From this page you can:
Home |
Search results
2 result(s) search for keyword(s) 'การตรวจเต้านมด้วยตัวเอง.โปรแกรมการสนับสนุน.การให้ความรู้ต่อความรู้.พฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเอง.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ผลของโปรแกรมการสนับสนุนและให้ความรู้ต่อความรู้ และพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเอง / กันยา นันต๊ะแก้ว in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.2 (Apr-Jun) 2016/59 ([05/21/2016])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการสนับสนุนและให้ความรู้ต่อความรู้ และพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเอง : ในนิสิตพยาบาล มหาวิทยาลัยพะเยา Material Type: printed text Authors: กันยา นันต๊ะแก้ว, Author ; แววดาว คำเขียว, Author ; ประกายดาว สุทธิ, Author ; อุไรวรรณ สาสิงห์, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.81-95 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.2 (Apr-Jun) 2016/59 [05/21/2016] . - p.81-95Keywords: การตรวจเต้านมด้วยตัวเอง.โปรแกรมการสนับสนุน.การให้ความรู้ต่อความรู้.พฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเอง. Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25640 [article] ผลของโปรแกรมการสนับสนุนและให้ความรู้ต่อความรู้ และพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเอง : ในนิสิตพยาบาล มหาวิทยาลัยพะเยา [printed text] / กันยา นันต๊ะแก้ว, Author ; แววดาว คำเขียว, Author ; ประกายดาว สุทธิ, Author ; อุไรวรรณ สาสิงห์, Author . - 2016 . - p.81-95.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ผลของโปรแกรมการสนับสนุนครอบครัวต่อการปรับตัวของญาติผู้ดูแลผู้ป่วย in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 ([09/21/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการสนับสนุนครอบครัวต่อการปรับตัวของญาติผู้ดูแลผู้ป่วย : หลังผ่าตัดสมองในหอผู้ป่วยวิกฤต Original title : The Effect of Family Support Program on Coping among Caregivers of Post-operative Neurosurgical Patients in ICU Material Type: printed text Publication Date: 2017 Article on page: p.49-64 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.49-64Keywords: การปรับตัว. โปรแกรมการสนับสนุนครอบครัว. ผู้ป่วยหลังผ่าตัดสมอง. ญาติผู้ดูแลหอผู้ป่วยวิกฤตประสาทศัลยศาสตร์. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อเปรียบเทียบการปรับตัวของญาติผู้ดูแลกลุ่มที่ได้รับ
โปรแกรมการสนับสนุนครอบครัว กับ กลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ ตั้งแต่ผู้ป่วยเข้ารับ
การรักษาในหอผู้ป่วยวิกฤตจนครบ 3 วัน
การออกแบบการวิจัย: วิธีวิจัยแบบกึ่งทดลอง (Quasi-experimental research)
การดำาเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นญาติผู้ดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัดสมอง จำนวน 60 ราย
แบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 2 กลุ่มๆ ละ 30 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยโปรแกรม
การสนับสนุนครอบครัวสำาหรับญาติผู้ดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัดสมอง และแบบสอบถามการปรับตัว
ฉบับย่อ (Brief COPE) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ Wilcoxon signed-rank test และ MannWhitney U Test
ผลการวิจัย: ภายหลังญาติผู้ดูแลกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการสนับสนุนครอบครัว
มีการปรับตัวดีขึ้นกว่าก่อนได้รับโปรแกรม (p < 0.05) และดีกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ
ทางสถิติ (p < 0.05) กล่าวคือ ผลของโปรแกรม ส่งผลให้ญาติผู้ดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัดสมอง
สามารถใช้วิธีการปรับตัวเพื่อเผชิญกับสถานการณ์ความเจ็บป่วยของผู้ป่วยได้อย่างมีนัยสำคัญ
ข้อเสนอแนะ: พยาบาลควรนำาโปรแกรมการสนับสนุนครอบครัวไปใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ
การพยาบาลตั้งแต่ผู้ป่วยเข้ารับการรักษาเพื่อช่วยให้ญาติผู้ดูแลมีการปรับตัวเพื่อเผชิญกับ
สถานการณ์ที่พบขณะอยู่ในหอผู้ป่วยวิกฤตLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27356 [article] ผลของโปรแกรมการสนับสนุนครอบครัวต่อการปรับตัวของญาติผู้ดูแลผู้ป่วย = The Effect of Family Support Program on Coping among Caregivers of Post-operative Neurosurgical Patients in ICU : หลังผ่าตัดสมองในหอผู้ป่วยวิกฤต [printed text] . - 2017 . - p.49-64.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.49-64Keywords: การปรับตัว. โปรแกรมการสนับสนุนครอบครัว. ผู้ป่วยหลังผ่าตัดสมอง. ญาติผู้ดูแลหอผู้ป่วยวิกฤตประสาทศัลยศาสตร์. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อเปรียบเทียบการปรับตัวของญาติผู้ดูแลกลุ่มที่ได้รับ
โปรแกรมการสนับสนุนครอบครัว กับ กลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ ตั้งแต่ผู้ป่วยเข้ารับ
การรักษาในหอผู้ป่วยวิกฤตจนครบ 3 วัน
การออกแบบการวิจัย: วิธีวิจัยแบบกึ่งทดลอง (Quasi-experimental research)
การดำาเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นญาติผู้ดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัดสมอง จำนวน 60 ราย
แบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 2 กลุ่มๆ ละ 30 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยโปรแกรม
การสนับสนุนครอบครัวสำาหรับญาติผู้ดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัดสมอง และแบบสอบถามการปรับตัว
ฉบับย่อ (Brief COPE) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ Wilcoxon signed-rank test และ MannWhitney U Test
ผลการวิจัย: ภายหลังญาติผู้ดูแลกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการสนับสนุนครอบครัว
มีการปรับตัวดีขึ้นกว่าก่อนได้รับโปรแกรม (p < 0.05) และดีกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ
ทางสถิติ (p < 0.05) กล่าวคือ ผลของโปรแกรม ส่งผลให้ญาติผู้ดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัดสมอง
สามารถใช้วิธีการปรับตัวเพื่อเผชิญกับสถานการณ์ความเจ็บป่วยของผู้ป่วยได้อย่างมีนัยสำคัญ
ข้อเสนอแนะ: พยาบาลควรนำาโปรแกรมการสนับสนุนครอบครัวไปใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ
การพยาบาลตั้งแต่ผู้ป่วยเข้ารับการรักษาเพื่อช่วยให้ญาติผู้ดูแลมีการปรับตัวเพื่อเผชิญกับ
สถานการณ์ที่พบขณะอยู่ในหอผู้ป่วยวิกฤตLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27356