From this page you can:
Home |
Search results
18 result(s) search for keyword(s) 'การล่วงละเมิด. เพศ. วัยรุ่น. การฟื้นฟู.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ประสบการณ์การฟื้นสภาพของวัยรุ่นหลังจากถูกล่วงเกินทางเพศ / จิตรา โรจน์ขจรนภาลัย / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2550
Title : ประสบการณ์การฟื้นสภาพของวัยรุ่นหลังจากถูกล่วงเกินทางเพศ Original title : Recovery experiences of adolescents after sexual abused Material Type: printed text Authors: จิตรา โรจน์ขจรนภาลัย, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2550 Pagination: ก-ฌ,184 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การล่วงละเมิดทางเำพศ
[LCSH]ประสบการณ์
[LCSH]วัยรุ่น -- เพศKeywords: การล่วงละเมิด.
เพศ.
วัยรุ่น.
การฟื้นฟู.Class number: WS39 จ234 2550 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23227 ประสบการณ์การฟื้นสภาพของวัยรุ่นหลังจากถูกล่วงเกินทางเพศ = Recovery experiences of adolescents after sexual abused [printed text] / จิตรา โรจน์ขจรนภาลัย, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 . - ก-ฌ,184 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การล่วงละเมิดทางเำพศ
[LCSH]ประสบการณ์
[LCSH]วัยรุ่น -- เพศKeywords: การล่วงละเมิด.
เพศ.
วัยรุ่น.
การฟื้นฟู.Class number: WS39 จ234 2550 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23227 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354918 WS39 จ234 2550 Thesis Main Library Thesis Corner Available กลวิธีในการปฎิเสธการมีเพศสัีมพันธ์ของวัยรุ่นหญิงตามประสบการณ์ของวัยรุ่นชาย / ภาภาดา อรุณรัตน์ / 2552
Title : กลวิธีในการปฎิเสธการมีเพศสัีมพันธ์ของวัยรุ่นหญิงตามประสบการณ์ของวัยรุ่นชาย Original title : Ways of adolescent female's refusal having sexual relation based on adolescent male's experiences Material Type: printed text Authors: ภาภาดา อรุณรัตน์, Author Publication Date: 2552 Pagination: 112 แผ่น Layout: ตารางประกอบ. Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน]]-- มหาวิทยาลัยนเรศวร 2552 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การสำรวจพฤติกรรมทางเพศ -- ไทย -- พิจิตร
[LCSH]เพศสัมพันธ์Keywords: เพศสัมพันธ์.
วัยรุ่นหญิง.
วัยรุ่นชาย.Class number: HQ60 ภ676 2552 Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบปรากฏการณ์วิทยาครั้งนี้ เื่ื่ื่พื่อทำความเข้าใจและอธิบายถึงกลวิธีในการปฏิเสธการมีเพศสัมพันธ์ของวัยรุ่นหญิงตามประสบการณ์ของวัยรุ่นชาย และอธิบายถึงพฤติกรรมของวัยรุ่นหญิงตามประสบการณ์ของวัยรุ่นชายที่ไม่สามารถชักจูงให้มีเพศสัมพันธ์ได้ ผู้ให้ข้อมูลเป็นวัยรุ่นชายที่ำกำลังศึกษาในระดับมัธยมศึก๋ษาตอนปลาย อ. วิชรบารมี จังหวัดพิจิตร อายุระหว่าง 15-18 ปี ที่เคยมีประสบการณ์การมีเพศสัมพันธ์กับวัยรุ่นหญิงมาแล้ว จำนวน 11 ราย เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการของโคไลซี่ พบว่า วัยรุ่นชายให้ความหมายของการมีเพศสัมพันธ์ 2 ลักษณะคือ เป็นความสนุกปลดปล่อยอารมณ์ และได้ร่วมเพศโดยไม่ได้เลือกว่าเป็นผู้หญิงที่ีรักหรือไม่รัก โดยมีขั้นตอน 4 ขั้นตอน ตีสนิท ตามจีบ นัดพบ และกระตุ้นรุกเร้าอารมณ์จนสมยอม และกลวิธีปฏิเสธของวัยรุ่นหญิงที่วัยรุ่นชายไม่สามารถชักจูงให้มีเพศสัมพันธ์ได้มี 3 พฤติกรรม คือ เป็นคนโมโหร้ายและแสดงท่าทางรังเกียจ เป็นคนเงียบเฉย และเรียบร้อย และเป็นคนไม่เที่ยวเตรชอบอยู่กับพ่อ และแม่ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23234 กลวิธีในการปฎิเสธการมีเพศสัีมพันธ์ของวัยรุ่นหญิงตามประสบการณ์ของวัยรุ่นชาย = Ways of adolescent female's refusal having sexual relation based on adolescent male's experiences [printed text] / ภาภาดา อรุณรัตน์, Author . - 2552 . - 112 แผ่น : ตารางประกอบ. ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน]]-- มหาวิทยาลัยนเรศวร 2552
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การสำรวจพฤติกรรมทางเพศ -- ไทย -- พิจิตร
[LCSH]เพศสัมพันธ์Keywords: เพศสัมพันธ์.
วัยรุ่นหญิง.
วัยรุ่นชาย.Class number: HQ60 ภ676 2552 Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบปรากฏการณ์วิทยาครั้งนี้ เื่ื่ื่พื่อทำความเข้าใจและอธิบายถึงกลวิธีในการปฏิเสธการมีเพศสัมพันธ์ของวัยรุ่นหญิงตามประสบการณ์ของวัยรุ่นชาย และอธิบายถึงพฤติกรรมของวัยรุ่นหญิงตามประสบการณ์ของวัยรุ่นชายที่ไม่สามารถชักจูงให้มีเพศสัมพันธ์ได้ ผู้ให้ข้อมูลเป็นวัยรุ่นชายที่ำกำลังศึกษาในระดับมัธยมศึก๋ษาตอนปลาย อ. วิชรบารมี จังหวัดพิจิตร อายุระหว่าง 15-18 ปี ที่เคยมีประสบการณ์การมีเพศสัมพันธ์กับวัยรุ่นหญิงมาแล้ว จำนวน 11 ราย เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการของโคไลซี่ พบว่า วัยรุ่นชายให้ความหมายของการมีเพศสัมพันธ์ 2 ลักษณะคือ เป็นความสนุกปลดปล่อยอารมณ์ และได้ร่วมเพศโดยไม่ได้เลือกว่าเป็นผู้หญิงที่ีรักหรือไม่รัก โดยมีขั้นตอน 4 ขั้นตอน ตีสนิท ตามจีบ นัดพบ และกระตุ้นรุกเร้าอารมณ์จนสมยอม และกลวิธีปฏิเสธของวัยรุ่นหญิงที่วัยรุ่นชายไม่สามารถชักจูงให้มีเพศสัมพันธ์ได้มี 3 พฤติกรรม คือ เป็นคนโมโหร้ายและแสดงท่าทางรังเกียจ เป็นคนเงียบเฉย และเรียบร้อย และเป็นคนไม่เที่ยวเตรชอบอยู่กับพ่อ และแม่ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23234 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354801 HQ60 ภ676 2552 Thesis Main Library Thesis Corner Available Love Book คู่มือความรักฉบับวัยทีน / มนทิรา จูทะพุทธิ / กรุงเทพฯ : แปลน พริ้นติ้ง - 2549
Title : Love Book คู่มือความรักฉบับวัยทีน : เรียนรู้เพื่อรักอย่างเข้าใจ Material Type: printed text Authors: มนทิรา จูทะพุทธิ, Editor ; พรรพิมล หล่อตระกูล, Author ; อัมพร เบญจพลพิทักษ์, Author ; พนมทวน ชูแสงทอง, Author Publisher: กรุงเทพฯ : แปลน พริ้นติ้ง Publication Date: 2549 Other publisher: คอนเทนต์ แฟกตอรี่ จำกัด Pagination: 157 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 21 ซม. ISBN (or other code): 978-974-941144--5 Price: 150.00 General note: โครงการผลิตสื่อเพื่อการเรียนรู้เรื่องเพศศึกษาและทักษะชีวิตสำหรับเยาวชน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]นักเรียนมัธยมศึกษา -- พฤติกรรม
[LCSH]วัยรุ่น -- ความสัมพันธ์กับเพื่อนต่างเพศ
[LCSH]วัยรุ่น -- สุขภาพจิต
[LCSH]เพศศึกษา -- วัยรุ่นKeywords: วัยรุ่น Curricular : BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=21536 Love Book คู่มือความรักฉบับวัยทีน : เรียนรู้เพื่อรักอย่างเข้าใจ [printed text] / มนทิรา จูทะพุทธิ, Editor ; พรรพิมล หล่อตระกูล, Author ; อัมพร เบญจพลพิทักษ์, Author ; พนมทวน ชูแสงทอง, Author . - กรุงเทพฯ : แปลน พริ้นติ้ง : [S.l.] : คอนเทนต์ แฟกตอรี่ จำกัด, 2549 . - 157 หน้า : ภาพประกอบ ; 21 ซม.
ISBN : 978-974-941144--5 : 150.00
โครงการผลิตสื่อเพื่อการเรียนรู้เรื่องเพศศึกษาและทักษะชีวิตสำหรับเยาวชน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]นักเรียนมัธยมศึกษา -- พฤติกรรม
[LCSH]วัยรุ่น -- ความสัมพันธ์กับเพื่อนต่างเพศ
[LCSH]วัยรุ่น -- สุขภาพจิต
[LCSH]เพศศึกษา -- วัยรุ่นKeywords: วัยรุ่น Curricular : BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=21536 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000360030 BF636 ม55 2549 Book Main Library General Shelf Available การฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ การดูแลบในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน / ดวงกมล วัตราดุลย์ in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 ([10/14/2015])
[article]
Title : การฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ การดูแลบในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน Material Type: printed text Authors: ดวงกมล วัตราดุลย์, Author Publication Date: 2015 Article on page: pp.89-103 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 [10/14/2015] . - pp.89-103Keywords: ทฤษฎีเปลี่ยนผ่าน.การฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ.ผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด. Abstract: ผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือดควรได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ระยะเฉียบพลันในโรงพยาบาลจนกระทั่งจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล การฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจเป็นการดูแลที่ครอบคลุมไปถึงการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยและครอบครัวให้สามารถเผชิญหน้ากับความเจ็บป่วยและเปลี่ยนผ่านการดูแลจากโรงพยาบาลไปสู่่บ้านอย่างปลอดภัย. การวิจัยนี้เพื่อ สังเคราะห์การพยาบาลในระยะเปลี่ยนผ่านโดยการบูรณาะการทฤษฎีเปลี่ยนผ่านกับโปรแกรมการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ ซึ่งพยาบาลผู้จัดการรายกรณีมีบทบาทสำคัญในการดูแลระยะเปลี่ยนผ่าน ที่ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การประเมินความพร้อมของผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือดในการเปลี่ยนผ่าน ขั้นตอนที่ 2 การเตรียมความพร้อมด้านร่างกายและจิตใจให้แก่ผู้ป่วยเพื่อเปลี่ยนผ่านการดูแลจากโรงพยาบาสสู่บ้านโดยการวางแผนการจำหน่ายผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพร่วมกับการบูรณาการองค์ประกอบาำคัญของการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจระยะที่ 1 และขั้นตอนที่ 3 การพยาบาลในบทบาทเสริมเพื่อสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงบทบาทใหม่และคงไว้ซึ่งผลลัพธ์สุขภาพทั้งร่างกายและจิตใจและคุณภาพชีวิตที่ดี ด้วยการบูรณาการการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจระยะที่ 2 3 และ 4 ให้คงไว้พฤติกรรมการจัดการตนเองเพื่อสุขภาพหัวใจที่ดีและอย่างยั่งยืนในระยะยาว ได้แก่ การประเมินผู้ป่วย การให้คำปรึกษาด้านโภชนาการ การจัดการกับปัจจัยเสี่ยง การฝึกการออกกำลังกาย การจัดการดูแลด้านจิตสังคม การให้คำปรึกษาการออกกำลังกาย และการฝึกออกกำลังกาย ในแต่ละองค์ประกอบจะต้องมีัการประเมินผล การดำเนินการ กำหนดผลลัพธ์ที่คาดหวัง. พยาบาลผู้เชี่ยวชาญโรคหัวใจและหลอดเลือดควรได้รับการอบรมในหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทางเพื่อเพิ่มสมรรถนะด้านการฟื้นฟู
สมรรถภาพหัวใจในสถานบริการทุกระดับ มีการประเมินผลลัพธ์และตรวจสอบการประกันคถุณภาพเพื่อให้ผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือดเข้าถึงบริการอย่างมีคุณภาพและต่อเนื่องLink for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25001 [article] การฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ การดูแลบในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน [printed text] / ดวงกมล วัตราดุลย์, Author . - 2015 . - pp.89-103.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 [10/14/2015] . - pp.89-103Keywords: ทฤษฎีเปลี่ยนผ่าน.การฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ.ผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด. Abstract: ผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือดควรได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ระยะเฉียบพลันในโรงพยาบาลจนกระทั่งจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล การฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจเป็นการดูแลที่ครอบคลุมไปถึงการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยและครอบครัวให้สามารถเผชิญหน้ากับความเจ็บป่วยและเปลี่ยนผ่านการดูแลจากโรงพยาบาลไปสู่่บ้านอย่างปลอดภัย. การวิจัยนี้เพื่อ สังเคราะห์การพยาบาลในระยะเปลี่ยนผ่านโดยการบูรณาะการทฤษฎีเปลี่ยนผ่านกับโปรแกรมการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ ซึ่งพยาบาลผู้จัดการรายกรณีมีบทบาทสำคัญในการดูแลระยะเปลี่ยนผ่าน ที่ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การประเมินความพร้อมของผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือดในการเปลี่ยนผ่าน ขั้นตอนที่ 2 การเตรียมความพร้อมด้านร่างกายและจิตใจให้แก่ผู้ป่วยเพื่อเปลี่ยนผ่านการดูแลจากโรงพยาบาสสู่บ้านโดยการวางแผนการจำหน่ายผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพร่วมกับการบูรณาการองค์ประกอบาำคัญของการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจระยะที่ 1 และขั้นตอนที่ 3 การพยาบาลในบทบาทเสริมเพื่อสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงบทบาทใหม่และคงไว้ซึ่งผลลัพธ์สุขภาพทั้งร่างกายและจิตใจและคุณภาพชีวิตที่ดี ด้วยการบูรณาการการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจระยะที่ 2 3 และ 4 ให้คงไว้พฤติกรรมการจัดการตนเองเพื่อสุขภาพหัวใจที่ดีและอย่างยั่งยืนในระยะยาว ได้แก่ การประเมินผู้ป่วย การให้คำปรึกษาด้านโภชนาการ การจัดการกับปัจจัยเสี่ยง การฝึกการออกกำลังกาย การจัดการดูแลด้านจิตสังคม การให้คำปรึกษาการออกกำลังกาย และการฝึกออกกำลังกาย ในแต่ละองค์ประกอบจะต้องมีัการประเมินผล การดำเนินการ กำหนดผลลัพธ์ที่คาดหวัง. พยาบาลผู้เชี่ยวชาญโรคหัวใจและหลอดเลือดควรได้รับการอบรมในหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทางเพื่อเพิ่มสมรรถนะด้านการฟื้นฟู
สมรรถภาพหัวใจในสถานบริการทุกระดับ มีการประเมินผลลัพธ์และตรวจสอบการประกันคถุณภาพเพื่อให้ผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือดเข้าถึงบริการอย่างมีคุณภาพและต่อเนื่องLink for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25001 ความสัมพันธ์ระหว่างความแข็งแกร่งในชีวิตกับภาวะซึมเศร้าและพฤติกรรมก้าวร้าวในวัยรุ่นที่เผชิญเหตุการณ์รุนแรง / อริศรา สุขศรี in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.30 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2559 ([06/15/2017])
[article]
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างความแข็งแกร่งในชีวิตกับภาวะซึมเศร้าและพฤติกรรมก้าวร้าวในวัยรุ่นที่เผชิญเหตุการณ์รุนแรง Original title : Relationships between resilience and depression and aggressive behaviors in adolescents exposed to violence Material Type: printed text Authors: อริศรา สุขศรี, Author ; พัชรินทร์ นินทจันทร์, Author ; ทัศนา ทวีคูณ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.97-112 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2559 [06/15/2017] . - p.97-112Keywords: ความแข็งแกร่งในชีวิต. ภาวะซึมเศร้า. พฤติกรรมก้าวร้าว. วัยรุ่นที่เผชิญเหตุการณ์รุนแรง. Abstract: ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความแข็งแกร่งในชีวิตกับภาวะซึมเศร้า และพฤติกรรมก้าวร้าวในวัยรุ่นที่เผชิญเหตุการณ์รุนแรง
การวิจัยนี้ เป็นการวิจัยแบบบรรยายความสัมพันธ์ กลุ้มตัวอย่าง จำนวน 283 คน ระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 1-6 เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม แบบประเมิน แบบคัดกรอง แบบวัดพฤติกรรม
ผลการศึกษา พบว่า ความแข็งแกร่งในชีวิตในวัยรุ่นที่เผชิญเหตุการณ์รุนแรงมีความสัมพันธฺทางลบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับภาวะซึมเศร้า (rs= -.358, p<.001) และพฤติกรรมก้าวร้าว (rs= -.291, p.001) ผลการวิจัยครั้งนี้เป็นข้อมูลพื้นฐานที่สามารถนำไปใช้ในแผนการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตที่เผชิญเหตุการณ์รุนแรงต่อไปRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26953 [article] ความสัมพันธ์ระหว่างความแข็งแกร่งในชีวิตกับภาวะซึมเศร้าและพฤติกรรมก้าวร้าวในวัยรุ่นที่เผชิญเหตุการณ์รุนแรง = Relationships between resilience and depression and aggressive behaviors in adolescents exposed to violence [printed text] / อริศรา สุขศรี, Author ; พัชรินทร์ นินทจันทร์, Author ; ทัศนา ทวีคูณ, Author . - 2017 . - p.97-112.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2559 [06/15/2017] . - p.97-112Keywords: ความแข็งแกร่งในชีวิต. ภาวะซึมเศร้า. พฤติกรรมก้าวร้าว. วัยรุ่นที่เผชิญเหตุการณ์รุนแรง. Abstract: ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความแข็งแกร่งในชีวิตกับภาวะซึมเศร้า และพฤติกรรมก้าวร้าวในวัยรุ่นที่เผชิญเหตุการณ์รุนแรง
การวิจัยนี้ เป็นการวิจัยแบบบรรยายความสัมพันธ์ กลุ้มตัวอย่าง จำนวน 283 คน ระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 1-6 เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม แบบประเมิน แบบคัดกรอง แบบวัดพฤติกรรม
ผลการศึกษา พบว่า ความแข็งแกร่งในชีวิตในวัยรุ่นที่เผชิญเหตุการณ์รุนแรงมีความสัมพันธฺทางลบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับภาวะซึมเศร้า (rs= -.358, p<.001) และพฤติกรรมก้าวร้าว (rs= -.291, p.001) ผลการวิจัยครั้งนี้เป็นข้อมูลพื้นฐานที่สามารถนำไปใช้ในแผนการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตที่เผชิญเหตุการณ์รุนแรงต่อไปRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26953 บทเรียนจากการพัฒนาบริการสายด่วนช่วยเหลือวัยรุ่นตั้งครรภ์ / ศิริพร จิวัฒน์กุล in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 ([07/25/2016])
[article]
Title : บทเรียนจากการพัฒนาบริการสายด่วนช่วยเหลือวัยรุ่นตั้งครรภ์ Material Type: printed text Authors: ศิริพร จิวัฒน์กุล, Author ; สมพร ร่งเรืองกลกิจ, Author ; นิลุบล รุจิรประเสริฐ, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.5-14 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 [07/25/2016] . - p.5-14Keywords: การพัฒนาระบบ.บริการสายด่วน.วัยรุ่นตั้งครรภ์. Abstract: บทคัดย่อ: บทความวิชาการเรื่องนี้มีเป้าหมายเพื่อนำเสนอการจัดระบบบริการสายด่วน
โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับการช่วยเหลือวัยรุ่นตั้งครรภ์ สาระหลักได้จากการทบทวนวรรณกรรม
และการถอดบทเรียนประสบการณ์การพัฒนาระบบของสายด่วน 1663 ในการช่วยเหลือ
วัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ ซึ่งครอบคลุมเนื้อหาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบริการสายด่วน ลักษณะของผู้
ให้คำปรึกษาผ่านสายด่วน รวมถึงสมรรถนะ และจรรยาของการให้คำปรึกษาทางโทรศัพท์
และองค์ความรู้เฉพาะที่เน้นระบบบริการสายด่วนช่วยเหลือวัยรุ่นตั้งครรภ์Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27039 [article] บทเรียนจากการพัฒนาบริการสายด่วนช่วยเหลือวัยรุ่นตั้งครรภ์ [printed text] / ศิริพร จิวัฒน์กุล, Author ; สมพร ร่งเรืองกลกิจ, Author ; นิลุบล รุจิรประเสริฐ, Author . - 2016 . - p.5-14.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 [07/25/2016] . - p.5-14Keywords: การพัฒนาระบบ.บริการสายด่วน.วัยรุ่นตั้งครรภ์. Abstract: บทคัดย่อ: บทความวิชาการเรื่องนี้มีเป้าหมายเพื่อนำเสนอการจัดระบบบริการสายด่วน
โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับการช่วยเหลือวัยรุ่นตั้งครรภ์ สาระหลักได้จากการทบทวนวรรณกรรม
และการถอดบทเรียนประสบการณ์การพัฒนาระบบของสายด่วน 1663 ในการช่วยเหลือ
วัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ ซึ่งครอบคลุมเนื้อหาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบริการสายด่วน ลักษณะของผู้
ให้คำปรึกษาผ่านสายด่วน รวมถึงสมรรถนะ และจรรยาของการให้คำปรึกษาทางโทรศัพท์
และองค์ความรู้เฉพาะที่เน้นระบบบริการสายด่วนช่วยเหลือวัยรุ่นตั้งครรภ์Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27039 ปัจจัยทำนายการคิดฆ่าตัวตายในวัยรุ่นชาวไทย / เบญจมาภรณ์ รุ่งสาง in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : ปัจจัยทำนายการคิดฆ่าตัวตายในวัยรุ่นชาวไทย Original title : predictiors of suicide ldeation among the adolescents Material Type: printed text Authors: เบญจมาภรณ์ รุ่งสาง, Author ; นุจรี ไชยมงคล, Author ; วรรณี เตียวอิศเรศ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.64-73 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.64-73Keywords: การคิดฆ่าตัวตาย.วัยรุ่นไทย.ปัจจัยทำนาย.พฤติกรรมการแสดงออกในทางลบ. Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26742 [article] ปัจจัยทำนายการคิดฆ่าตัวตายในวัยรุ่นชาวไทย = predictiors of suicide ldeation among the adolescents [printed text] / เบญจมาภรณ์ รุ่งสาง, Author ; นุจรี ไชยมงคล, Author ; วรรณี เตียวอิศเรศ, Author . - 2017 . - p.64-73.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.64-73Keywords: การคิดฆ่าตัวตาย.วัยรุ่นไทย.ปัจจัยทำนาย.พฤติกรรมการแสดงออกในทางลบ. Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26742 ปัจจัยทำนายความแข็งแกร่งในชีวิตในวัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาส / พัชรินทร์ นินทจันทร์ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 ([11/08/2017])
[article]
Title : ปัจจัยทำนายความแข็งแกร่งในชีวิตในวัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาส Original title : Factors predicting resilience in underprivieleged adolescents Material Type: printed text Authors: พัชรินทร์ นินทจันทร์, Author ; วารีรัตน์ ถาน้อย, Author ; โสภิณ แสงอ่อน, Author ; มาณวิภา พัฒนมาศ, Author ; ช่อทิพย์ อินทรักษา, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.13-28. Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.13-28.Keywords: ความแข็งแกร่งในชีวิต. ความเครียด. เหตุการณ์ที่สร้างความยุ่งยากใจ. วัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาส.Resilience. Stress. Negative events. Underprivileged adolescents. Abstract:
วัตถุประสงค์: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายความแข็งแกร่งในชีวิตในวัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาส
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนที่กำลังศึกษาในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง 6 โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แห่งหนึ่งในประเทศไทย จำนวน 224 คน เลือกตัวอย่างโดยใช้วิธีสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบวัดความเครียด แบบประเมินความแข็งแกร่งในชีวิตและแบบวัดเหตุการณ์ที่สร้างความยุ่งยากใจวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน
ผลการศึกษา: ผลการศึกษาพบว่า อายุ สถานะทางการเงิน ความเครียด และเหตุการณ์ ที่สร้างความยุ่งยากใจ (ปัญหากับเพื่อน ปัญหากับแฟน ปัญหากับครู/ อาจารย์ ปัญหากับบิดา/ มารดา ปัญหากับนักศึกษาอื่น ปัญหากับญาติ/พี่น้องปัญหาการเงิน ปัญหาเกี่ยวกับกระบวนการเรียน ปัญหาด้านสุขภาพ และปัญหาด้านข้อจำกัดในการเรียนและความสนใจในวิชาเรียน) มีความสัมพันธ์กับความแข็งแกร่งในชีวิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเหตุการณ์ที่สร้างความยุ่งยากใจ และอายุสามารถร่วมกันทำนายความแข็งแกร่งในชีวิตได้ร้อยละ 17.30 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
สรุป: ผลที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้สามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาการปฏิบัติการพยาบาลในการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตให้แก่วัยรุ่น เพื่อป้องกันการเกิดปัญหาสุขภาพจิตในวัยรุ่นด้อยโอกาสต่อไป
Objective: The purpose of this study was to investigate factors predicting resilience in underprivileged adolescents.
Methods: A simple random sampling technique was used to select 224 secondary school students from a school for underprivileged adolescents in Thailand. Data were collected by a set of self-report questionnaires including a demographic questionnaire, the Thai Stress Test, the Resilience Inventory, and the Negative Events Scale. Descriptive statistics, correlation coefficient, and stepwise multiple regression were employed for data analyses.
Results: The results revealed that age, economic status, stress, and negative events (problems with friends, problems with boy/ girlfriend, problems with teachers, problems with parents, problems with other students, problems with relatives, financial problems, problems with academic courses, health problems and problems with academic limitations and course interest) had significant relationship with resilience. The negative events and age could collectively explain variance of resilience at 17.30 percentages.
Conclusion: The findings of this study can be used as basic information to develop a nursing intervention to prevent psychological problems and also enhance resilience of the underprivileged adolescents.
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27469 [article] ปัจจัยทำนายความแข็งแกร่งในชีวิตในวัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาส = Factors predicting resilience in underprivieleged adolescents [printed text] / พัชรินทร์ นินทจันทร์, Author ; วารีรัตน์ ถาน้อย, Author ; โสภิณ แสงอ่อน, Author ; มาณวิภา พัฒนมาศ, Author ; ช่อทิพย์ อินทรักษา, Author . - 2017 . - p.13-28.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.13-28.Keywords: ความแข็งแกร่งในชีวิต. ความเครียด. เหตุการณ์ที่สร้างความยุ่งยากใจ. วัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาส.Resilience. Stress. Negative events. Underprivileged adolescents. Abstract:
วัตถุประสงค์: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายความแข็งแกร่งในชีวิตในวัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาส
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนที่กำลังศึกษาในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง 6 โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แห่งหนึ่งในประเทศไทย จำนวน 224 คน เลือกตัวอย่างโดยใช้วิธีสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบวัดความเครียด แบบประเมินความแข็งแกร่งในชีวิตและแบบวัดเหตุการณ์ที่สร้างความยุ่งยากใจวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน
ผลการศึกษา: ผลการศึกษาพบว่า อายุ สถานะทางการเงิน ความเครียด และเหตุการณ์ ที่สร้างความยุ่งยากใจ (ปัญหากับเพื่อน ปัญหากับแฟน ปัญหากับครู/ อาจารย์ ปัญหากับบิดา/ มารดา ปัญหากับนักศึกษาอื่น ปัญหากับญาติ/พี่น้องปัญหาการเงิน ปัญหาเกี่ยวกับกระบวนการเรียน ปัญหาด้านสุขภาพ และปัญหาด้านข้อจำกัดในการเรียนและความสนใจในวิชาเรียน) มีความสัมพันธ์กับความแข็งแกร่งในชีวิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเหตุการณ์ที่สร้างความยุ่งยากใจ และอายุสามารถร่วมกันทำนายความแข็งแกร่งในชีวิตได้ร้อยละ 17.30 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
สรุป: ผลที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้สามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาการปฏิบัติการพยาบาลในการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตให้แก่วัยรุ่น เพื่อป้องกันการเกิดปัญหาสุขภาพจิตในวัยรุ่นด้อยโอกาสต่อไป
Objective: The purpose of this study was to investigate factors predicting resilience in underprivileged adolescents.
Methods: A simple random sampling technique was used to select 224 secondary school students from a school for underprivileged adolescents in Thailand. Data were collected by a set of self-report questionnaires including a demographic questionnaire, the Thai Stress Test, the Resilience Inventory, and the Negative Events Scale. Descriptive statistics, correlation coefficient, and stepwise multiple regression were employed for data analyses.
Results: The results revealed that age, economic status, stress, and negative events (problems with friends, problems with boy/ girlfriend, problems with teachers, problems with parents, problems with other students, problems with relatives, financial problems, problems with academic courses, health problems and problems with academic limitations and course interest) had significant relationship with resilience. The negative events and age could collectively explain variance of resilience at 17.30 percentages.
Conclusion: The findings of this study can be used as basic information to develop a nursing intervention to prevent psychological problems and also enhance resilience of the underprivileged adolescents.
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27469 ปัญหาสุขภาพจิตในกลุ่มหญิงรักหญิง / สุมนทิพย์ บุญเกิด in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : ปัญหาสุขภาพจิตในกลุ่มหญิงรักหญิง : การเลือกปฏิบัติทางเพศ Original title : Mental health problem in female homosexual gender discrimination Material Type: printed text Authors: สุมนทิพย์ บุญเกิด, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.15-21 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.15-21Keywords: สุขภาพจิต.การเลือกปฏิบัติ.เพศวิถี.หญิงรักหญิง. Abstract: กลุ่มหญิงรักหญิง ได้แก่ บุคคลที่ระบุตนเองว่าเป็นทอม ดี้ เลสเบี้ยน หรือไบเซกส์ช่วล ซึ่งล้วนแต่ถูกจัดว่าเป็นเพศวิถีของคนส่วนน้อย ต้องเผผชิญกับปัญหาพฤติกรรมการเลือกปฏิบัติในระดับองค์กร อันเนื่องมาจากความมีอคติ ความขัดแย้ง และปัญหาด้านสัมพันธภาพ ด้วยสาเหตุนี้จึงทำให้คนกลุ่มนี้มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพจิตได้ง่าย หากไม่ได้รับการแก้ไขอาจจะมีผลกระทบรุนแรง จนไม่สามารถทำงานหรือใช้ชีวิตประจำวันตามปกติ สังคมไทยควรตระหนักถึงความสำคัญของสิทธิมนุษยชน และความเท่าเทียมกันของบุคคล เพื่อลดอคติ และการใช้วาจาสร้างความเกลี่ยดชัง เพราะคนรักเพศเดียวกันนั้นไม่ได้เป็นปัญหาสังคม แต่แท้จริงแล้ว แรงกดดันจากสังคมต่างหากที่สร้างแรงกระทบและก่อปัญหาแก่คนรักเพศเดียวกัน Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26736 [article] ปัญหาสุขภาพจิตในกลุ่มหญิงรักหญิง = Mental health problem in female homosexual gender discrimination : การเลือกปฏิบัติทางเพศ [printed text] / สุมนทิพย์ บุญเกิด, Author . - 2017 . - p.15-21.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.15-21Keywords: สุขภาพจิต.การเลือกปฏิบัติ.เพศวิถี.หญิงรักหญิง. Abstract: กลุ่มหญิงรักหญิง ได้แก่ บุคคลที่ระบุตนเองว่าเป็นทอม ดี้ เลสเบี้ยน หรือไบเซกส์ช่วล ซึ่งล้วนแต่ถูกจัดว่าเป็นเพศวิถีของคนส่วนน้อย ต้องเผผชิญกับปัญหาพฤติกรรมการเลือกปฏิบัติในระดับองค์กร อันเนื่องมาจากความมีอคติ ความขัดแย้ง และปัญหาด้านสัมพันธภาพ ด้วยสาเหตุนี้จึงทำให้คนกลุ่มนี้มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพจิตได้ง่าย หากไม่ได้รับการแก้ไขอาจจะมีผลกระทบรุนแรง จนไม่สามารถทำงานหรือใช้ชีวิตประจำวันตามปกติ สังคมไทยควรตระหนักถึงความสำคัญของสิทธิมนุษยชน และความเท่าเทียมกันของบุคคล เพื่อลดอคติ และการใช้วาจาสร้างความเกลี่ยดชัง เพราะคนรักเพศเดียวกันนั้นไม่ได้เป็นปัญหาสังคม แต่แท้จริงแล้ว แรงกดดันจากสังคมต่างหากที่สร้างแรงกระทบและก่อปัญหาแก่คนรักเพศเดียวกัน Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26736 ผลของโปรแกรมการสร้างเสริมทักษะชีวิตด้านสุขภาพทางเพศ / แสงวรรณ ตั้งแสงสกุล in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการสร้างเสริมทักษะชีวิตด้านสุขภาพทางเพศ : ต่อการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัยของนักเรียนวัยรุ่นตอนต้น Original title : Effect of sexual health life skills program on perceived self-efficacy in safe of early adolescent students Material Type: printed text Authors: แสงวรรณ ตั้งแสงสกุล, Author ; นันทวัน สุวรรณรูป, Author ; ปิยะธิดา นาคะเกษียร, Author ; รุ้งนภา ผาณิตรัตน์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.119-128 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.119-128Keywords: สุขภาพทางเพศ.วัยรุ่นตอนต้น.โปรแกรมการสร้างเสริมทักษะชีวิต.การมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการสร้างเสริมทั้กษะชีวิตด้านสุขภาพทางเพศ ต่อการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการมีเพศมัมพันธ์ที่ปลอดภัยของนักเรียนวันรุ่นตอนต้น กลุ่มตัวอย่าง นร.ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จาก 2 โรงเรียนนจังหวัดเพชรบูรณ์ จำนวน 44 คนแบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 23 คน และกลุ่มควบคุม 21 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการสร้างเสริมทักษะชีวิต จำนวน 5 ครั้ง ใช้เวลาครั้งละ 90 นาที กลุ่มควบคุมได้รับความรู้ตามหลักสูตรการอสอนปกติ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามด้วยตนเอง ก่อนและหลังการทดลองในสัปดาห์ที่ 6 และระยะติดตามประเมินผลในสัปดหา์ที่ 12 วิคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ Repeated Measure ANOVA และสถิติ MANCOVA ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการมีเพศสัมพันธฺ์ที่ปลอดภัย หลังการทดลองในสัปดาห์ที่ 6 ค่าเฉลี่ย 49.48 SD =10.69 และระยะติดตามผลในสัปดาห์ที่ 12 ค่าเฉลี่ย 49.48 SD =9.45 สูงกว่าการทดลอง ค่าเฉลี่ย 40.22 SD = 8.80 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p-value <0.05 และสูงกว่ากลุ่มควบคุม ทั้งหลังการทดลองในสัปดาห์ที่ 6 ค่าเฉลี่ย 31.43 SD = 8.80 และระยะติดตามผลในสัปดาห์ที่ 12 ค่าเฉลี่ย 33.00 SD = 8.92 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p<0.05
การศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า การได้รับโปรแกรมการสร้างเสริมทักษะชีวิตด้านสุขภาพทางเพศ สามารถส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัยกับเด็กวัยรุ่นตอนต้น ดังนั้นสามารถประยุกต์รูปแบบการสอนที่พัฒนาทักษะชีวิตร่วมกับส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตน เพื่อให้เกิดพฤติกรรมสุขภาพทางเพศทีปลอดภัยขึ้นได้Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27233 [article] ผลของโปรแกรมการสร้างเสริมทักษะชีวิตด้านสุขภาพทางเพศ = Effect of sexual health life skills program on perceived self-efficacy in safe of early adolescent students : ต่อการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัยของนักเรียนวัยรุ่นตอนต้น [printed text] / แสงวรรณ ตั้งแสงสกุล, Author ; นันทวัน สุวรรณรูป, Author ; ปิยะธิดา นาคะเกษียร, Author ; รุ้งนภา ผาณิตรัตน์, Author . - 2017 . - p.119-128.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.119-128Keywords: สุขภาพทางเพศ.วัยรุ่นตอนต้น.โปรแกรมการสร้างเสริมทักษะชีวิต.การมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการสร้างเสริมทั้กษะชีวิตด้านสุขภาพทางเพศ ต่อการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการมีเพศมัมพันธ์ที่ปลอดภัยของนักเรียนวันรุ่นตอนต้น กลุ่มตัวอย่าง นร.ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จาก 2 โรงเรียนนจังหวัดเพชรบูรณ์ จำนวน 44 คนแบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 23 คน และกลุ่มควบคุม 21 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการสร้างเสริมทักษะชีวิต จำนวน 5 ครั้ง ใช้เวลาครั้งละ 90 นาที กลุ่มควบคุมได้รับความรู้ตามหลักสูตรการอสอนปกติ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามด้วยตนเอง ก่อนและหลังการทดลองในสัปดาห์ที่ 6 และระยะติดตามประเมินผลในสัปดหา์ที่ 12 วิคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ Repeated Measure ANOVA และสถิติ MANCOVA ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการมีเพศสัมพันธฺ์ที่ปลอดภัย หลังการทดลองในสัปดาห์ที่ 6 ค่าเฉลี่ย 49.48 SD =10.69 และระยะติดตามผลในสัปดาห์ที่ 12 ค่าเฉลี่ย 49.48 SD =9.45 สูงกว่าการทดลอง ค่าเฉลี่ย 40.22 SD = 8.80 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p-value <0.05 และสูงกว่ากลุ่มควบคุม ทั้งหลังการทดลองในสัปดาห์ที่ 6 ค่าเฉลี่ย 31.43 SD = 8.80 และระยะติดตามผลในสัปดาห์ที่ 12 ค่าเฉลี่ย 33.00 SD = 8.92 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p<0.05
การศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า การได้รับโปรแกรมการสร้างเสริมทักษะชีวิตด้านสุขภาพทางเพศ สามารถส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัยกับเด็กวัยรุ่นตอนต้น ดังนั้นสามารถประยุกต์รูปแบบการสอนที่พัฒนาทักษะชีวิตร่วมกับส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตน เพื่อให้เกิดพฤติกรรมสุขภาพทางเพศทีปลอดภัยขึ้นได้Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27233 ผลของโปรแกรมการเตือนตนเองด้านการบริโภคอาหารโดยใช้อินเตอร์เน็ตต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารและน้ำหนักตัวในวัยรุ่นที่มีภาวะโภชนาการเกิน / ผลิดา หนุดละ in วารสารสภาการพยาบาล, Vol 32. No. 1 (Jan-Mar) 2017/60 ([07/25/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการเตือนตนเองด้านการบริโภคอาหารโดยใช้อินเตอร์เน็ตต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารและน้ำหนักตัวในวัยรุ่นที่มีภาวะโภชนาการเกิน Original title : Effect of Internet-Based Dietary Self-Monitoring Program on Dietary Behavior and Body Weight Among Overnutrition Adolescents Material Type: printed text Authors: ผลิดา หนุดละ, Author ; ปิยะนุช จิตตนูนท์, Author ; กาญจน์สุนภัส บาลทิพย์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.32-46 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol 32. No. 1 (Jan-Mar) 2017/60 [07/25/2017] . - p.32-46Keywords: โปรแกรมการเตือนตนเอง. อินเตอร์เน็ต. พฤติกรรมการบริโภค. น้ำหนักตัว. ภาวะโภชนาการเกิน. วัยรุ่น. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการเตือนตนเองด้านการบริโภคอาหาร
โดยใช้อินเตอร์เน็ตต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารและน้ำหนักตัวในวัยรุ่นที่มีภาวะโภชนาการเกิน
การออกแบบวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง
การดำเนินการวิจัย: คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างจากโรงเรียนมัธยมที่มีขนาดใหญ่พิเศษในเขตเทศบาลนครแห่งหนึ่ง จำนวน 2 โรงเรียน โดยใช้วิธีสุ่มอย่างง่าย คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างนักเรียนวัยรุ่นที่มีภาวะโภชนาการเกินของแต่ละโรงเรียนแบบเฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนด และจับคู่กลุ่มตัวอย่างทั้งกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมตามระดับภาวะโภชนาการ กลุ่มละ 24 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการเตือนตนเองด้านการบริโภคอาหารโดยใช้อินเตอร์เน็ต เป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์ กลุ่มควบคุมไม่ได้รับโปรแกรมดังกล่าว เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ โปรแกรมการเตือนตนเองด้านการบริโภคอาหารโดยใช้อินเตอร์เน็ต 2) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบสอบถามพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องชั่งน้ำหนักแบบดิจิตอล เครื่องมือทั้งหมดผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 3 ท่าน แบบสอบถามพฤติกรรมการบริโภคอาหารผ่านการตรวจสอบความเที่ยงในกลุ่มตัวอย่างจำนวน 20 ราย ได้ค่าสัมประสิทธิแอลฟ่าของครอนบาคเท่ากับ .80 และเครื่องชั่งน้ำหนักตรวจสอบความเที่ยงโดยการเปรียบเทียบกับเครื่องมือมาตรฐานก่อนการชั่งทุกครั้ง วิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลโดยสถิติบรรยาย วิเคราะห์ความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการบริโภคอาหารและน้ำหนักตัวภายในกลุ่มก่อนและหลังการเข้าร่วมโปรแกรมโดยสถิติทีคู่ วิเคราะห์ความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการบริโภคอาหารและน้ำหนักตัวระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมโดยสถิติที
ผลการวิจัย: กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการบริโภคอาหารหลังการทดลองสูงกว่า
ก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) และนำ้หนักตัวตำ่กว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
(p<.01) กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการบริโภคอาหารหลังการทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมี
นัยสำคัญทางสถิติ (p<.01) และนำ้หนักตัวกลุ่มทดลองหลังการทดลองตำ่กว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ
ทางสถิติ (p<.05)
สรุปผลการวิจัย: ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่า โปรแกรมการเตือนตนเองด้านการบริโภคอาหาร
โดยใช้อินเตอร์เน็ต สามารถทำให้วัยรุ่นในโรงเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภคอาหารและทำให้นำ้หนักตัวลดลงได้ ดังนั้นจึงควรนำไปใช้เพื่อจัดการภาวะโภชนาการเกินสำหรับวัยรุ่นในระบบการศึกษาหรือปรับใช้กับวัยรุ่นโดยทั่วไปLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26982 [article] ผลของโปรแกรมการเตือนตนเองด้านการบริโภคอาหารโดยใช้อินเตอร์เน็ตต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารและน้ำหนักตัวในวัยรุ่นที่มีภาวะโภชนาการเกิน = Effect of Internet-Based Dietary Self-Monitoring Program on Dietary Behavior and Body Weight Among Overnutrition Adolescents [printed text] / ผลิดา หนุดละ, Author ; ปิยะนุช จิตตนูนท์, Author ; กาญจน์สุนภัส บาลทิพย์, Author . - 2017 . - p.32-46.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol 32. No. 1 (Jan-Mar) 2017/60 [07/25/2017] . - p.32-46Keywords: โปรแกรมการเตือนตนเอง. อินเตอร์เน็ต. พฤติกรรมการบริโภค. น้ำหนักตัว. ภาวะโภชนาการเกิน. วัยรุ่น. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการเตือนตนเองด้านการบริโภคอาหาร
โดยใช้อินเตอร์เน็ตต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารและน้ำหนักตัวในวัยรุ่นที่มีภาวะโภชนาการเกิน
การออกแบบวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง
การดำเนินการวิจัย: คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างจากโรงเรียนมัธยมที่มีขนาดใหญ่พิเศษในเขตเทศบาลนครแห่งหนึ่ง จำนวน 2 โรงเรียน โดยใช้วิธีสุ่มอย่างง่าย คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างนักเรียนวัยรุ่นที่มีภาวะโภชนาการเกินของแต่ละโรงเรียนแบบเฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนด และจับคู่กลุ่มตัวอย่างทั้งกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมตามระดับภาวะโภชนาการ กลุ่มละ 24 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการเตือนตนเองด้านการบริโภคอาหารโดยใช้อินเตอร์เน็ต เป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์ กลุ่มควบคุมไม่ได้รับโปรแกรมดังกล่าว เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ โปรแกรมการเตือนตนเองด้านการบริโภคอาหารโดยใช้อินเตอร์เน็ต 2) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบสอบถามพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องชั่งน้ำหนักแบบดิจิตอล เครื่องมือทั้งหมดผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 3 ท่าน แบบสอบถามพฤติกรรมการบริโภคอาหารผ่านการตรวจสอบความเที่ยงในกลุ่มตัวอย่างจำนวน 20 ราย ได้ค่าสัมประสิทธิแอลฟ่าของครอนบาคเท่ากับ .80 และเครื่องชั่งน้ำหนักตรวจสอบความเที่ยงโดยการเปรียบเทียบกับเครื่องมือมาตรฐานก่อนการชั่งทุกครั้ง วิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลโดยสถิติบรรยาย วิเคราะห์ความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการบริโภคอาหารและน้ำหนักตัวภายในกลุ่มก่อนและหลังการเข้าร่วมโปรแกรมโดยสถิติทีคู่ วิเคราะห์ความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการบริโภคอาหารและน้ำหนักตัวระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมโดยสถิติที
ผลการวิจัย: กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการบริโภคอาหารหลังการทดลองสูงกว่า
ก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) และนำ้หนักตัวตำ่กว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
(p<.01) กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการบริโภคอาหารหลังการทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมี
นัยสำคัญทางสถิติ (p<.01) และนำ้หนักตัวกลุ่มทดลองหลังการทดลองตำ่กว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ
ทางสถิติ (p<.05)
สรุปผลการวิจัย: ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่า โปรแกรมการเตือนตนเองด้านการบริโภคอาหาร
โดยใช้อินเตอร์เน็ต สามารถทำให้วัยรุ่นในโรงเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภคอาหารและทำให้นำ้หนักตัวลดลงได้ ดังนั้นจึงควรนำไปใช้เพื่อจัดการภาวะโภชนาการเกินสำหรับวัยรุ่นในระบบการศึกษาหรือปรับใช้กับวัยรุ่นโดยทั่วไปLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26982 ผลของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ประยุกต์ใช้ทฟาฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่นตอนต้น / อาภาพร เผ่าวัฒนา in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 ([02/08/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ประยุกต์ใช้ทฟาฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่นตอนต้น Original title : The effect of computer assist instruction with application of the transtheoretical model on risky sexual behavioral among adolescents Material Type: printed text Authors: อาภาพร เผ่าวัฒนา, Author ; สุนีย์ ละกำปั่น, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.55-61 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.55-61Keywords: ผลของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน.พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ.ขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม.วัยรุ่นตอนต้น Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอว เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ประยุกต์ใช้ทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการป้องกันพฤติกรรมความเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่นตอนต้น กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 2 โรงเรียน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 35 คนและกลุ่มเปรียบเทียบ 30 คน ระยะเวลาในการศึกษา 6 สัปดาห์ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ยเบี่ยงเบนมาตรฐาน independent t-test และ paired t-test
ผลการวิจัย พบว่า หลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความสมดุลการตัดสินใจ การรับรู้ความสามารถของตนเองในการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ สูงกว่าก่อนการทดลองและสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value <0.001)Curricular : BNS Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26523 [article] ผลของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ประยุกต์ใช้ทฟาฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่นตอนต้น = The effect of computer assist instruction with application of the transtheoretical model on risky sexual behavioral among adolescents [printed text] / อาภาพร เผ่าวัฒนา, Author ; สุนีย์ ละกำปั่น, Author . - 2017 . - p.55-61.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.55-61Keywords: ผลของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน.พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ.ขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม.วัยรุ่นตอนต้น Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอว เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ประยุกต์ใช้ทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการป้องกันพฤติกรรมความเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่นตอนต้น กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 2 โรงเรียน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 35 คนและกลุ่มเปรียบเทียบ 30 คน ระยะเวลาในการศึกษา 6 สัปดาห์ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ยเบี่ยงเบนมาตรฐาน independent t-test และ paired t-test
ผลการวิจัย พบว่า หลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความสมดุลการตัดสินใจ การรับรู้ความสามารถของตนเองในการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ สูงกว่าก่อนการทดลองและสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value <0.001)Curricular : BNS Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26523 ผลของโปรแกรมป้องกันการเริ่มต้นสูบบุหรีที่ใช้โรงเรียนเป็นฐาน / รุ่งรัตน์ ศรีสุริยเวศน์ in วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, Vol.27 No.3 (Sep-Dec) 2015/2558 ([06/27/2016])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมป้องกันการเริ่มต้นสูบบุหรีที่ใช้โรงเรียนเป็นฐาน : ต่อการทดลองสูบบุหรีในวัยรุ่นตอนต้น Original title : Effects of school based smoking initiation prevention program on tried smoking among early adolescents Material Type: printed text Authors: รุ่งรัตน์ ศรีสุริยเวศน์, Author ; พรนภา หอมสินธุ์, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.50-67 General note: งานวิจัยนี้ เป็นแบบกึ่งทดลอง กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 คน เป็นนักเรียนในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ของโรงเรียนรัฐบาล ในปีการศึกษา 2558 ... ผลการวิจัย พบว่านักเรียนที่ได้รับโปรแกรมป้องกันการเริ่มต้นสูบบุหรี่ที่ใช้โรงเรียนเป็นฐาน มีคะแนนเฉลี่ยการรับรู้ความชุกของการสูบบุหรี่ และความตั้งใจในการสูบบุหรี่ต่ำกว่ากลุ่มที่ได้รับการสอนตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (F=5.981 p มีค่าน้อยกว่า .01 F=5.62 P มีค่าน้อยกว่า .01 ตามลำดับ อย่างไรก็ตาม การรับรู้ความสามารถของตนในการหลีกเลี่ยงการสูบบุหรี และการรับรู้ภาพลักษณ์ทางสังคมเชิงบวกต่อคนสูบบุหรี่ พบว่า ทั้งสองกลุ่มไม่แตกต่างกัน เมื่อติดตามไปสามเดือน หลังสิ้่นสุดการทดลอง พบว่า กลุ่มทดลองมีสัดส่วนการทดลองสูบ หรือสูบไม่ประจำต่ำกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถติ (15.5% และ 31% X กำลังสอง = 17.717 p มีค่าน้อยกว่า .05 สรุปผลการวิจัน แสดงให้เห็นประโยชน์ของการดำเนินกิจกรรมแบบหลายระดับ (multi-level intervention) มีผลต่อการยั้บยั้งการทดลองสูบบุหรี่ในวัยรุ่นตอนต้น
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย > Vol.27 No.3 (Sep-Dec) 2015/2558 [06/27/2016] . - p.50-67Keywords: การเริ่มสูบบุหรี่.วัยรุ่นตอนต้น.โปรแกรมที่ใช้โรงเรียนเป็นฐาน. Link for e-copy: http://tci-thaijo.org/index.php/CUNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25533 [article] ผลของโปรแกรมป้องกันการเริ่มต้นสูบบุหรีที่ใช้โรงเรียนเป็นฐาน = Effects of school based smoking initiation prevention program on tried smoking among early adolescents : ต่อการทดลองสูบบุหรีในวัยรุ่นตอนต้น [printed text] / รุ่งรัตน์ ศรีสุริยเวศน์, Author ; พรนภา หอมสินธุ์, Author . - 2016 . - p.50-67.
งานวิจัยนี้ เป็นแบบกึ่งทดลอง กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 คน เป็นนักเรียนในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ของโรงเรียนรัฐบาล ในปีการศึกษา 2558 ... ผลการวิจัย พบว่านักเรียนที่ได้รับโปรแกรมป้องกันการเริ่มต้นสูบบุหรี่ที่ใช้โรงเรียนเป็นฐาน มีคะแนนเฉลี่ยการรับรู้ความชุกของการสูบบุหรี่ และความตั้งใจในการสูบบุหรี่ต่ำกว่ากลุ่มที่ได้รับการสอนตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (F=5.981 p มีค่าน้อยกว่า .01 F=5.62 P มีค่าน้อยกว่า .01 ตามลำดับ อย่างไรก็ตาม การรับรู้ความสามารถของตนในการหลีกเลี่ยงการสูบบุหรี และการรับรู้ภาพลักษณ์ทางสังคมเชิงบวกต่อคนสูบบุหรี่ พบว่า ทั้งสองกลุ่มไม่แตกต่างกัน เมื่อติดตามไปสามเดือน หลังสิ้่นสุดการทดลอง พบว่า กลุ่มทดลองมีสัดส่วนการทดลองสูบ หรือสูบไม่ประจำต่ำกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถติ (15.5% และ 31% X กำลังสอง = 17.717 p มีค่าน้อยกว่า .05 สรุปผลการวิจัน แสดงให้เห็นประโยชน์ของการดำเนินกิจกรรมแบบหลายระดับ (multi-level intervention) มีผลต่อการยั้บยั้งการทดลองสูบบุหรี่ในวัยรุ่นตอนต้น
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ผลของโปแกรมการกำกับตนเองของเด็กวัยรุ่น / ชญานิกา ศรีวิชัย in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : ผลของโปแกรมการกำกับตนเองของเด็กวัยรุ่น : ต่อการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Original title : Effect of self-regulation program on self-efficacy toward control on information thechnology using among adolescents Material Type: printed text Authors: ชญานิกา ศรีวิชัย, Author ; ภัทร์ภร อยู่สุข, Author ; สาริณีย์ จินดาวุฒิพันธ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.110-118 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.110-118Keywords: การกำกับตนเอง.วัยรุ่น.การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ. Abstract: วัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ผลของโปรแกรมการกำกับตนเองของเด็กวัยรุ่นต่อการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการควบคุมพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (รูปแบบการวิจัยกึ่งทดลอง Quasi-experimental research) ขนิดมีกลุ่มเดียววัดก่อนหลังการทดลอง (one group pre-post test) กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือ เด็กนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายเพศหญิงและชายที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขตที่ 4 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 60 คน โดยวิธการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจงตามเกณฑ์การคัดเข้าดำเนินการระหว่างเดือนกรกฎาคม-ธันวาคม 2559 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ Pair t-test เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของการรับรู้สมรรถนะแห่งตน ผลการวิจัย พบว่า หลังการเข้าโปรแกรมการกำกับตนเองกลุ่มตัวอย่างมีการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการควบคุมพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ผลการวิจัยนี้สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการวางแผนการให้ความรู้แก่เด็กวัยรุ่น ให้มีการรับรู้สมรรถนะแห่งตนเกี่ยวกับการควบคุมพฤติกรรมตนเองต่อการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ไม่ให้ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของตนเอง ตลอดจนบิดา มารดา และผู้ปกครองที่จะข่วยสนับสนุน ส่งเสริมให้เด็กวัยรุ่นมีการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการึวบคุมพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างถูกต้องต่อไป
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27232 [article] ผลของโปแกรมการกำกับตนเองของเด็กวัยรุ่น = Effect of self-regulation program on self-efficacy toward control on information thechnology using among adolescents : ต่อการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ [printed text] / ชญานิกา ศรีวิชัย, Author ; ภัทร์ภร อยู่สุข, Author ; สาริณีย์ จินดาวุฒิพันธ์, Author . - 2017 . - p.110-118.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.110-118Keywords: การกำกับตนเอง.วัยรุ่น.การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ. Abstract: วัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ผลของโปรแกรมการกำกับตนเองของเด็กวัยรุ่นต่อการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการควบคุมพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (รูปแบบการวิจัยกึ่งทดลอง Quasi-experimental research) ขนิดมีกลุ่มเดียววัดก่อนหลังการทดลอง (one group pre-post test) กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือ เด็กนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายเพศหญิงและชายที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขตที่ 4 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 60 คน โดยวิธการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจงตามเกณฑ์การคัดเข้าดำเนินการระหว่างเดือนกรกฎาคม-ธันวาคม 2559 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ Pair t-test เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของการรับรู้สมรรถนะแห่งตน ผลการวิจัย พบว่า หลังการเข้าโปรแกรมการกำกับตนเองกลุ่มตัวอย่างมีการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการควบคุมพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ผลการวิจัยนี้สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการวางแผนการให้ความรู้แก่เด็กวัยรุ่น ให้มีการรับรู้สมรรถนะแห่งตนเกี่ยวกับการควบคุมพฤติกรรมตนเองต่อการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ไม่ให้ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของตนเอง ตลอดจนบิดา มารดา และผู้ปกครองที่จะข่วยสนับสนุน ส่งเสริมให้เด็กวัยรุ่นมีการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการึวบคุมพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างถูกต้องต่อไป
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27232 รายงานการวิจัยเรื่อง กระบวนการกลายเป็นผู้ติดยาบ้าของวัยรุ่นชาย / สุกุมา แสงเดือนฉาย / โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข - 2544
Title : รายงานการวิจัยเรื่อง กระบวนการกลายเป็นผู้ติดยาบ้าของวัยรุ่นชาย Material Type: printed text Authors: สุกุมา แสงเดือนฉาย, Author ; ขนิ็ิษฐา ขันตี, Author ; ฉวีวรรณ ปัญจบุศย์, Author Publisher: โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข Publication Date: 2544 Pagination: 71 แผ่น Layout: ตาราง. Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-774-009-5 Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การควบคุมยาเสพติด -- ไทย
[LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย
[LCSH]พฤติกรรมการใช้แอมฟิตะมีนในทางที่ผิด -- ไทย
[LCSH]ยาบ้า -- การบำบัดKeywords: ยาบ้า
วัยรุ่นชาย.
การเสพ.
การบำบัด.
พฤติกรรม.Class number: HV5840 ส841 2544 Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษากระบวนการกลายเป็นผู้ติดยาบ้า และปัจจัยที่ทำให้มีการพัฒนาในการเสพยาบ้า ตั้งแต่ระยะปลูกฝัง ระยะเสพ และระยะเสพประจำของวัยรุ่นชาย อันจะนำไปสู่แนวทางป้องกันและการวางแผนในการดูแลบำบัดรักษาผู้เสพติดยาเสพติด เพื่อให้เลิกยาบ้าได้อย่างถาวร กลุ่มตัวอย่าง คือ วัยรุ่นชายอายุ 15-19 ปี ที่เข้ารับการบำบัดรักษายาบ้าในระยะบำบัดด้วยยา ในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ระหว่างเดือนมีนาคม - เมษายน 2544 จำนวน 8 รายเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์มาวิเคราะห์ กระบวนการกลายเป็นผู้เสพติดยาบ้าในวัยรุ่นชาย
ผลการวิจัย พบว่า การเกิดกระบวนการกลายเป็นผู้เสพติดยาบ้า ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ ระยะปลูกฝัง ซึ่งเป็นระยะที่หล่อหลอมความคิด ความรู้สึก ค่านิยมของวัยรุ่นที่มีต่อยาบ้าแล้วดำเนินผ่านจากระยะปลูกฝังสู่ีระยะเีริ่มเสพ ซึ่งเป็นการลองเสพในครั้งแรก โดยมีปัจจัยสาเหตุต่าง ๆ เช่น เพื่อนชวน อยากลอง สัมภันธภาพในครอบครัวไม่ดี และมีการเสพครั้งต่อ ๆ ไป เนื่องจากติดใจในรสชาดของยาบ้า มองว่ายาบ้าใช้ แล้วไม่ติด ทำให้การเสพเข้าสู่ระยะเสพประจำ ระยะนี้จะมีการเพิ่มปริมาณ และจำนวนครั้งของการเสพมากขึ้น มีความต้องการพึ่งพายาบ้าทั้งร่างกาย และจิตใจเป็นผู้เสพติดยาบ้าในที่สุด
ผลการวิจัยครั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่า ควรพัฒนานโยบายในการแก้ไขปัญหาอย่างครบวงจร โดยเฉพาะการป้องกันตั้งแต่ระยะปลูกฝัง ก่อนที่เยาวชนจะเข้าสู่กระบวนการกลายเป็นผู้ติดยาบ้าใหมีความรู้ ความคิด ทัศนคติ และค่านิยม ที่ถูกต้องเกี่ยวกับยาเสพติดในทุกระบบ และประสานความร่วมมือทุกหน่วยงานทั้งภาคเอกชน และรัฐบาลในการแก้ปัญหาอย่างจริงจังCurricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23296 รายงานการวิจัยเรื่อง กระบวนการกลายเป็นผู้ติดยาบ้าของวัยรุ่นชาย [printed text] / สุกุมา แสงเดือนฉาย, Author ; ขนิ็ิษฐา ขันตี, Author ; ฉวีวรรณ ปัญจบุศย์, Author . - [S.l.] : โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2544 . - 71 แผ่น : ตาราง. ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-774-009-5 : บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การควบคุมยาเสพติด -- ไทย
[LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย
[LCSH]พฤติกรรมการใช้แอมฟิตะมีนในทางที่ผิด -- ไทย
[LCSH]ยาบ้า -- การบำบัดKeywords: ยาบ้า
วัยรุ่นชาย.
การเสพ.
การบำบัด.
พฤติกรรม.Class number: HV5840 ส841 2544 Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษากระบวนการกลายเป็นผู้ติดยาบ้า และปัจจัยที่ทำให้มีการพัฒนาในการเสพยาบ้า ตั้งแต่ระยะปลูกฝัง ระยะเสพ และระยะเสพประจำของวัยรุ่นชาย อันจะนำไปสู่แนวทางป้องกันและการวางแผนในการดูแลบำบัดรักษาผู้เสพติดยาเสพติด เพื่อให้เลิกยาบ้าได้อย่างถาวร กลุ่มตัวอย่าง คือ วัยรุ่นชายอายุ 15-19 ปี ที่เข้ารับการบำบัดรักษายาบ้าในระยะบำบัดด้วยยา ในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ระหว่างเดือนมีนาคม - เมษายน 2544 จำนวน 8 รายเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์มาวิเคราะห์ กระบวนการกลายเป็นผู้เสพติดยาบ้าในวัยรุ่นชาย
ผลการวิจัย พบว่า การเกิดกระบวนการกลายเป็นผู้เสพติดยาบ้า ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ ระยะปลูกฝัง ซึ่งเป็นระยะที่หล่อหลอมความคิด ความรู้สึก ค่านิยมของวัยรุ่นที่มีต่อยาบ้าแล้วดำเนินผ่านจากระยะปลูกฝังสู่ีระยะเีริ่มเสพ ซึ่งเป็นการลองเสพในครั้งแรก โดยมีปัจจัยสาเหตุต่าง ๆ เช่น เพื่อนชวน อยากลอง สัมภันธภาพในครอบครัวไม่ดี และมีการเสพครั้งต่อ ๆ ไป เนื่องจากติดใจในรสชาดของยาบ้า มองว่ายาบ้าใช้ แล้วไม่ติด ทำให้การเสพเข้าสู่ระยะเสพประจำ ระยะนี้จะมีการเพิ่มปริมาณ และจำนวนครั้งของการเสพมากขึ้น มีความต้องการพึ่งพายาบ้าทั้งร่างกาย และจิตใจเป็นผู้เสพติดยาบ้าในที่สุด
ผลการวิจัยครั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่า ควรพัฒนานโยบายในการแก้ไขปัญหาอย่างครบวงจร โดยเฉพาะการป้องกันตั้งแต่ระยะปลูกฝัง ก่อนที่เยาวชนจะเข้าสู่กระบวนการกลายเป็นผู้ติดยาบ้าใหมีความรู้ ความคิด ทัศนคติ และค่านิยม ที่ถูกต้องเกี่ยวกับยาเสพติดในทุกระบบ และประสานความร่วมมือทุกหน่วยงานทั้งภาคเอกชน และรัฐบาลในการแก้ปัญหาอย่างจริงจังCurricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23296 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354819 THE HV5840 ส841 2544 Book Main Library General Shelf Available