์ = : Test your EQ / Material Type: printed text Authors: คาร์เตอร์ ฟิลิป ; Carter Phillip ; รัชนี เอนกพีระศักดิ์ Edition statement: พิมพ์ครั้งแรก Publisher: กรุงเทพฯ : เกียวโดเนชั่น Publication Date: 2552 Pagination: 227 หน้า ISBN (or other code): 978-6-16-515034-7 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การทดสอบบุคลิกภาพ
[LCSH]ความฉลาดทางอารมณ์ -- การทดสอบKeywords: EQ ความฉลาดทางอารมณ์ Class number: BF576 Abstract: Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=19551 คู่มือทดสอบความฉลาดทางอารมณ์ = : Test your EQ / [printed text] / คาร์เตอร์ ฟิลิป ; Carter Phillip ; รัชนี เอนกพีระศักดิ์ . - พิมพ์ครั้งแรก . - กรุงเทพฯ : เกียวโดเนชั่น, 2552 . - 227 หน้า.
ISBN : 978-6-16-515034-7
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การทดสอบบุคลิกภาพ
[LCSH]ความฉลาดทางอารมณ์ -- การทดสอบKeywords: EQ ความฉลาดทางอารมณ์ Class number: BF576 Abstract: Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=19551 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000298628 BF576 ค355 2552 Book Main Library General Shelf Available