From this page you can:
Home |
Search results
11 result(s) search for keyword(s) 'การสร้างเสริมสุขภาพ.พฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ.คววามคิดและอารมณ์.ผูุ้พิการทางการเคลื่อนไหว.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ความสัมพันธ์ระหว่างความคิดและอารมณ์กับพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพผู้พิการทางการเคลื่อนไหว / จันทิมา สินแต่ง in วารสารการพยาบาลและสุขภาพ, Vol.10 No.3 (Sep-Dec) 2016 ([03/24/2017])
[article]
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างความคิดและอารมณ์กับพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพผู้พิการทางการเคลื่อนไหว : จังหวัดนครวสรรค์ Original title : Asscociation between specific cognition and affect and health-promoting behaviors of people with physical disabilities in Nakhon Sawan province Material Type: printed text Authors: จันทิมา สินแต่ง, Author ; ชุลีกร ด่านยุทธศิลป์, Author ; ยุววงศ์ จันทรวิจิตร, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.74-85 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลและสุขภาพ > Vol.10 No.3 (Sep-Dec) 2016 [03/24/2017] . - p.74-85Keywords: การสร้างเสริมสุขภาพ.พฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ.คววามคิดและอารมณ์.ผูุ้พิการทางการเคลื่อนไหว. Link for e-copy: http://www.nurse.nu.ac.th/journals/index.php Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26884 [article] ความสัมพันธ์ระหว่างความคิดและอารมณ์กับพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพผู้พิการทางการเคลื่อนไหว = Asscociation between specific cognition and affect and health-promoting behaviors of people with physical disabilities in Nakhon Sawan province : จังหวัดนครวสรรค์ [printed text] / จันทิมา สินแต่ง, Author ; ชุลีกร ด่านยุทธศิลป์, Author ; ยุววงศ์ จันทรวิจิตร, Author . - 2017 . - p.74-85.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)Old book collection. ทฤษฎีการสร้างเสริมสุขภาพ / ไรเมอร์, บาร์บารา / นนทบุรี : โครงการสวัสดิการวิชาการ สถาบันพระบรมราชชนก - 2556
Collection Title: Old book collection Title : ทฤษฎีการสร้างเสริมสุขภาพ : Theory at a Glance : a guide for health promotion practice Original title : ฉบับสาระสำคัญ Material Type: printed text Authors: ไรเมอร์, บาร์บารา, Author ; แกลนซ์ม, คาเร็น, Author ; สินศักดิ์ชนม์ อุ่นพรมมี, Translator ; ศรีเสาวลักษณ์ อุ่นพรมมี, Translator Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1. Publisher: นนทบุรี : โครงการสวัสดิการวิชาการ สถาบันพระบรมราชชนก Publication Date: 2556 Pagination: 89 หน้า. Layout: ภาพประกอบ. Size: 26 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-111532-6 Price: 220.00 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Glance's Theory
[LCSH]การสร้างเสริมสุขภาพ -- แนวคิดทฤษฎี
[LCSH]ทฤษฎีการสร้างเสริมสุขภาพKeywords: การสร้างเสริมสุขภาพ. Class number: WA590 ร756 2556 Contents note: เนื้อหาสาระแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1: ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับทฤษฎีในการสร้างเสริมสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ.-- ส่วนที่ 2: ทฤษฎีการสร้างเสริมสุขภาพกับการนำไปใช้. -- ส่วนที่ 3: การบูรณาการทฤษฎีกับการปฏิบัติ. Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23437 Old book collection. ทฤษฎีการสร้างเสริมสุขภาพ = ฉบับสาระสำคัญ : Theory at a Glance : a guide for health promotion practice [printed text] / ไรเมอร์, บาร์บารา, Author ; แกลนซ์ม, คาเร็น, Author ; สินศักดิ์ชนม์ อุ่นพรมมี, Translator ; ศรีเสาวลักษณ์ อุ่นพรมมี, Translator . - พิมพ์ครั้งที่ 1. . - นนทบุรี : โครงการสวัสดิการวิชาการ สถาบันพระบรมราชชนก, 2556 . - 89 หน้า. : ภาพประกอบ. ; 26 ซม.
ISBN : 978-6-16-111532-6 : 220.00
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Glance's Theory
[LCSH]การสร้างเสริมสุขภาพ -- แนวคิดทฤษฎี
[LCSH]ทฤษฎีการสร้างเสริมสุขภาพKeywords: การสร้างเสริมสุขภาพ. Class number: WA590 ร756 2556 Contents note: เนื้อหาสาระแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1: ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับทฤษฎีในการสร้างเสริมสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ.-- ส่วนที่ 2: ทฤษฎีการสร้างเสริมสุขภาพกับการนำไปใช้. -- ส่วนที่ 3: การบูรณาการทฤษฎีกับการปฏิบัติ. Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23437 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000386696 WA590 ร756 2556 c.1 Book Main Library Library Counter Due for return by 01/21/2025 32002000386738 WA590 ร756 2556 c.2 Book Main Library Library Counter Available 32002000386712 WA590 ร756 2556 c.3 Book Main Library Library Counter Available 32002000386720 WA590 ร756 2556 c.4 Book Main Library Library Counter Available 32002000386704 WA590 ร756 2556 c.5 Book Main Library Library Counter Available Readers who borrowed this document also borrowed:
การรักษาพยาบาลโรคเบื้องต้น วราภรณ์ บุญเชียง Community / public health nursing Nies, Mary A. การพยาบาลครอบครัว จินตนา วัชรสินธุ์ ตำราการตรวจรักษาโรคทั่วไป 1 สุรเกียรติ อาชานานุภาพ การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ: หมวดวิชาการสร้างเสริมสุขภาพ / ชมนาด พจนามาตร์ / กรุงเทพฯ: เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย - 2560
Title : การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ: หมวดวิชาการสร้างเสริมสุขภาพ Material Type: printed text Authors: ชมนาด พจนามาตร์, Author ; โสภาพรรณ อินต๊ะเผือก, Author ; พงษ์ภัทร์ รัตนสุวรรณ, Author ; บุบผา วิริยรัตนกุล, Author ; นภมน ยารวง, Author ; ขนิษฐา พิศฉลาด, Author ; มัลลิกา มาตระกูล, Author Publisher: กรุงเทพฯ: เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย Publication Date: 2560 Pagination: 92 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 25.9 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-931392-2 Price: - General note: บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับสุขภาพและการสร้างเสริมสุขภาพ -- บทที่ 2 ปัจจัยกำหนดสุขภาพที่เกี่ยวกับการสูบบุหรี่ -- บทที่ 3 นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ : การป้องกันและควบคุมยาสูบ -- บทที่ 4 แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ : การประยุกต์ใช้ในการปรับเปลี่ยน -- พฤติกรรมการสูบบุหรี่ -- บทที่ 5 แนวคิดการสนับสนุนทางสังคม : การประยุกต์ใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสูบบุหรี่ -- บทที่ 6 ทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม : การประยุกต์ใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสูบบุหรี่ -- บทที่ 7 ทฤษฎีความสามรถตนเอง : การประยุกต์ใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสูบบุหรี่ -- บทที่ 8 แบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ : การประยุกต์ใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสูบบุหรี่ -- บทที่ 9 การบำบัดผู้สูบบุหรี่ : ยาแผนปัจจุบัน และสมุนไพรไทย -- บทที่ 10 การจัดกิจกรรมการเรียนรู็ : การประยุกต์ใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสูบบุหรี่ Languages : Thai (tha) Descriptors: [NLM]การศึกษาพยาบาล -- หลักสูตร
[NLM]การสูบบุหรี่ -- การป้องกันและควบคุม
[NLM]การส่งเสริมสุขภาพKeywords: สุขภาพ, การสร้างเสริมสุขภาพ, ยาสูบ, การเรียนการสอน Class number: WA540.JT3 ก446 2560 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28261 การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ: หมวดวิชาการสร้างเสริมสุขภาพ [printed text] / ชมนาด พจนามาตร์, Author ; โสภาพรรณ อินต๊ะเผือก, Author ; พงษ์ภัทร์ รัตนสุวรรณ, Author ; บุบผา วิริยรัตนกุล, Author ; นภมน ยารวง, Author ; ขนิษฐา พิศฉลาด, Author ; มัลลิกา มาตระกูล, Author . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย, 2560 . - 92 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 25.9 ซม.
ISBN : 978-6-16-931392-2 : -
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับสุขภาพและการสร้างเสริมสุขภาพ -- บทที่ 2 ปัจจัยกำหนดสุขภาพที่เกี่ยวกับการสูบบุหรี่ -- บทที่ 3 นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ : การป้องกันและควบคุมยาสูบ -- บทที่ 4 แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ : การประยุกต์ใช้ในการปรับเปลี่ยน -- พฤติกรรมการสูบบุหรี่ -- บทที่ 5 แนวคิดการสนับสนุนทางสังคม : การประยุกต์ใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสูบบุหรี่ -- บทที่ 6 ทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม : การประยุกต์ใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสูบบุหรี่ -- บทที่ 7 ทฤษฎีความสามรถตนเอง : การประยุกต์ใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสูบบุหรี่ -- บทที่ 8 แบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ : การประยุกต์ใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสูบบุหรี่ -- บทที่ 9 การบำบัดผู้สูบบุหรี่ : ยาแผนปัจจุบัน และสมุนไพรไทย -- บทที่ 10 การจัดกิจกรรมการเรียนรู็ : การประยุกต์ใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสูบบุหรี่
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [NLM]การศึกษาพยาบาล -- หลักสูตร
[NLM]การสูบบุหรี่ -- การป้องกันและควบคุม
[NLM]การส่งเสริมสุขภาพKeywords: สุขภาพ, การสร้างเสริมสุขภาพ, ยาสูบ, การเรียนการสอน Class number: WA540.JT3 ก446 2560 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28261 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607100 WA540.JT3 ก446 2560 c.1 Book Main Library Nursing Shelf Due for return by 07/17/2024 32002000607120 WA540.JT3 ก446 2560 c.10 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607104 WA540.JT3 ก446 2560 c.2 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607105 WA540.JT3 ก446 2560 c.3 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607112 WA540.JT3 ก446 2560 c.4 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607231 WA540.JT3 ก446 2560 c.5 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607106 WA540.JT3 ก446 2560 c.6 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607187 WA540.JT3 ก446 2560 c.7 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607205 WA540.JT3 ก446 2560 c.8 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607215 WA540.JT3 ก446 2560 c.9 Book Main Library Nursing Shelf Available การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในการสร้างเสริมสุขภาพในเขตพื้นที่ภาคกลาง / วัลยา ธรรมพนิชวัฒน์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 ([06/20/2016])
[article]
Title : การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในการสร้างเสริมสุขภาพในเขตพื้นที่ภาคกลาง Original title : Role performance of professional nurse in health promotion in central region Material Type: printed text Authors: วัลยา ธรรมพนิชวัฒน์, Author ; ศรีสุดา คล้ายคล่องจิตร, Author ; ณัฐา วงศ์วุฒิสาโรช, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.54-62 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 [06/20/2016] . - p.54-62Keywords: พยาบาลวิชาชีพ.การปฏิบัติบทบาท.การสร้างเสริมสุขภาพ.เขตพื้นที่ภาคกลาง. Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25561 [article] การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในการสร้างเสริมสุขภาพในเขตพื้นที่ภาคกลาง = Role performance of professional nurse in health promotion in central region [printed text] / วัลยา ธรรมพนิชวัฒน์, Author ; ศรีสุดา คล้ายคล่องจิตร, Author ; ณัฐา วงศ์วุฒิสาโรช, Author . - 2016 . - p.54-62.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 [06/20/2016] . - p.54-62Keywords: พยาบาลวิชาชีพ.การปฏิบัติบทบาท.การสร้างเสริมสุขภาพ.เขตพื้นที่ภาคกลาง. Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25561 การประเมินผลการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2554 / อติญาณ์ ศรเกษตริน in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 ([10/13/2015])
[article]
Title : การประเมินผลการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2554 : ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ: กรณีศึกษา Material Type: printed text Authors: อติญาณ์ ศรเกษตริน, Author Publication Date: 2015 Article on page: pp.275-286 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 [10/13/2015] . - pp.275-286Keywords: การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค.การบริหารงบประมาณ.การประเมินผล.การมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข. Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1 แนวทางการบริหารงบประมาณการดำเนินงานการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคสำหรับพื้นที่ชุมชน 2. การมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในการบริหารงบประมาณสำหรับการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค 3. ประเมินผลลัพธ์การดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคของจังหวัดในเขตพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 11 สุราษฎร์ธานี กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานงบประมาณ และการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่ม และแแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา และสถิติเชิงพรรณา ผลการศึกษา พบว่า แนวทางการบริหารงบประมาณการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในระดับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเน้นการจัดทำแผนแบบบูรณาการตามนโยบายรัฐและระเบียบวาระแห่งชาติ มีการจัดทำแผนแบบบูรณาการตามนโยบายของรัฐบาลและระเบียบวาระแห่งชาต มีการจัดทำแผนงานตามโครงการตามสภาพปัญหาของพื้นที่ในแต่ละจังหวัด ตามงบประมาณรายหัวประชากร สำหรับระดับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบลส่วนใหญ่เป็นการบูรณาการกับงบประมาณส่วนอื่น ๆ เพื่อให้ดำเนินงานได้ครอบคลุม ผลของการมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่สาธารณาสุขในการบริหารงบประมาณดำเนินการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคมีส่วนร่วมในระดับปานกลาง ผลลัพธ์การดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค พบว่า มีการดำเนินการไม่เท่ากันและในบางตัวชี้วัดงานสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในทุกตัวชี้วัด โดยแต่ะละพื้นที่มีผลดำเนินการไม่เท่ากันและในบางตัวชี้วัดไม่มีการติดตามผลภายหลังการดำเนินการ ข้อเสนอแนะ ควรมีการศึกษารูปแบบการบริหารกาารดำเนินการสุขภาพและป้องกันโรคและผลลัพธ์การดำเนินงานของพื้นที่ต่าง ๆ เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในแต่ละเขตพื้นที่ Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24994 [article] การประเมินผลการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2554 : ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ: กรณีศึกษา [printed text] / อติญาณ์ ศรเกษตริน, Author . - 2015 . - pp.275-286.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 [10/13/2015] . - pp.275-286Keywords: การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค.การบริหารงบประมาณ.การประเมินผล.การมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข. Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1 แนวทางการบริหารงบประมาณการดำเนินงานการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคสำหรับพื้นที่ชุมชน 2. การมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในการบริหารงบประมาณสำหรับการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค 3. ประเมินผลลัพธ์การดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคของจังหวัดในเขตพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 11 สุราษฎร์ธานี กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานงบประมาณ และการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่ม และแแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา และสถิติเชิงพรรณา ผลการศึกษา พบว่า แนวทางการบริหารงบประมาณการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในระดับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเน้นการจัดทำแผนแบบบูรณาการตามนโยบายรัฐและระเบียบวาระแห่งชาติ มีการจัดทำแผนแบบบูรณาการตามนโยบายของรัฐบาลและระเบียบวาระแห่งชาต มีการจัดทำแผนงานตามโครงการตามสภาพปัญหาของพื้นที่ในแต่ละจังหวัด ตามงบประมาณรายหัวประชากร สำหรับระดับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบลส่วนใหญ่เป็นการบูรณาการกับงบประมาณส่วนอื่น ๆ เพื่อให้ดำเนินงานได้ครอบคลุม ผลของการมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่สาธารณาสุขในการบริหารงบประมาณดำเนินการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคมีส่วนร่วมในระดับปานกลาง ผลลัพธ์การดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค พบว่า มีการดำเนินการไม่เท่ากันและในบางตัวชี้วัดงานสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในทุกตัวชี้วัด โดยแต่ะละพื้นที่มีผลดำเนินการไม่เท่ากันและในบางตัวชี้วัดไม่มีการติดตามผลภายหลังการดำเนินการ ข้อเสนอแนะ ควรมีการศึกษารูปแบบการบริหารกาารดำเนินการสุขภาพและป้องกันโรคและผลลัพธ์การดำเนินงานของพื้นที่ต่าง ๆ เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในแต่ละเขตพื้นที่ Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24994 การสร้างเสริมสุขภาพของบุคลากรทางการพยาบาล / ศิริพร พุทธรังษี in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 ([09/07/2015])
[article]
Title : การสร้างเสริมสุขภาพของบุคลากรทางการพยาบาล : ในศตวรรษที่ 21 Original title : Health behavior health workplace and happy life among healthcare provider in the 21 century Material Type: printed text Authors: ศิริพร พุทธรังษี, Author ; ชวลี บุญโต, Author ; สายสมร เฉลยกิตติ, Author ; นุชรัตน์ มังคละคีรี, Author ; หทัยรัตน์ ชาวเอี่ยม, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.8-14 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.8-14Keywords: การสร้างเสริมสุขภาพ.บุคลากรทางการพยาบาล.ศตรวรรษที่ 21. Abstract: ปัญหาสุขภาพในศตวรรษที่ 21 มาพร้อมกับความเจริญด้านวัตถุ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้ประชาชนมีการดำเนินชีวิตที่ไม่ถูกต้อง เกิดปัญหาสุขภาพจากความอุดมสมบูรณ์ เป็นโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีและเหมาะสม จึงเป็นสิ่งที่ท้าท้ายของบุคลากรทางสุขภาพในการสร้างเสริมสุขภาวะให้ประชาชนในยุคนี้ แต่การที่บุคลากรทางสุขภาพจะสามารถดูแลผู้รับบริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ จะต้องสร้างเสริมสุขภาวะของตนเองก่อนเพื่อให้เป็นแบบอย่างและมีสุขภาพแข็งแรงพร้อมที่ให้บริการแก่ผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ บุคลากรทางการพยาบาลจึงควรนำความรู้มาใช้ในการสร้างเสริมสุขภาวะของตนเองโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทำงาน และพฤติกรรมสุขภาพทั้งเรื่องการรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย การพักผ่อนและการลดภาวะเครียด รวมทั้งการปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม เพื่อให้สุขภาพแข็งแรงสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นแบบอย่างที่ด และเป็นผู้นำในการสร้างเสริมสุขภาพให้กับประชาชน Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24936 [article] การสร้างเสริมสุขภาพของบุคลากรทางการพยาบาล = Health behavior health workplace and happy life among healthcare provider in the 21 century : ในศตวรรษที่ 21 [printed text] / ศิริพร พุทธรังษี, Author ; ชวลี บุญโต, Author ; สายสมร เฉลยกิตติ, Author ; นุชรัตน์ มังคละคีรี, Author ; หทัยรัตน์ ชาวเอี่ยม, Author . - 2015 . - p.8-14.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.8-14Keywords: การสร้างเสริมสุขภาพ.บุคลากรทางการพยาบาล.ศตรวรรษที่ 21. Abstract: ปัญหาสุขภาพในศตวรรษที่ 21 มาพร้อมกับความเจริญด้านวัตถุ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้ประชาชนมีการดำเนินชีวิตที่ไม่ถูกต้อง เกิดปัญหาสุขภาพจากความอุดมสมบูรณ์ เป็นโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีและเหมาะสม จึงเป็นสิ่งที่ท้าท้ายของบุคลากรทางสุขภาพในการสร้างเสริมสุขภาวะให้ประชาชนในยุคนี้ แต่การที่บุคลากรทางสุขภาพจะสามารถดูแลผู้รับบริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ จะต้องสร้างเสริมสุขภาวะของตนเองก่อนเพื่อให้เป็นแบบอย่างและมีสุขภาพแข็งแรงพร้อมที่ให้บริการแก่ผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ บุคลากรทางการพยาบาลจึงควรนำความรู้มาใช้ในการสร้างเสริมสุขภาวะของตนเองโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทำงาน และพฤติกรรมสุขภาพทั้งเรื่องการรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย การพักผ่อนและการลดภาวะเครียด รวมทั้งการปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม เพื่อให้สุขภาพแข็งแรงสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นแบบอย่างที่ด และเป็นผู้นำในการสร้างเสริมสุขภาพให้กับประชาชน Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24936 การออกกำลังกายแบบอะวาโอโดริ / พัชระกรพจน์ ศรีประสาร in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 ([02/08/2017])
ประสิทธิผลของแนวปฏิบัติการสร้างเสริมสุขภาพสตรีตั้งครรภ์ด้วยโยคะ / กาญจนา คงชนะ in วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, Vol.36 No.2 (May-Aug) 2016 ([12/27/2016])
[article]
Title : ประสิทธิผลของแนวปฏิบัติการสร้างเสริมสุขภาพสตรีตั้งครรภ์ด้วยโยคะ : ต่อความไม่สุขสบายขณะตั้งครรภ์ Original title : The effectiveness of practice guideline using yogic-based health promotion for pregnant women on discomfort during pregnancy Material Type: printed text Authors: กาญจนา คงชนะ, Author ; ประภาพร ชูกำเหนิด, Author ; วรางคณา ชัชเวช, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.133-147 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ > Vol.36 No.2 (May-Aug) 2016 [12/27/2016] . - p.133-147Keywords: การสร้างเสริมสุขภาพ.สตรีตั้งครรภ์.แนวปฏิบัติการสร้างเสริมสุขภาพ.โยคะความไม่สขุสบายขณะตั้งครรภ์. Link for e-copy: www.nur.psu.ac.th/journal/ Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25916 [article] ประสิทธิผลของแนวปฏิบัติการสร้างเสริมสุขภาพสตรีตั้งครรภ์ด้วยโยคะ = The effectiveness of practice guideline using yogic-based health promotion for pregnant women on discomfort during pregnancy : ต่อความไม่สุขสบายขณะตั้งครรภ์ [printed text] / กาญจนา คงชนะ, Author ; ประภาพร ชูกำเหนิด, Author ; วรางคณา ชัชเวช, Author . - 2016 . - p.133-147.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ > Vol.36 No.2 (May-Aug) 2016 [12/27/2016] . - p.133-147Keywords: การสร้างเสริมสุขภาพ.สตรีตั้งครรภ์.แนวปฏิบัติการสร้างเสริมสุขภาพ.โยคะความไม่สขุสบายขณะตั้งครรภ์. Link for e-copy: www.nur.psu.ac.th/journal/ Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25916 ประสิทธิผลของโปรแกรมการเพิ่มความสามารถ / ประกาย จิโรจน์กุล in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.28 No.1 (ม.ค-มิ.ย) 2017 ([11/16/2017])
[article]
Title : ประสิทธิผลของโปรแกรมการเพิ่มความสามารถ : ในการจัดการตนเอง ของบุคคลที่มีความดันโลหิตสูง Material Type: printed text Authors: ประกาย จิโรจน์กุล, Author ; สมจิต นิปัทธหัตถพงศ์, Author ; นิภา ลีสุคนธ์, Author ; เพลินตา พิพัฒน์สมบัติ, Author ; ณัฐนาฎ เร้าเสถียร, Author ; เรณู ขวัญยืน, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.29-43 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.28 No.1 (ม.ค-มิ.ย) 2017 [11/16/2017] . - p.29-43Keywords: โปรแกรมการเพิ่มความสามารถในการจัดการตนเอง.โรคความดันโลหิตสุูง.การสร้างเสริมสุขภาพ. Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ พัฒนาและประเมินประสิทธิผลของโปรแกรมการเพิ่มความสามารถในการจัดการตนเองของบุคคลที่มีความดันโลหิตสูง โดยประยุกต์ใช้โปรแกรมการให้ความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงของแคนาดา และแบบจำลองการสร้างเสริมสุขภาพของเพ็นเดอร์ กลุ่มตัวอย่างเป็นบุคลากรมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์จำนวน 62 คนจากผู้สมัครเข้าร่วมโครงการจำนวน 70 คน
การจัดกลุ่มตัวอย่างใช้วิธีจับคู่จาก ระดับความดันโลหิต อายุ ระดับการศึกษา และลักษณะงานที่ทำ ได้จำนวน 31 คู่ แล้วสุ่มให้เข้ากลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม
โปรแกรมการเพิ่มความสามารถในการจัดการตนเองใช้เวลา 8 สัปดาห์ ประกอบไปด้วยกิจกรรมหลัก ดังนี้ 1) ในสัปดาห์ที่ 1 กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมได้รับความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง พร้อมกัน 2) ในสัปดาห์ที่ 2, 4, 6 และ 8 เป็นกิจกรรมกลุ่มเพื่อพัฒนาทักษะในการจัดการตนเองทั้ง 7 ด้านสำหรับกลุ่มทดลอง คือ ด้านการลดโซเดียม การลดแอลกอฮอลล์ การลดไขมันแต่เพิ่มผักผลไม้; ด้านการออกกำลังกายแบบแอโรบิค ด้านการรักษาน้ำหนักของร่างกาย; ด้านการบริหารจัดการความเครียด; และด้านการปฏิบัติตามแผนการรักษาด้วยยาตามลำดับ มีการประเมินก่อนและหลังการทดลองในสัปดาห์ที่ 1 และ 10 ในระหว่างสัปดาห์ที่ 2-10 กลุ่มควบคุมดำเนินชีวิตตามปกติ ทดสอบประสิทธิผลของโปรแกรมในกลุ่มทดลอง ระหว่างก่อนและหลังการทดลองวัดจากค่าความดันโลหิตซิสโตลิค และไดแอสโตลิค น้ำหนัก ดัชนีมวลกาย เส้นรอบวงเอว และค่าระดับ HDL-C, LDL-C, Triglycerideในเลือด, การรับรู้ประโยชน์ของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม, การรับรู้อุปสรรคของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม, และ การรับรู้ความสามารถของตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ Paired t-test และ independent-t-test
ผลการวิจัยพบว่า ค่าความดันโลหิตซิสโตลิค, เส้นรอบวงเอว, และการรับรู้อุปสรรค ก่อนและหลังการทดลอง ของกลุ่มทดลอง มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
การศึกษานี้มีข้อเสนอแนะว่าโปรแกรมเพิ่มความสามารถในการจัดการตนเองสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาการจัดการตนเองเพื่อสร้างเสริมสุขภาพในสถานที่ทำงานอื่นๆLink for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27495 [article] ประสิทธิผลของโปรแกรมการเพิ่มความสามารถ : ในการจัดการตนเอง ของบุคคลที่มีความดันโลหิตสูง [printed text] / ประกาย จิโรจน์กุล, Author ; สมจิต นิปัทธหัตถพงศ์, Author ; นิภา ลีสุคนธ์, Author ; เพลินตา พิพัฒน์สมบัติ, Author ; ณัฐนาฎ เร้าเสถียร, Author ; เรณู ขวัญยืน, Author . - 2017 . - p.29-43.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.28 No.1 (ม.ค-มิ.ย) 2017 [11/16/2017] . - p.29-43Keywords: โปรแกรมการเพิ่มความสามารถในการจัดการตนเอง.โรคความดันโลหิตสุูง.การสร้างเสริมสุขภาพ. Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ พัฒนาและประเมินประสิทธิผลของโปรแกรมการเพิ่มความสามารถในการจัดการตนเองของบุคคลที่มีความดันโลหิตสูง โดยประยุกต์ใช้โปรแกรมการให้ความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงของแคนาดา และแบบจำลองการสร้างเสริมสุขภาพของเพ็นเดอร์ กลุ่มตัวอย่างเป็นบุคลากรมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์จำนวน 62 คนจากผู้สมัครเข้าร่วมโครงการจำนวน 70 คน
การจัดกลุ่มตัวอย่างใช้วิธีจับคู่จาก ระดับความดันโลหิต อายุ ระดับการศึกษา และลักษณะงานที่ทำ ได้จำนวน 31 คู่ แล้วสุ่มให้เข้ากลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม
โปรแกรมการเพิ่มความสามารถในการจัดการตนเองใช้เวลา 8 สัปดาห์ ประกอบไปด้วยกิจกรรมหลัก ดังนี้ 1) ในสัปดาห์ที่ 1 กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมได้รับความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง พร้อมกัน 2) ในสัปดาห์ที่ 2, 4, 6 และ 8 เป็นกิจกรรมกลุ่มเพื่อพัฒนาทักษะในการจัดการตนเองทั้ง 7 ด้านสำหรับกลุ่มทดลอง คือ ด้านการลดโซเดียม การลดแอลกอฮอลล์ การลดไขมันแต่เพิ่มผักผลไม้; ด้านการออกกำลังกายแบบแอโรบิค ด้านการรักษาน้ำหนักของร่างกาย; ด้านการบริหารจัดการความเครียด; และด้านการปฏิบัติตามแผนการรักษาด้วยยาตามลำดับ มีการประเมินก่อนและหลังการทดลองในสัปดาห์ที่ 1 และ 10 ในระหว่างสัปดาห์ที่ 2-10 กลุ่มควบคุมดำเนินชีวิตตามปกติ ทดสอบประสิทธิผลของโปรแกรมในกลุ่มทดลอง ระหว่างก่อนและหลังการทดลองวัดจากค่าความดันโลหิตซิสโตลิค และไดแอสโตลิค น้ำหนัก ดัชนีมวลกาย เส้นรอบวงเอว และค่าระดับ HDL-C, LDL-C, Triglycerideในเลือด, การรับรู้ประโยชน์ของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม, การรับรู้อุปสรรคของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม, และ การรับรู้ความสามารถของตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ Paired t-test และ independent-t-test
ผลการวิจัยพบว่า ค่าความดันโลหิตซิสโตลิค, เส้นรอบวงเอว, และการรับรู้อุปสรรค ก่อนและหลังการทดลอง ของกลุ่มทดลอง มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
การศึกษานี้มีข้อเสนอแนะว่าโปรแกรมเพิ่มความสามารถในการจัดการตนเองสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาการจัดการตนเองเพื่อสร้างเสริมสุขภาพในสถานที่ทำงานอื่นๆLink for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27495 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพจิตในชุมชน in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 ([10/17/2017])
[article]
Title : ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพจิตในชุมชน : ของอาสาสมัครสาธารณสุขเขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร Original title : Factors related to the implementing mental health promotion by health volunteers in laksi community bangkokKOK Material Type: printed text Publication Date: 2017 Article on page: 92-108 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 [10/17/2017] . - 92-108Keywords: Mental health promotion. Health volunteers. Community. การสร้างเสริมสุขภาพ.จิตอาสาสมัคร. สาธารณสุข. ชุมชน. Abstract: วัตถุประสงค์: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพจิตในชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุข ปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยสิ่งแวดล้อม ที่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพจิตในชุมชน
วิธีการศึกษา: ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคืออาสาสมัครสาธารณสุขเขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ได้จากการส่มุ แบบชั้นภูมิตามชุมชน จำนวน 163 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถาม ประกอบด้วย ข้อมูลส่วนบุคคล ปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน การปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพจิตในชุมชน การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา การทดสอบไคสแคว์และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน
ผลการศึกษา: ผลการวิจัยพบว่าการปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพจิตในชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุขส่วนใหญ่มีการปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง ปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงานมีความสัมพันธ์ในทิศทางบวก กับการปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพจิตในชุมชนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .01)
สรุป: การสนับสนุนปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงานให้ครอบคลุม ได้แก่ การฝึกอบรมและพัฒนาความรู้เรื่องสุขภาพจิต มีการติดตามนิเทศงานในพื้นที่ การสนับสนุนงบประมาณและวัสดุอุปกรณ์ จะช่วยให้การปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพจิตในชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุขมีประสิทธิภาพมากขึ้น
Objectives: This research aimed to study the implementation of health volunteers in promoting mental health, personal factors, and environmental factors in relation with job performance of health volunteers working in a community.
Methods: The population included 302 health volunteers in Laksi community, Bangkok; however, a participating sample of 163 health volunteers was selected using Stratified Random Sampling. The main instruments for data collection were the demographic characteristics questionnaire, environmental factors, and the implementation mental health promotion questionnaire. The data collected were analyzed using Descriptive Statistics, the Chi Square Test, and the Pearson’s Correlation Coefficients.
Results: The results indicated that the implementing mental health promotion by health volunteers was at a moderate level. The relationship among personal factors, and attitude and awareness of mental health community, were found to be insignificantly significant in relation to the implementation of mental health promotion by health volunteers. However, the environmental factors in the implementation correlated with a positive direction in the implementation of mental health promotion with a statistic significance (p<.01).
Conclusions: There is a strong support for environmental factors in the implementation of all factors. For example, health volunteers should receive training and increase community’s mental health knowledge, supervision and monitoring in the area. Funding and materials should also be sufficiently supported. These can accelerate the implementation in promoting mental health in the community more effectively.
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27375 [article] ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพจิตในชุมชน = Factors related to the implementing mental health promotion by health volunteers in laksi community bangkokKOK : ของอาสาสมัครสาธารณสุขเขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร [printed text] . - 2017 . - 92-108.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 [10/17/2017] . - 92-108Keywords: Mental health promotion. Health volunteers. Community. การสร้างเสริมสุขภาพ.จิตอาสาสมัคร. สาธารณสุข. ชุมชน. Abstract: วัตถุประสงค์: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพจิตในชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุข ปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยสิ่งแวดล้อม ที่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพจิตในชุมชน
วิธีการศึกษา: ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคืออาสาสมัครสาธารณสุขเขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ได้จากการส่มุ แบบชั้นภูมิตามชุมชน จำนวน 163 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถาม ประกอบด้วย ข้อมูลส่วนบุคคล ปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน การปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพจิตในชุมชน การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา การทดสอบไคสแคว์และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน
ผลการศึกษา: ผลการวิจัยพบว่าการปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพจิตในชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุขส่วนใหญ่มีการปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง ปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงานมีความสัมพันธ์ในทิศทางบวก กับการปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพจิตในชุมชนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .01)
สรุป: การสนับสนุนปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงานให้ครอบคลุม ได้แก่ การฝึกอบรมและพัฒนาความรู้เรื่องสุขภาพจิต มีการติดตามนิเทศงานในพื้นที่ การสนับสนุนงบประมาณและวัสดุอุปกรณ์ จะช่วยให้การปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพจิตในชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุขมีประสิทธิภาพมากขึ้น
Objectives: This research aimed to study the implementation of health volunteers in promoting mental health, personal factors, and environmental factors in relation with job performance of health volunteers working in a community.
Methods: The population included 302 health volunteers in Laksi community, Bangkok; however, a participating sample of 163 health volunteers was selected using Stratified Random Sampling. The main instruments for data collection were the demographic characteristics questionnaire, environmental factors, and the implementation mental health promotion questionnaire. The data collected were analyzed using Descriptive Statistics, the Chi Square Test, and the Pearson’s Correlation Coefficients.
Results: The results indicated that the implementing mental health promotion by health volunteers was at a moderate level. The relationship among personal factors, and attitude and awareness of mental health community, were found to be insignificantly significant in relation to the implementation of mental health promotion by health volunteers. However, the environmental factors in the implementation correlated with a positive direction in the implementation of mental health promotion with a statistic significance (p<.01).
Conclusions: There is a strong support for environmental factors in the implementation of all factors. For example, health volunteers should receive training and increase community’s mental health knowledge, supervision and monitoring in the area. Funding and materials should also be sufficiently supported. These can accelerate the implementation in promoting mental health in the community more effectively.
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27375 ผลการจัดการเรียนรู้แบบใช้วิจัยเป็นฐานในรายวิชาระบบสุขภาพ และการสร้างเสริมสุขภาพต่อผลการเรียนรู้ / องค์อร ประจันเขตต์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : ผลการจัดการเรียนรู้แบบใช้วิจัยเป็นฐานในรายวิชาระบบสุขภาพ และการสร้างเสริมสุขภาพต่อผลการเรียนรู้ : และพฤติกรรมการทำงานที่มุ่งนวัตกรรมของนักเรียนพยาบาล Original title : The effect od research based learning management in health system and health promotion subjeact on learning outcome and innovative work behavior of nursing students Material Type: printed text Authors: องค์อร ประจันเขตต์, Author ; อภิญญา อินทรรัตน์, Author ; อายุพร ประสิทธิเวชชากูร, Author ; อรวรรณ จุลวงษ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.55-63 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.55-63Keywords: การจัดการเรียนรู้แบบใช้วิจัย.รายวิชาระบบสุขภาพ.การสร้างเสริมสุขภาพ.ผลการเรียนรู้.พฤติกรรมการทำงาน.นวัตกรรมนักเรียนพยาบาล. Abstract: มีวัตถุประสงค์เพื่อ เปรียบเทียบพฤติกรรมการทำงานที่มุ่งนัตกรรมของนักเรียนก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนรู้แบบใช้วิจัยเป็นฐานในรายวิชาระบบสุขภาพและ การสร้างเสริมสุขภาพ และเพื่อศึกษาผลการเรียนรู้ของนักเรียนพยาบาลภายหลังจัดการเรียนการสอนแบบใฃ้วิจัยเป็นฐานในรายวิชาระบบสุขภาพ และการสร้างเสริมสุขภาพ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลกองทัพยก ชั้นปีที่ 1 รุ่นที่ 21 จำนววน 84 คน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม จำนวน 1 ฉบับ แบ่งเป็นสามตอน ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามพฤติกรรมการทำงานที่มุ่งนวัตกรรม และแบบบันทึกสะท้อนผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
ผลการวิจัย พบว่า คะแนนเฉลี่ยของพฤติกรรมการทำงานที่มุ่งนวัตกรรมทั้งภาพรวม และรายด้านได้แก่ ด้านการสร้างความคิดใหม่ และด้านการนำความคิดใหม่ไปสู่การปฏิบัติ หลังทดลองสูงกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิเคราะห์เนื้อหาจากแบบบันทึกการสะท้อนผลการเรียนรู้พบว่า ส่่งที่ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการจัดการเรียนการสอนแบบใช้วิจัยเป็นฐาน ได้แก่ การพัฒนาความคิดการสร้างนวัตกรรม การฝึกแก้ปัญหา การทำงานร่วมกับผู้อื่น และการสร้างเสริมสุขภาพ สำหรับประโยขน์ที่ได้รับจากการจัดการเรียนการสอนแบบใช้วิจัยเป็นฐานทำให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง และต่อส่วนรวม ผู้เรียนสะท้อน
ข้อเสนอแนะที่สำคัญคือ ควรจัดให้มีการเรียนการสอนแบบใช้วิจัยเป็นฐานทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิธีการทำวิจัย ได้ฝึกการสืบเสาะหาความรู้อย่างเป็นระบบ แต่การกำหนดหัวข้อในการทำนวัตกรรม อาจขึ้นอยู่กับความสนใจของผู้เรัียนLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27213 [article] ผลการจัดการเรียนรู้แบบใช้วิจัยเป็นฐานในรายวิชาระบบสุขภาพ และการสร้างเสริมสุขภาพต่อผลการเรียนรู้ = The effect od research based learning management in health system and health promotion subjeact on learning outcome and innovative work behavior of nursing students : และพฤติกรรมการทำงานที่มุ่งนวัตกรรมของนักเรียนพยาบาล [printed text] / องค์อร ประจันเขตต์, Author ; อภิญญา อินทรรัตน์, Author ; อายุพร ประสิทธิเวชชากูร, Author ; อรวรรณ จุลวงษ์, Author . - 2017 . - p.55-63.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.55-63Keywords: การจัดการเรียนรู้แบบใช้วิจัย.รายวิชาระบบสุขภาพ.การสร้างเสริมสุขภาพ.ผลการเรียนรู้.พฤติกรรมการทำงาน.นวัตกรรมนักเรียนพยาบาล. Abstract: มีวัตถุประสงค์เพื่อ เปรียบเทียบพฤติกรรมการทำงานที่มุ่งนัตกรรมของนักเรียนก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนรู้แบบใช้วิจัยเป็นฐานในรายวิชาระบบสุขภาพและ การสร้างเสริมสุขภาพ และเพื่อศึกษาผลการเรียนรู้ของนักเรียนพยาบาลภายหลังจัดการเรียนการสอนแบบใฃ้วิจัยเป็นฐานในรายวิชาระบบสุขภาพ และการสร้างเสริมสุขภาพ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลกองทัพยก ชั้นปีที่ 1 รุ่นที่ 21 จำนววน 84 คน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม จำนวน 1 ฉบับ แบ่งเป็นสามตอน ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามพฤติกรรมการทำงานที่มุ่งนวัตกรรม และแบบบันทึกสะท้อนผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
ผลการวิจัย พบว่า คะแนนเฉลี่ยของพฤติกรรมการทำงานที่มุ่งนวัตกรรมทั้งภาพรวม และรายด้านได้แก่ ด้านการสร้างความคิดใหม่ และด้านการนำความคิดใหม่ไปสู่การปฏิบัติ หลังทดลองสูงกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิเคราะห์เนื้อหาจากแบบบันทึกการสะท้อนผลการเรียนรู้พบว่า ส่่งที่ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการจัดการเรียนการสอนแบบใช้วิจัยเป็นฐาน ได้แก่ การพัฒนาความคิดการสร้างนวัตกรรม การฝึกแก้ปัญหา การทำงานร่วมกับผู้อื่น และการสร้างเสริมสุขภาพ สำหรับประโยขน์ที่ได้รับจากการจัดการเรียนการสอนแบบใช้วิจัยเป็นฐานทำให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง และต่อส่วนรวม ผู้เรียนสะท้อน
ข้อเสนอแนะที่สำคัญคือ ควรจัดให้มีการเรียนการสอนแบบใช้วิจัยเป็นฐานทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิธีการทำวิจัย ได้ฝึกการสืบเสาะหาความรู้อย่างเป็นระบบ แต่การกำหนดหัวข้อในการทำนวัตกรรม อาจขึ้นอยู่กับความสนใจของผู้เรัียนLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27213