From this page you can:
Home |
Search results
6 result(s) search for keyword(s) 'การรู้ตนเอง.โปรแกรมเพิ่มการรู้ตนเอง.ภาวะยึดมั่นในการใช้ยา.ผู้ป่วยจิตเภท.พื้นฐานหลักศาสนาอิสลาม.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ผลของโปรแกรมเพิ่มการรู้ตนเองบนพื้นฐานหลักศาสนาอิสลาม / ซารีฟ๊ห์ะ แจนนาห์ in วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, Vol.36 No.2 (May-Aug) 2016 ([12/27/2016])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมเพิ่มการรู้ตนเองบนพื้นฐานหลักศาสนาอิสลาม : ต่อภาวะยึดมั่นต่อการใช้ยาของผู้เป็นจิตเภท: การศึกษานำร่อง Material Type: printed text Authors: ซารีฟ๊ห์ะ แจนนาห์, Author ; วันดี สุทธรังษี, Author ; อรวรรณ หนูแก้ว, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.29 General note: มีเฉพาะบทคัดย่อเท่านั้น Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ > Vol.36 No.2 (May-Aug) 2016 [12/27/2016] . - p.29Keywords: การรู้ตนเอง.โปรแกรมเพิ่มการรู้ตนเอง.ภาวะยึดมั่นในการใช้ยา.ผู้ป่วยจิตเภท.พื้นฐานหลักศาสนาอิสลาม. Abstract: เป็นการศึกษานำร่อง วัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลของโปรแกรมเพิ่มการรู้ตนเอง บนพื้นฐานหลักศาสนาอิสลามต่อภาวะยึดมั่นต่อการใช้ยาเป็นจิตเภท
วิธีการวิจัย โปรแกรมเพิ่มการรู้ตนเอง บนพื้นฐานหลักอิสลาม (BIEP) เป็นโปรแกรมบำบัดใช้เวลา 5 สัปดาห์ ประกอบด้วย 9 ครั้ง กิจกรรมมีหลายลักษณะ เช่น การอภิปราย การให้ข้อมูล การทำเป็นตัวอย่าง และการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ จุดเน้นของโปรแกรมอยู่ที่การเพิ่มการรู้ตนเอง วิธีการศึกษาครั้งนี้ เป็นการวิจัยกึ่งทดลองเพื่อประเมินผลของโปรแกรมต่อภาวะยึดมั่นในการใช้ยาของผู้ป่วยิตเภทมุสลิม จำนวน 10 คน ได้รับการสุ่มเข้าอยู่ในกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมอย่างละ 5 คน แบบประเมินที่ใช้ คือ แบบประเมินการรู้ตนเองทางความรู้คิดของ เบค การประเมืนการรู้ตนเองทางคลินิกของ เบริทวูด และการประเมืนภาวะยึดมั่นในการใช้ยา
ผลการวิจัย พบว่า เมื่อเปรียบเทียบสองกลุ่ม กลุ่มผู้เข่้าร่วมในโปรแกรม IBIEP มีภาวะยึดมั่นในการใช้ยา (U=1.5, p<0.05) การรู้ตนเองด้านการรู้คิด (U=1.0, p<0.05) และการรู้ตนเองทางคลินิก (U=0.50, p<0.05) ดีกว่า กลุ่มควบคุมที่ได้รับการดูแลปกติ
สรุป การศึกษานำร่องครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า โปรแกรม IBIEP น่าจะสามารถเพิ่มภาวะยึดมั่นในการใช้ยาของผู้ป่วยจิตเภทได้ จึงควรนำไปทดลองในกลุ่มผู้เป็นจิตเภทที่มีจำนวนมากกว่านี้Link for e-copy: www.nur.psu.ac.th/journal/ Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25908 [article] ผลของโปรแกรมเพิ่มการรู้ตนเองบนพื้นฐานหลักศาสนาอิสลาม : ต่อภาวะยึดมั่นต่อการใช้ยาของผู้เป็นจิตเภท: การศึกษานำร่อง [printed text] / ซารีฟ๊ห์ะ แจนนาห์, Author ; วันดี สุทธรังษี, Author ; อรวรรณ หนูแก้ว, Author . - 2016 . - p.29.
มีเฉพาะบทคัดย่อเท่านั้น
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ > Vol.36 No.2 (May-Aug) 2016 [12/27/2016] . - p.29Keywords: การรู้ตนเอง.โปรแกรมเพิ่มการรู้ตนเอง.ภาวะยึดมั่นในการใช้ยา.ผู้ป่วยจิตเภท.พื้นฐานหลักศาสนาอิสลาม. Abstract: เป็นการศึกษานำร่อง วัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลของโปรแกรมเพิ่มการรู้ตนเอง บนพื้นฐานหลักศาสนาอิสลามต่อภาวะยึดมั่นต่อการใช้ยาเป็นจิตเภท
วิธีการวิจัย โปรแกรมเพิ่มการรู้ตนเอง บนพื้นฐานหลักอิสลาม (BIEP) เป็นโปรแกรมบำบัดใช้เวลา 5 สัปดาห์ ประกอบด้วย 9 ครั้ง กิจกรรมมีหลายลักษณะ เช่น การอภิปราย การให้ข้อมูล การทำเป็นตัวอย่าง และการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ จุดเน้นของโปรแกรมอยู่ที่การเพิ่มการรู้ตนเอง วิธีการศึกษาครั้งนี้ เป็นการวิจัยกึ่งทดลองเพื่อประเมินผลของโปรแกรมต่อภาวะยึดมั่นในการใช้ยาของผู้ป่วยิตเภทมุสลิม จำนวน 10 คน ได้รับการสุ่มเข้าอยู่ในกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมอย่างละ 5 คน แบบประเมินที่ใช้ คือ แบบประเมินการรู้ตนเองทางความรู้คิดของ เบค การประเมืนการรู้ตนเองทางคลินิกของ เบริทวูด และการประเมืนภาวะยึดมั่นในการใช้ยา
ผลการวิจัย พบว่า เมื่อเปรียบเทียบสองกลุ่ม กลุ่มผู้เข่้าร่วมในโปรแกรม IBIEP มีภาวะยึดมั่นในการใช้ยา (U=1.5, p<0.05) การรู้ตนเองด้านการรู้คิด (U=1.0, p<0.05) และการรู้ตนเองทางคลินิก (U=0.50, p<0.05) ดีกว่า กลุ่มควบคุมที่ได้รับการดูแลปกติ
สรุป การศึกษานำร่องครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า โปรแกรม IBIEP น่าจะสามารถเพิ่มภาวะยึดมั่นในการใช้ยาของผู้ป่วยจิตเภทได้ จึงควรนำไปทดลองในกลุ่มผู้เป็นจิตเภทที่มีจำนวนมากกว่านี้Link for e-copy: www.nur.psu.ac.th/journal/ Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25908 การส่งเสริมความร่วมมือในการรับประทานยาสำหรับผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน / วัชรินทร์ วุฒิรณฤทธิ์ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 ([11/08/2017])
[article]
Title : การส่งเสริมความร่วมมือในการรับประทานยาสำหรับผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน Original title : Promoting medication Adherence in persons with Schizophrenia in community Material Type: printed text Authors: วัชรินทร์ วุฒิรณฤทธิ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.1-12 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.1-12Keywords: การส่งเสริม. ความร่วมมือในการ. รับประทานยา. ผู้ป่วยจิตเภท. ชุมชน.promoting. medication adherence. persons with schizophrenia. community. Abstract: การดูแลเพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยจิตเภท สามารถดำรงชีวิตอยู่ร่วมกับครอบครัวและสามารถใช้ชีวิตอย่างปกติสุขเป็นส่วนหนึ่งของสมาชิกในชุมชนเป็นเป้าหมายสำคัญของการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชชุมชน หากพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชชุมชนให้ความสำคัญกับเรื่องนี้และมีระบบการดูแลเพื่อส่งเสริมความร่วมมือในการรับประทานยาสำหรับผู้ป่วยจิตเภทในชุมชนร่วมกับการดูแลด้านจิตสังคมที่เหมาะสม จะช่วยให้ผู้ป่วยสามารถคงภาวะสุขภาพจิตและอยู่ในชุมชนได้อย่างต่อเนื่องส่งผลให้มีความเชื่อมโยงสัมพันธ์กับสมาชิกอื่นในชุมชน การได้รับโอกาสต่างๆ ในฐานะสมาชิกก็จะเป็นไปได้มากขึ้น ภาพของการประทับตรา (stigma) และการมองด้านลบต่อกันระหว่างผู้ป่วยและสมาชิกในชุมชนย่อมลดลงหรือหมดไป อันจะนำไปสู่การมีคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและความผาสุกของครอบครัวตามไปด้วย.
Caring for promoting persons with schizophrenia to live with their families and happy to stay as a member in communities is one of our community mental health and psychiatric nursing goals. If we concern about this goal and we have good system to promote medication adherence in persons with Schizophrenia in community together with appropriately psychosocial nursing implementations, these nursing actions would help to maintain well-being of the persons with Schizophrenia. There stable mental health would be supported their opportunities in daily living as a member in the community less or without negative stigma. In addition, this good living will let them having quality of life and also their families’ well-being.Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27468 [article] การส่งเสริมความร่วมมือในการรับประทานยาสำหรับผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน = Promoting medication Adherence in persons with Schizophrenia in community [printed text] / วัชรินทร์ วุฒิรณฤทธิ์, Author . - 2017 . - p.1-12.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.1-12Keywords: การส่งเสริม. ความร่วมมือในการ. รับประทานยา. ผู้ป่วยจิตเภท. ชุมชน.promoting. medication adherence. persons with schizophrenia. community. Abstract: การดูแลเพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยจิตเภท สามารถดำรงชีวิตอยู่ร่วมกับครอบครัวและสามารถใช้ชีวิตอย่างปกติสุขเป็นส่วนหนึ่งของสมาชิกในชุมชนเป็นเป้าหมายสำคัญของการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชชุมชน หากพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชชุมชนให้ความสำคัญกับเรื่องนี้และมีระบบการดูแลเพื่อส่งเสริมความร่วมมือในการรับประทานยาสำหรับผู้ป่วยจิตเภทในชุมชนร่วมกับการดูแลด้านจิตสังคมที่เหมาะสม จะช่วยให้ผู้ป่วยสามารถคงภาวะสุขภาพจิตและอยู่ในชุมชนได้อย่างต่อเนื่องส่งผลให้มีความเชื่อมโยงสัมพันธ์กับสมาชิกอื่นในชุมชน การได้รับโอกาสต่างๆ ในฐานะสมาชิกก็จะเป็นไปได้มากขึ้น ภาพของการประทับตรา (stigma) และการมองด้านลบต่อกันระหว่างผู้ป่วยและสมาชิกในชุมชนย่อมลดลงหรือหมดไป อันจะนำไปสู่การมีคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและความผาสุกของครอบครัวตามไปด้วย.
Caring for promoting persons with schizophrenia to live with their families and happy to stay as a member in communities is one of our community mental health and psychiatric nursing goals. If we concern about this goal and we have good system to promote medication adherence in persons with Schizophrenia in community together with appropriately psychosocial nursing implementations, these nursing actions would help to maintain well-being of the persons with Schizophrenia. There stable mental health would be supported their opportunities in daily living as a member in the community less or without negative stigma. In addition, this good living will let them having quality of life and also their families’ well-being.Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27468 ปัจจัยทำนายอาการทางจิตของผู้ป่วยจิตเภท / กชพร รัตนสมพร in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.29 No.3 (Sep-Dec) 2015 ([06/20/2016])
[article]
Title : ปัจจัยทำนายอาการทางจิตของผู้ป่วยจิตเภท Original title : Predicting factors of psychiatric symptoms in persons with schizophrenia Material Type: printed text Authors: กชพร รัตนสมพร, Author ; อรพรรณ ลือบุญธวัชชัย, Author ; รัชนีกร เกิดโชค, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.99-112 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.29 No.3 (Sep-Dec) 2015 [06/20/2016] . - p.99-112Keywords: อาการทางจิต.ผู้ป่วยจิตเภท.ปัจจัยทำนาย. Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25555 [article] ปัจจัยทำนายอาการทางจิตของผู้ป่วยจิตเภท = Predicting factors of psychiatric symptoms in persons with schizophrenia [printed text] / กชพร รัตนสมพร, Author ; อรพรรณ ลือบุญธวัชชัย, Author ; รัชนีกร เกิดโชค, Author . - 2016 . - p.99-112.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ผลของกลุ่มบำบัดทางพฤติกรรมต่อการบริโภคแอลกอฮอล์ ของผู้ป่วยจิตเภทที่ใช้แอลกอฮอล์ / พุฒิชาดา จันทะคุณ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 ([11/08/2017])
[article]
Title : ผลของกลุ่มบำบัดทางพฤติกรรมต่อการบริโภคแอลกอฮอล์ ของผู้ป่วยจิตเภทที่ใช้แอลกอฮอล์ : The effect of group behavioral intervention on alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse HOL ABUSE Material Type: printed text Authors: พุฒิชาดา จันทะคุณ, Author ; เพ็ญพักตร์ อุทิศ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.88-103 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.88-103Keywords: การบริโภคแอลกอฮอล์. การบำบัดทาง. พฤติกรรมผู้ป่วยจิตเภท. ผู้ป่วยจิตเภทที่ใช้แอลกอฮอล์.Alcohol consumption. Behavioral intervention. Schizophrenic Patients.Schizophrenic Patients with alcohol abuse. Abstract: Objectives: The purpose of this quasi –experimental research using the pretest – posttest
randomized control group design were: 1) to compare the alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse before and after received the group behavioral intervention, and 2) to compare the alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse who received the group behavioral intervention and those who received regular caring activities.
Methods: The sample composed of 40 schizophrenic patients with alcohol abuse, residing in community, who sought for services at outpatient department of one psychiatric hospital. They were matched pairs according to alcohol consumption scores and length of diagnosis with schizophrenia and then randomly assigned into either experimental or control group, 20 subjects in each group. The experimental group received the group behavioral intervention program developed by the researcher. The control group received regular caring activities. The research instruments consisted of: 1) the group behavioral intervention program, 2) Demographic questionnaire, 3) the AUDIT scale, and 4) The coping scale. All instruments were validated for content validity by 5 professional experts. The reliability of the 3rd and 4th instruments were reported by Chronbach Alpha as of 0.82 and 0.86 respectively. The t-test was use in data analysis.
Results:
1. The alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse after received the group behavioral intervention was lower than that before (t= 33.818, p < .05).
2. The alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse after received the group behavioral treatment was lower than those who received the regular caring activities
(t =-7.185, p < .05).Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27474 [article] ผลของกลุ่มบำบัดทางพฤติกรรมต่อการบริโภคแอลกอฮอล์ ของผู้ป่วยจิตเภทที่ใช้แอลกอฮอล์ : The effect of group behavioral intervention on alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse HOL ABUSE [printed text] / พุฒิชาดา จันทะคุณ, Author ; เพ็ญพักตร์ อุทิศ, Author . - 2017 . - p.88-103.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.88-103Keywords: การบริโภคแอลกอฮอล์. การบำบัดทาง. พฤติกรรมผู้ป่วยจิตเภท. ผู้ป่วยจิตเภทที่ใช้แอลกอฮอล์.Alcohol consumption. Behavioral intervention. Schizophrenic Patients.Schizophrenic Patients with alcohol abuse. Abstract: Objectives: The purpose of this quasi –experimental research using the pretest – posttest
randomized control group design were: 1) to compare the alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse before and after received the group behavioral intervention, and 2) to compare the alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse who received the group behavioral intervention and those who received regular caring activities.
Methods: The sample composed of 40 schizophrenic patients with alcohol abuse, residing in community, who sought for services at outpatient department of one psychiatric hospital. They were matched pairs according to alcohol consumption scores and length of diagnosis with schizophrenia and then randomly assigned into either experimental or control group, 20 subjects in each group. The experimental group received the group behavioral intervention program developed by the researcher. The control group received regular caring activities. The research instruments consisted of: 1) the group behavioral intervention program, 2) Demographic questionnaire, 3) the AUDIT scale, and 4) The coping scale. All instruments were validated for content validity by 5 professional experts. The reliability of the 3rd and 4th instruments were reported by Chronbach Alpha as of 0.82 and 0.86 respectively. The t-test was use in data analysis.
Results:
1. The alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse after received the group behavioral intervention was lower than that before (t= 33.818, p < .05).
2. The alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse after received the group behavioral treatment was lower than those who received the regular caring activities
(t =-7.185, p < .05).Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27474 ผลของโปรแกรมการบำบัดทางความคิดและพฤติกรรม / ขุมทรัพย์ ก้อนทอง in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 ([10/17/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการบำบัดทางความคิดและพฤติกรรม : ต่ออาการด้านลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน Original title : Cognitive behavior therapy program on the negative symtoms of schizophrenic patients in Material Type: printed text Authors: ขุมทรัพย์ ก้อนทอง, Author ; วีณา จีระแพทย์, Author ; เพ็ญพักตร์ อุทิศ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.36-51 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 [10/17/2017] . - p.36-51Keywords: negative symptoms. cognitive behavioral therapy. Schizophrenic patients in community. อาการทางลบ. บำบัดทางพฤติกรรม. ความคิด. ผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน. Abstract: วัตถุประสงค์: การวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบอาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน ก่อนและหลังได้รับโปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรม ความคิด และอาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน ระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรม ความคิดกับกลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติ
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยจิตเภทอายุ 20-59 ปี ที่เข้ารับการรักษาแบบผู่ป่วยนอกที่สถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์กรมสุขภาพจิตกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 40 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ20 คน โดยจับคู่โดยจับคู่ระยะเวลาการเจ็บป่วยทางจิตและคะแนนอาการทางจิตเหมือนกัน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการบำบัดการบำบัดทางพฤติกรรมความคิด กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ1)โปรแกรมการบำบัดทางความคิดพฤติกรรม 2) แบบประเมินอาการทางลบ และ 3) แบบประเมินความคิดอัตโนมัติด้านลบ ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาค่าความเที่ยงของแบบประเมินอาการทางลบและแบบประเมินความคิดอัตโนมัติด้านลบ เท่ากับ .86 และ .82 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณาและสถิติทดสอบที
ผลการศึกษา: ผลการวิจัยพบ ดังนี้
1. อาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชนหลังได้รับโปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรมความคิด ต่ำกว่าก่อนได้รับโปรแกรม ฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05 )
2. อาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชนกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรมความคิด ต่ำกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05 )
สรุป: โปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรมความคิด มีประสิทธิผลในการลดอาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภท โปรแกรมส่งเสริมทักษะของผู้ป่วยในการบ่งชี้อาการทางลบ ปรับการคิดที่ถูกต้องและนำไปสู่การปรับพฤติกรรมและแสดงออกที่เหมาะสมต่อสถานการณ์
Abstract
Objectives: The purpose of this quasiexperimental pretest-posttest with control group research design was to examine the effect of cognitive behavioral therapy program on negative symptoms of schizophrenic patients in community.
Methods: Subjects were 40 schizophrenic patients, aged 20-59 years, at the out-patient department in a psychiatric hospital, Ministry of Public Health. They were matched pair with illness duration and score of psychiatric symptom and then randomly assigned to the experimental and control groups, 20 in each group. The experimental group received cognitive behavioral therapy. The control group received routine nursing care. Research instruments consisted of the cognitive behavioral therapy program, negative symptoms test and automatic negative thought test. All instruments were tested for content validity. Reliability of the negative symptom test and automatic negative thought test were .82 and .82, respectively. Data were analyzed by descriptive statistics, and t-tests.
Results: Findings were as follows:
1. The negative symptoms of schizophrenic patients in community after receiving the cognitive behavioral therapy program was significantly lower than that before (p < .05).
2. The negative symptoms of schizophrenic patients in community after received cognitive behavioral therapy program was significantly lower than that of those who receiving routine
nursing care (p < .05).
Conclusions: The results suggest that the cognitive behavioral therapy program is effective in reducing negative symptoms of schizophrenic patients. The program promotes patients’ new skill to identify negative thoughts, form adaptive thoughts, and alter maladaptive behavior patterns to adjust to particular situations.
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27369 [article] ผลของโปรแกรมการบำบัดทางความคิดและพฤติกรรม = Cognitive behavior therapy program on the negative symtoms of schizophrenic patients in : ต่ออาการด้านลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน [printed text] / ขุมทรัพย์ ก้อนทอง, Author ; วีณา จีระแพทย์, Author ; เพ็ญพักตร์ อุทิศ, Author . - 2017 . - p.36-51.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 [10/17/2017] . - p.36-51Keywords: negative symptoms. cognitive behavioral therapy. Schizophrenic patients in community. อาการทางลบ. บำบัดทางพฤติกรรม. ความคิด. ผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน. Abstract: วัตถุประสงค์: การวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบอาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน ก่อนและหลังได้รับโปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรม ความคิด และอาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน ระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรม ความคิดกับกลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติ
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยจิตเภทอายุ 20-59 ปี ที่เข้ารับการรักษาแบบผู่ป่วยนอกที่สถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์กรมสุขภาพจิตกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 40 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ20 คน โดยจับคู่โดยจับคู่ระยะเวลาการเจ็บป่วยทางจิตและคะแนนอาการทางจิตเหมือนกัน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการบำบัดการบำบัดทางพฤติกรรมความคิด กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ1)โปรแกรมการบำบัดทางความคิดพฤติกรรม 2) แบบประเมินอาการทางลบ และ 3) แบบประเมินความคิดอัตโนมัติด้านลบ ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาค่าความเที่ยงของแบบประเมินอาการทางลบและแบบประเมินความคิดอัตโนมัติด้านลบ เท่ากับ .86 และ .82 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณาและสถิติทดสอบที
ผลการศึกษา: ผลการวิจัยพบ ดังนี้
1. อาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชนหลังได้รับโปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรมความคิด ต่ำกว่าก่อนได้รับโปรแกรม ฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05 )
2. อาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชนกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรมความคิด ต่ำกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05 )
สรุป: โปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรมความคิด มีประสิทธิผลในการลดอาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภท โปรแกรมส่งเสริมทักษะของผู้ป่วยในการบ่งชี้อาการทางลบ ปรับการคิดที่ถูกต้องและนำไปสู่การปรับพฤติกรรมและแสดงออกที่เหมาะสมต่อสถานการณ์
Abstract
Objectives: The purpose of this quasiexperimental pretest-posttest with control group research design was to examine the effect of cognitive behavioral therapy program on negative symptoms of schizophrenic patients in community.
Methods: Subjects were 40 schizophrenic patients, aged 20-59 years, at the out-patient department in a psychiatric hospital, Ministry of Public Health. They were matched pair with illness duration and score of psychiatric symptom and then randomly assigned to the experimental and control groups, 20 in each group. The experimental group received cognitive behavioral therapy. The control group received routine nursing care. Research instruments consisted of the cognitive behavioral therapy program, negative symptoms test and automatic negative thought test. All instruments were tested for content validity. Reliability of the negative symptom test and automatic negative thought test were .82 and .82, respectively. Data were analyzed by descriptive statistics, and t-tests.
Results: Findings were as follows:
1. The negative symptoms of schizophrenic patients in community after receiving the cognitive behavioral therapy program was significantly lower than that before (p < .05).
2. The negative symptoms of schizophrenic patients in community after received cognitive behavioral therapy program was significantly lower than that of those who receiving routine
nursing care (p < .05).
Conclusions: The results suggest that the cognitive behavioral therapy program is effective in reducing negative symptoms of schizophrenic patients. The program promotes patients’ new skill to identify negative thoughts, form adaptive thoughts, and alter maladaptive behavior patterns to adjust to particular situations.
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27369 ผลของโปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพต่อพฤติกรรม ความร่วมมือในการรักษาด้วยยาของผู้ป่วยจิตเภท / ชุติมา ทองอยู่ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 ([11/08/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพต่อพฤติกรรม ความร่วมมือในการรักษาด้วยยาของผู้ป่วยจิตเภท Original title : The effect of health belief enhancement program on medication compliance behavior of schizophrenic patients Material Type: printed text Authors: ชุติมา ทองอยู่, Author ; เพ็ญนภา แดงด้อมยุทธ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.75-87 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.75-87Keywords: โปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพ. พฤติกรรมความร่วมมือในการรักษาด้วยยา. ผู้ป่วยจิตเภท.Health Belief Enhancement Program. Medication Compliance Behavior. Schizophrenic Patients. Abstract: วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมความร่วมมือในการรักษาด้วยยาของผู้ป่วยจิตเภท
วิธีการวิจัย: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยจิตเภทที่มีพฤติกรรมความร่วมมือในการรักษาด้วยยาระดับต่ำถึงปานกลางและเข้ารับการรักษาแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลจิตเวช จำนวน 36 คน ได้รับการจับคู่ โดยใช้ระดับคะแนนอาการทางจิตและเพศ สุ่มเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 18 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพ ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) โปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพ และ 2) แบบประเมินพฤติกรรมความร่วมมือในการรักษาด้วยยา เครื่องมือทุกชุดผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 คน เครื่องมือชุดที่ 2 มีค่าความเที่ยงของครอนบาคอัลฟา เท่ากับ .80 วิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละและสถิติทดสอบที
ผลการวิจัย: 1) พฤติกรรมความร่วมมือในการรักษาด้วยยาของผู้ป่วยจิตเภทภายหลังได้รับโปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมส่งเสริมเชื่อด้านสุขภาพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) พฤติกรรมความร่วมมือในการรักษาด้วยยาของผู้ป่วยจิตเภทกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
สรุป: โปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพช่วยให้ผู้ป่วยได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจอย่างถูกต้องด้วยตัวผู้ป่วยเองและความเชื่อที่เป็นสิ่งจูงใจอย่างหนึ่งที่ก่อให้เกิดการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพที่ดีช่วยพัฒนาสู่ความร่วมมือในการรักษาด้วยยาได้Objective: To examine the effect of Health Belief Enhancement Program on medication compliance behavior of schizophrenic patients.
Methods: This study was a quasiexperimental research. The sample composed of 36 schizophrenic patients who had lower to moderate score of medication compliance behavior and followed up in outpatient department at Psychiatric Hospital. They were matched pair by score of Brief Psychiatric Rating Scale and gender then randomly assigned to experimental groups and control groups with 18 subjects in each group. The experimental group received Health Belief Enhancement Program. The control group received regular nursing care activities. The research instruments were:1) Health Belief Enhancement Program, and 2) the Compliance Behavior Assessment Scale. All instruments were examined for content validity by 5 professional experts. The 2nd instrument had Chronbach’s Alpha coefficient reliability of .80. Data were analyzed using descriptive statistics and t-test.
Results: 1) The medication compliance behavior of schizophrenic patients after received Health Belief Enhancement Program was significantly higher than before at .05 level.
2) The medication compliance behavior of schizophrenic patients who received Health Belief Enhancement Program was significantly higher than those who received regular nursing care activities at .05 level.
Conclusion: Health Belief Enhancement Program can help patients make informed decisions about their own health which beliefs as a stimulus for good health behaviors and develop to medication compliance behavior.
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27473 [article] ผลของโปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพต่อพฤติกรรม ความร่วมมือในการรักษาด้วยยาของผู้ป่วยจิตเภท = The effect of health belief enhancement program on medication compliance behavior of schizophrenic patients [printed text] / ชุติมา ทองอยู่, Author ; เพ็ญนภา แดงด้อมยุทธ์, Author . - 2017 . - p.75-87.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.75-87Keywords: โปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพ. พฤติกรรมความร่วมมือในการรักษาด้วยยา. ผู้ป่วยจิตเภท.Health Belief Enhancement Program. Medication Compliance Behavior. Schizophrenic Patients. Abstract: วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมความร่วมมือในการรักษาด้วยยาของผู้ป่วยจิตเภท
วิธีการวิจัย: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยจิตเภทที่มีพฤติกรรมความร่วมมือในการรักษาด้วยยาระดับต่ำถึงปานกลางและเข้ารับการรักษาแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลจิตเวช จำนวน 36 คน ได้รับการจับคู่ โดยใช้ระดับคะแนนอาการทางจิตและเพศ สุ่มเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 18 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพ ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) โปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพ และ 2) แบบประเมินพฤติกรรมความร่วมมือในการรักษาด้วยยา เครื่องมือทุกชุดผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 คน เครื่องมือชุดที่ 2 มีค่าความเที่ยงของครอนบาคอัลฟา เท่ากับ .80 วิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละและสถิติทดสอบที
ผลการวิจัย: 1) พฤติกรรมความร่วมมือในการรักษาด้วยยาของผู้ป่วยจิตเภทภายหลังได้รับโปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมส่งเสริมเชื่อด้านสุขภาพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) พฤติกรรมความร่วมมือในการรักษาด้วยยาของผู้ป่วยจิตเภทกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
สรุป: โปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพช่วยให้ผู้ป่วยได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจอย่างถูกต้องด้วยตัวผู้ป่วยเองและความเชื่อที่เป็นสิ่งจูงใจอย่างหนึ่งที่ก่อให้เกิดการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพที่ดีช่วยพัฒนาสู่ความร่วมมือในการรักษาด้วยยาได้Objective: To examine the effect of Health Belief Enhancement Program on medication compliance behavior of schizophrenic patients.
Methods: This study was a quasiexperimental research. The sample composed of 36 schizophrenic patients who had lower to moderate score of medication compliance behavior and followed up in outpatient department at Psychiatric Hospital. They were matched pair by score of Brief Psychiatric Rating Scale and gender then randomly assigned to experimental groups and control groups with 18 subjects in each group. The experimental group received Health Belief Enhancement Program. The control group received regular nursing care activities. The research instruments were:1) Health Belief Enhancement Program, and 2) the Compliance Behavior Assessment Scale. All instruments were examined for content validity by 5 professional experts. The 2nd instrument had Chronbach’s Alpha coefficient reliability of .80. Data were analyzed using descriptive statistics and t-test.
Results: 1) The medication compliance behavior of schizophrenic patients after received Health Belief Enhancement Program was significantly higher than before at .05 level.
2) The medication compliance behavior of schizophrenic patients who received Health Belief Enhancement Program was significantly higher than those who received regular nursing care activities at .05 level.
Conclusion: Health Belief Enhancement Program can help patients make informed decisions about their own health which beliefs as a stimulus for good health behaviors and develop to medication compliance behavior.
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27473