From this page you can:
Home |
Search results
3 result(s) search for keyword(s) 'การเขียนเพื่อระบายความรู้สึก.การเผชิญปัญหา.ผู้ป่วยวิกฤต.สมาขิกครบครัวผู้ป่วยวิกฤต.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
การเขียนเพื่อระบายความรู้สึก / ดวงพร ปิยะคง in วารสารการพยาบาลและสุขภาพ, Vol.10 No.3 (Sep-Dec) 2016 ([03/24/2017])
[article]
Title : การเขียนเพื่อระบายความรู้สึก : เทคนิคการเผชิญกับภาวะเจ็บป่วยวิกฤตของสมาชิกในครอบครัว Original title : Expressive writing a technique for family members to cope with their loved one's critical illness Material Type: printed text Authors: ดวงพร ปิยะคง, Author Publication Date: 2017 Article on page: p. 29-37 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลและสุขภาพ > Vol.10 No.3 (Sep-Dec) 2016 [03/24/2017] . - p. 29-37Keywords: การเขียนเพื่อระบายความรู้สึก.การเผชิญปัญหา.ผู้ป่วยวิกฤต.สมาขิกครบครัวผู้ป่วยวิกฤต. Abstract: การแสดงออกซึ่งความรู้สึกนึกคิดโดยผ่านการเขียนอย่างต่อเนื่องนั้น ถือเป็นเทคนิคหนึ่งในการบำบัดผู้ที่มีปัญหาด้านจิตใจ เพื้อช่วยให้ผู้ที่กำลังเกิดความเครียด หรือความบอบช้ำด้านจิตใจจากปัญหาที่รุนแรง สามารถเผชิญปัญหาหรือปรับตัวต่อเหตุการณ์นั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ การเจ็บป่วยวิกฤตถือเป็นความเจ็บป่วยที่รุนแรง และคุกคามต่อชีวิตซึ่งส่งผลกระทบอย่างมากต่อสมาชิกในครอบครัวของผู้ป่วยทั้งด้านร่างกาย จิตใจ เศรษฐกิจ สังคมและโดยเฉพาะด้านจิตใจ
ดังน้้น การช่วยให้สมาชิกในครอบครัวผู้ป่วยวิกฤตสามารถเผชิญปัญหาความเจ็บป่วยที่รุนแรงของบุคคลอันเป็นที่รักได้อย่างมีประสิทธิภาพนั้น ถือเป็นมิติทางการพยาบาลที่จำเป็นในหอผู้ป่วยวิกฤต การประยุกต์ใช้เทคนิคการเขียนระบายความรู้สึก เพื่อระบายความคิิดและอารมณ์ หรือความรู้สึกต่าง ๆ เพื่อช่วยให้สมาชิกในครอบครัวของผู้ป่วยวิกฤตสามารถเผชิญความเครียดต่อความเจ็บป่วยรุนแรงของผู้ป่วย นับเป็นสิ่งที่น่าสนใจมาก เพราะเป็นเทคนิคที่สามารถเยียวยาผู้มีปัญหาด้านจิตใจโดยตรง นอกจากนี้นังใช้ง่ายไม่ซับซ้อน ต้นทุนต่ำ มีประสิทธิภาพสูง และยังอยู่ในขอบเขตของการพยาบาล.Link for e-copy: http://www.nurse.nu.ac.th/journals/index.php Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26593 [article] การเขียนเพื่อระบายความรู้สึก = Expressive writing a technique for family members to cope with their loved one's critical illness : เทคนิคการเผชิญกับภาวะเจ็บป่วยวิกฤตของสมาชิกในครอบครัว [printed text] / ดวงพร ปิยะคง, Author . - 2017 . - p. 29-37.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลและสุขภาพ > Vol.10 No.3 (Sep-Dec) 2016 [03/24/2017] . - p. 29-37Keywords: การเขียนเพื่อระบายความรู้สึก.การเผชิญปัญหา.ผู้ป่วยวิกฤต.สมาขิกครบครัวผู้ป่วยวิกฤต. Abstract: การแสดงออกซึ่งความรู้สึกนึกคิดโดยผ่านการเขียนอย่างต่อเนื่องนั้น ถือเป็นเทคนิคหนึ่งในการบำบัดผู้ที่มีปัญหาด้านจิตใจ เพื้อช่วยให้ผู้ที่กำลังเกิดความเครียด หรือความบอบช้ำด้านจิตใจจากปัญหาที่รุนแรง สามารถเผชิญปัญหาหรือปรับตัวต่อเหตุการณ์นั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ การเจ็บป่วยวิกฤตถือเป็นความเจ็บป่วยที่รุนแรง และคุกคามต่อชีวิตซึ่งส่งผลกระทบอย่างมากต่อสมาชิกในครอบครัวของผู้ป่วยทั้งด้านร่างกาย จิตใจ เศรษฐกิจ สังคมและโดยเฉพาะด้านจิตใจ
ดังน้้น การช่วยให้สมาชิกในครอบครัวผู้ป่วยวิกฤตสามารถเผชิญปัญหาความเจ็บป่วยที่รุนแรงของบุคคลอันเป็นที่รักได้อย่างมีประสิทธิภาพนั้น ถือเป็นมิติทางการพยาบาลที่จำเป็นในหอผู้ป่วยวิกฤต การประยุกต์ใช้เทคนิคการเขียนระบายความรู้สึก เพื่อระบายความคิิดและอารมณ์ หรือความรู้สึกต่าง ๆ เพื่อช่วยให้สมาชิกในครอบครัวของผู้ป่วยวิกฤตสามารถเผชิญความเครียดต่อความเจ็บป่วยรุนแรงของผู้ป่วย นับเป็นสิ่งที่น่าสนใจมาก เพราะเป็นเทคนิคที่สามารถเยียวยาผู้มีปัญหาด้านจิตใจโดยตรง นอกจากนี้นังใช้ง่ายไม่ซับซ้อน ต้นทุนต่ำ มีประสิทธิภาพสูง และยังอยู่ในขอบเขตของการพยาบาล.Link for e-copy: http://www.nurse.nu.ac.th/journals/index.php Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26593 ตัวประกอบสมรรถนะพยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤต / นฤมล กิจจานนท์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2540
Title : ตัวประกอบสมรรถนะพยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤต : โรงพยาบาลของรัฐ Original title : Factors of critical care nurse's competencies governmental hospital Material Type: printed text Authors: นฤมล กิจจานนท์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2540 Pagination: ก-ฏ, 200 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-638-660-3 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย.ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Critical Care -- methods
[LCSH]ผู้ป่วยหนัก--การดูแล
[LCSH]พยาบาล -- การดูแล
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย -- ไทยKeywords: การดูแล.
พยาบาล
ผู้ป่วยวิกฤต.
ผู้ป่วยหนัก.
การรักษา.Class number: WY154 น506 2546 Abstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาตัวประกอบและตัวแปรที่อธิบายสมรรถนะของพยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤต โรงพยาบาลของรัฐ กลุ่มประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ พยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤต โรงพยาบาลของรัฐทั่วประเทศ ที่มีประสบการณ์ปฎิบัติงานในหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤตอย่างน้อย 2 ปี จำนวน 1082 คน
เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า ให้พยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤตประเมินระดับความสำคัญของสมรรถนะพยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤต มีค่าความเที่ยงเท่ากับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการสะกัดตัวประกอบด้วยวิธีตัวประกอบภาพพจน์ หมุนแกนตัวประกอบแบบ ออโธกอนอลด้วยวิธีแวริแมกซ์ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
ตัวประกอบสมรรถนะที่สำคัญของพยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤตมีจำนวน 9 ตัวประกอบ มีค่าความแปรปรวนรวมกันคิดเป็นร้อยละ 57.8 และเมื่อพิจารณาตามค่าความแปรปรวนพบว่า
1. ตัวประกอบสมรรถนะด้านภาวะผู้นำ เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้มากที่สุดคือ ร้อยละ 39.8 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 64 ตัวแปร
2. ตัวประกอบสมรรถนะด้านความรู้ความสามารถในการพยาบาลผู้ป่วยโรคระบบต่าง ๆ เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สมารถกอิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 6.6 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 29 ตัวแปร
3. ตัวประกอบสมรรถนะด้านเทคนิคทางการปฏิบัติการพยาบาล เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 2.5 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 20 ตัวแปร
4. ตัวประกอบสมรรถนะด้านความรู้ความสามารถในการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 2.5 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 9 ตัวแปร
5. ตัวประกอบสมรรถนะด้านความเชี่ยวชาญพิเศษทางการพยาบาล เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้่ร้อยละ 1.8 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 9 ตัวแปร
6. ตัวประกอบสมรรถนะด้านความรู้ความสามารถพื้นฐานทางการพยาบาล เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารถอธิบายความหมายได้ร้อยละ 1.4 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 8 ตัวแปร
7. ตัวประกอบสมรรถนะด้านการประชาสัมพันธ์ เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 1.2 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 4 ตัวแปร
8. ตัวประกอบสมรรถนะด้านการบริหารงาน เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามรถอธิบายนความแปรปรวนได้ร้อยละ 1.0 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 5 ตัวแปร
9. ตัวประกอบสมรรถนะด้านการเฝ้าระวังอาการผิดปกติ เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 1.0 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 4 ตัวแปรCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23361 ตัวประกอบสมรรถนะพยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤต = Factors of critical care nurse's competencies governmental hospital : โรงพยาบาลของรัฐ [printed text] / นฤมล กิจจานนท์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540 . - ก-ฏ, 200 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-638-660-3 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย.ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Critical Care -- methods
[LCSH]ผู้ป่วยหนัก--การดูแล
[LCSH]พยาบาล -- การดูแล
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย -- ไทยKeywords: การดูแล.
พยาบาล
ผู้ป่วยวิกฤต.
ผู้ป่วยหนัก.
การรักษา.Class number: WY154 น506 2546 Abstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาตัวประกอบและตัวแปรที่อธิบายสมรรถนะของพยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤต โรงพยาบาลของรัฐ กลุ่มประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ พยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤต โรงพยาบาลของรัฐทั่วประเทศ ที่มีประสบการณ์ปฎิบัติงานในหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤตอย่างน้อย 2 ปี จำนวน 1082 คน
เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า ให้พยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤตประเมินระดับความสำคัญของสมรรถนะพยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤต มีค่าความเที่ยงเท่ากับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการสะกัดตัวประกอบด้วยวิธีตัวประกอบภาพพจน์ หมุนแกนตัวประกอบแบบ ออโธกอนอลด้วยวิธีแวริแมกซ์ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
ตัวประกอบสมรรถนะที่สำคัญของพยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤตมีจำนวน 9 ตัวประกอบ มีค่าความแปรปรวนรวมกันคิดเป็นร้อยละ 57.8 และเมื่อพิจารณาตามค่าความแปรปรวนพบว่า
1. ตัวประกอบสมรรถนะด้านภาวะผู้นำ เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้มากที่สุดคือ ร้อยละ 39.8 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 64 ตัวแปร
2. ตัวประกอบสมรรถนะด้านความรู้ความสามารถในการพยาบาลผู้ป่วยโรคระบบต่าง ๆ เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สมารถกอิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 6.6 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 29 ตัวแปร
3. ตัวประกอบสมรรถนะด้านเทคนิคทางการปฏิบัติการพยาบาล เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 2.5 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 20 ตัวแปร
4. ตัวประกอบสมรรถนะด้านความรู้ความสามารถในการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 2.5 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 9 ตัวแปร
5. ตัวประกอบสมรรถนะด้านความเชี่ยวชาญพิเศษทางการพยาบาล เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้่ร้อยละ 1.8 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 9 ตัวแปร
6. ตัวประกอบสมรรถนะด้านความรู้ความสามารถพื้นฐานทางการพยาบาล เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารถอธิบายความหมายได้ร้อยละ 1.4 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 8 ตัวแปร
7. ตัวประกอบสมรรถนะด้านการประชาสัมพันธ์ เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 1.2 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 4 ตัวแปร
8. ตัวประกอบสมรรถนะด้านการบริหารงาน เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามรถอธิบายนความแปรปรวนได้ร้อยละ 1.0 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 5 ตัวแปร
9. ตัวประกอบสมรรถนะด้านการเฝ้าระวังอาการผิดปกติ เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 1.0 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 4 ตัวแปรCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23361 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000356988 THE WY154 น506 2546 Thesis Main Library Thesis Corner Available ผลของโปรแกรมการเริ่มเคลื่อนไหวร่างกายโดนเร็วต่อระยะเวลาการใช้ / กัญญ์ญาภัค ผาสุข in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 ([10/14/2015])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการเริ่มเคลื่อนไหวร่างกายโดนเร็วต่อระยะเวลาการใช้ : เครื่องช่วยหายใจในผู้ป่วยอายุรกรรม Material Type: printed text Authors: กัญญ์ญาภัค ผาสุข, Author ; นรลักษณ์ เอื้อกิจ, Author Publication Date: 2015 Article on page: pp.57-72 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 [10/14/2015] . - pp.57-72Keywords: ระยะเวลาในการใช้เครื่องช่วยหายใจ.การเริ่มเคลื่อนไหวร่างกายโดยเร็ว.ผู้ป่วยวิกฤตที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ. Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดหลังการทดลอง เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการเริ่มเคลื่อนไหวร่างกายโดยเร็วต่อระยะเวลาในการใช้เครื่องช่วยหายใจในผู้ป่วยวิกฤตอายุรกรรม กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยวิกฤตอายุรกรรมที่ได้รับการใช้เครื่องช่วยหายใจ และเข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยวิกฤตอายุรกรรมโรงพยาบาลตติยภูมิแห่งหนึ่ง แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 22 คน โดยจับคู่ตามระดับ APACHE score การวินิจฉัยโรคเบื้องต้น และระดับความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน กลุ่มควบคุมได้รับการรักษาพยาบาลตามปกติ กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการเริ่มเคลื่อนไหวร่างกายโดยเร็วที่ผู้วิจัยประยุกต์จากโปรแกรมการเริ่มเคลื่อนไหวร่างกายโดยเร็วในผู้ป่วยวิกฤตที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ โดยประกอบด้วย 2 ขั้นตอน คือการประเมินความพร้อม และการเริ่มเคลื่อนไหวร่างกายโดยเร็วตามกิจกรรม 3 ระดับ ได้แก่ ระดับที่ 1 การเคลิื่อนไหวบนเตียง ระดับที่ 2 การเคลื่อนไหวข้างเตียง ระดับที่ 3 การก้าวเดิน สถิติทีี่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบไคสแควร์ และการทดสอบค่าที ผลการศึกษาพบว่า ผู้ป่วยกลุ่มทดลองมีระยะเวลาในการใช้เครื่องช่วยหายใจน้อยกว่าผู้ป่วย กลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) ผลการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า โปรแกรมการเคลื่อนไหวร่างกายโดยเร็วช่วยลดระยะเวลาในการใช้เครื่องช่วยหายใจในผู้ป่วยวิกฤตอายุรกรรมที่ได้รับการใช้เครื่องช่วยหายใจได้ Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24999 [article] ผลของโปรแกรมการเริ่มเคลื่อนไหวร่างกายโดนเร็วต่อระยะเวลาการใช้ : เครื่องช่วยหายใจในผู้ป่วยอายุรกรรม [printed text] / กัญญ์ญาภัค ผาสุข, Author ; นรลักษณ์ เอื้อกิจ, Author . - 2015 . - pp.57-72.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 [10/14/2015] . - pp.57-72Keywords: ระยะเวลาในการใช้เครื่องช่วยหายใจ.การเริ่มเคลื่อนไหวร่างกายโดยเร็ว.ผู้ป่วยวิกฤตที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ. Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดหลังการทดลอง เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการเริ่มเคลื่อนไหวร่างกายโดยเร็วต่อระยะเวลาในการใช้เครื่องช่วยหายใจในผู้ป่วยวิกฤตอายุรกรรม กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยวิกฤตอายุรกรรมที่ได้รับการใช้เครื่องช่วยหายใจ และเข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยวิกฤตอายุรกรรมโรงพยาบาลตติยภูมิแห่งหนึ่ง แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 22 คน โดยจับคู่ตามระดับ APACHE score การวินิจฉัยโรคเบื้องต้น และระดับความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน กลุ่มควบคุมได้รับการรักษาพยาบาลตามปกติ กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการเริ่มเคลื่อนไหวร่างกายโดยเร็วที่ผู้วิจัยประยุกต์จากโปรแกรมการเริ่มเคลื่อนไหวร่างกายโดยเร็วในผู้ป่วยวิกฤตที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ โดยประกอบด้วย 2 ขั้นตอน คือการประเมินความพร้อม และการเริ่มเคลื่อนไหวร่างกายโดยเร็วตามกิจกรรม 3 ระดับ ได้แก่ ระดับที่ 1 การเคลิื่อนไหวบนเตียง ระดับที่ 2 การเคลื่อนไหวข้างเตียง ระดับที่ 3 การก้าวเดิน สถิติทีี่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบไคสแควร์ และการทดสอบค่าที ผลการศึกษาพบว่า ผู้ป่วยกลุ่มทดลองมีระยะเวลาในการใช้เครื่องช่วยหายใจน้อยกว่าผู้ป่วย กลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) ผลการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า โปรแกรมการเคลื่อนไหวร่างกายโดยเร็วช่วยลดระยะเวลาในการใช้เครื่องช่วยหายใจในผู้ป่วยวิกฤตอายุรกรรมที่ได้รับการใช้เครื่องช่วยหายใจได้ Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24999