From this page you can:
Home |
Search results
2 result(s) search for keyword(s) 'การจัดการความปวด.การประเมินความปวด.ผ่าตัดหัวใจแบบเปิด.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
การจัดการความปวดในผู้ป่วยภายหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิด / กนกวรรณ สว่างศรี in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.28 No.1 (ม.ค-มิ.ย) 2017 ([11/16/2017])
[article]
Title : การจัดการความปวดในผู้ป่วยภายหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิด Original title : Pain management in patients undergoing open heart surgery Material Type: printed text Authors: กนกวรรณ สว่างศรี, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.2-15 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.28 No.1 (ม.ค-มิ.ย) 2017 [11/16/2017] . - p.2-15Keywords: การจัดการความปวด.การประเมินความปวด.ผ่าตัดหัวใจแบบเปิด. Abstract: การผ่าตัดหัวใจแบบเปิด เป็นการผ่าตัดที่มีการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อมาก ร่วมกับภายหลังผ่าตัด ผู้ป่วยต้องคาท่อช่วยหายใจ สายระบายทรวงอก และสายสวนต่างๆ ซึ่งล้วนก่อให้เกิดความปวดมากขึ้น การจัดการความปวดควรครอบคลุมระยะก่อน ระหว่าง และหลังผ่าตัด ภายหลังการผ่าตัดหัวใจแบบเปิดในระยะวิกฤต ผู้ป่วยส่วนใหญ่มีข้อจำกัดในการสื่อสารจากการคาท่อช่วยหายใจและการได้รับยาระงับประสาท จึงมีความเสี่ยงที่อาจจะไม่ได้รับการจัดการความปวดที่เพียงพอ การประเมินความปวดเป็นจุดเริ่มต้นของการจัดการความปวด เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินความปวด ได้แก่ เครื่องมือที่ใช้ประเมินความปวดในผู้ป่วยที่สื่อสารได้ดี และเครื่องมือที่ใช้ประเมินความปวดในผู้ป่วยที่สื่อสารได้จำกัด พยาบาลผู้ดูแลในหน่วยวิกฤตจึงควรเลือกใช้เครื่องมือในการประเมินความปวดที่เหมาะสมกับสภาพของผู้ป่วยแต่ละราย เพื่อนำไปสู่การจัดการความปวดด้วยวิธีการใช้ยาและไม่ใช้ยาอย่างเหมาะสม และเกิดผลลัพธ์ของการจัดการความปวดที่มีประสิทธิภาพ Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27484 [article] การจัดการความปวดในผู้ป่วยภายหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิด = Pain management in patients undergoing open heart surgery [printed text] / กนกวรรณ สว่างศรี, Author . - 2017 . - p.2-15.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.28 No.1 (ม.ค-มิ.ย) 2017 [11/16/2017] . - p.2-15Keywords: การจัดการความปวด.การประเมินความปวด.ผ่าตัดหัวใจแบบเปิด. Abstract: การผ่าตัดหัวใจแบบเปิด เป็นการผ่าตัดที่มีการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อมาก ร่วมกับภายหลังผ่าตัด ผู้ป่วยต้องคาท่อช่วยหายใจ สายระบายทรวงอก และสายสวนต่างๆ ซึ่งล้วนก่อให้เกิดความปวดมากขึ้น การจัดการความปวดควรครอบคลุมระยะก่อน ระหว่าง และหลังผ่าตัด ภายหลังการผ่าตัดหัวใจแบบเปิดในระยะวิกฤต ผู้ป่วยส่วนใหญ่มีข้อจำกัดในการสื่อสารจากการคาท่อช่วยหายใจและการได้รับยาระงับประสาท จึงมีความเสี่ยงที่อาจจะไม่ได้รับการจัดการความปวดที่เพียงพอ การประเมินความปวดเป็นจุดเริ่มต้นของการจัดการความปวด เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินความปวด ได้แก่ เครื่องมือที่ใช้ประเมินความปวดในผู้ป่วยที่สื่อสารได้ดี และเครื่องมือที่ใช้ประเมินความปวดในผู้ป่วยที่สื่อสารได้จำกัด พยาบาลผู้ดูแลในหน่วยวิกฤตจึงควรเลือกใช้เครื่องมือในการประเมินความปวดที่เหมาะสมกับสภาพของผู้ป่วยแต่ละราย เพื่อนำไปสู่การจัดการความปวดด้วยวิธีการใช้ยาและไม่ใช้ยาอย่างเหมาะสม และเกิดผลลัพธ์ของการจัดการความปวดที่มีประสิทธิภาพ Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27484 ประสิทธิผลของการนำใช้แนวปฏิบัติในการจัดการความปวดแผลอุบัติเหตุ / บุญญาภัทร ชาติพัฒนานานันท์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : ประสิทธิผลของการนำใช้แนวปฏิบัติในการจัดการความปวดแผลอุบัติเหตุ : ณ แผนกอุบัคิเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลทั่วไปขนาดเล็ก Original title : Effectiveness of implementing the cilinical practice guidelines for traumatic wound pain management at emergency department in middle-level hospital Material Type: printed text Authors: บุญญาภัทร ชาติพัฒนานานันท์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.101-109 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.101-109Keywords: การจัดการความปวด. ปวดแผลอุบัติเหตุ. เคลฟเวอร์โมเดล. แผนกอุบัติเหตุและฉุกเฉิน. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง วัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1. ประสิทธิผลการนำใช้แนวปฏิบัติในการจัดการความเจ็บปวดบาดแผลอุบัติเหตุ แผนกอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลทั่วไปขนาดเล็ก เดือนสิงหาคม - ธันวาคม 2559 กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยที่มีแผลอุบัติเหตุ จำวน 80 ราย คัดเลือกตามเกณฑ์และสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบง่าย แบ่งเป็นกลุ่มละ 40 ราย กลุ่มควบคุม คือ ผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาก่อนนำใช้แนวปฎิบัติฯ และกลุ่มทดลอง คือ ผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในช่วงสัปดาห์ที่ 9 หลังนำใช้แนวปฏิบัติ
เครืื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แนวปฏิบัติในการจัดการความปวดบาดแผลอุบัติเหตุ แบบประเมินคุณภาพของแนวปฏิบัติทางคลินิก และแบบประเมินประสิทธิผลการนำใช้แนวปฑิบัติ เครื่องมือทุกชุดผ่านการตรวจสอบความตรงด้านเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 คน และนำเครื่องมือชุดที่ 3 หาความเที่ยงตรงโดยสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาคได้เท่ากับ .080 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาลและสถิติอ้างอิง
ผลการศึกษา พบว่า ความพึงพอใจโดยรวมของผู้ป่วยกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p=.000 และระยะเวลารอการได้รับยาแก้ปวดของกลุ่มทดลองต่ำกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p=.006 แสดงให้เห็นว่าแนวปฏิบัติในการในการจัดการความเจ็บปวดจากแผลอุบัติเหตุ งานอุบัติเหตุฉุกเฉิน สามารถนำใช้ในโรงพยาบาลทั่วไปขนาดเล็กได้อย่างมีประสิทธิผล จึงมีข้อเสนอแนะให้มีการนำใช้แนวปฏิบัติ ดังกล่าวในโรงพยาบาลระดับอื่น โดยปรับเปลี่ยนข้อเสนอแนะของแนวปฏิบัติ ให้มีความสอดคล้องกับวัฒนธรรมและบริบทของหน่วยงานLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27231 [article] ประสิทธิผลของการนำใช้แนวปฏิบัติในการจัดการความปวดแผลอุบัติเหตุ = Effectiveness of implementing the cilinical practice guidelines for traumatic wound pain management at emergency department in middle-level hospital : ณ แผนกอุบัคิเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลทั่วไปขนาดเล็ก [printed text] / บุญญาภัทร ชาติพัฒนานานันท์, Author . - 2017 . - p.101-109.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.101-109Keywords: การจัดการความปวด. ปวดแผลอุบัติเหตุ. เคลฟเวอร์โมเดล. แผนกอุบัติเหตุและฉุกเฉิน. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง วัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1. ประสิทธิผลการนำใช้แนวปฏิบัติในการจัดการความเจ็บปวดบาดแผลอุบัติเหตุ แผนกอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลทั่วไปขนาดเล็ก เดือนสิงหาคม - ธันวาคม 2559 กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยที่มีแผลอุบัติเหตุ จำวน 80 ราย คัดเลือกตามเกณฑ์และสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบง่าย แบ่งเป็นกลุ่มละ 40 ราย กลุ่มควบคุม คือ ผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาก่อนนำใช้แนวปฎิบัติฯ และกลุ่มทดลอง คือ ผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในช่วงสัปดาห์ที่ 9 หลังนำใช้แนวปฏิบัติ
เครืื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แนวปฏิบัติในการจัดการความปวดบาดแผลอุบัติเหตุ แบบประเมินคุณภาพของแนวปฏิบัติทางคลินิก และแบบประเมินประสิทธิผลการนำใช้แนวปฑิบัติ เครื่องมือทุกชุดผ่านการตรวจสอบความตรงด้านเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 คน และนำเครื่องมือชุดที่ 3 หาความเที่ยงตรงโดยสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาคได้เท่ากับ .080 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาลและสถิติอ้างอิง
ผลการศึกษา พบว่า ความพึงพอใจโดยรวมของผู้ป่วยกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p=.000 และระยะเวลารอการได้รับยาแก้ปวดของกลุ่มทดลองต่ำกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p=.006 แสดงให้เห็นว่าแนวปฏิบัติในการในการจัดการความเจ็บปวดจากแผลอุบัติเหตุ งานอุบัติเหตุฉุกเฉิน สามารถนำใช้ในโรงพยาบาลทั่วไปขนาดเล็กได้อย่างมีประสิทธิผล จึงมีข้อเสนอแนะให้มีการนำใช้แนวปฏิบัติ ดังกล่าวในโรงพยาบาลระดับอื่น โดยปรับเปลี่ยนข้อเสนอแนะของแนวปฏิบัติ ให้มีความสอดคล้องกับวัฒนธรรมและบริบทของหน่วยงานLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27231