From this page you can:
Home |
Publisher details
Publisher
located at
Available items(s) from this publisher
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพของการเปลี่ยนผ่านทางสุขภาพของมารดาที่คลอดก่อนกำหนด / มายูร เรืองสุข, / คณะพยาบาลศ่าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2547
Title : ปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพของการเปลี่ยนผ่านทางสุขภาพของมารดาที่คลอดก่อนกำหนด Original title : Selected factors related to quality of health transition in premature delivery mothers Material Type: printed text Authors: มายูร เรืองสุข, (2513-), Author Publisher: คณะพยาบาลศ่าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2547 Pagination: ก-ญ, 150 แผ่น Layout: ตาราง, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-176-248-8 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [พยาบาลศาสตร์]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2547 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ทารกคลอดก่อนกำหนด
[LCSH]มารดาและทารกKeywords: คลอดก่อนกำหนด.
มารดา.
ทารก.Class number: RG951 ม626 2547 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพของการเปลี่ยนผ่านทางสุขภาพ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาระในการดูแลบุตรเชิงจิตวิสัย ความรู้ในการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนด ทักษะในการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนด การสนับสนุนทางสังคม การวางแผนเกี่ยวกับการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนดและภาวะเครียดทางอารมณ์และร่างกาย กับคุณภาพของการเปลี่ยนผ่านทางสุขภาพของมารดาที่คลอดก่อนกำหนด และศึกษากลุ่มตัวแปรที่สามารถร่วมกันพยากรณ์คุณภาพของการเปลี่ยนผ่านสุขภาพ กลุ่มตัวอย่างคือมารดาที่คลอดก่อนกำหนด ได้จากการสุ่มอย่างง่าย จำนวน 120 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามภาระในการดูแลบุตรเชิงจิตวิสัย แบบสอบถามความรู้ในการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนด แบบสอบถามทักษะในการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนด แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคม แบบสอบถามการวางแผนเกี่ยวกับการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนด และแบบสอบถามคุณภาพของการเปลี่ยนผ่านทางสุขภาพของมารดาที่คลอดก่อนกำหนด ได้รับการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และวิเคราะห์ความเที่ยงของแบบสอบถามโดยหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาค มีค่าความเที่ยงระหว่าง .70 ถึง .89 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า 1. ค่าเฉลี่ยคะแนนคุณภาพของการเปลี่ยนผ่านทางสุขภาพของมารดาที่คลอดก่อนกำหนด อยู่ในระดับสูง ([Mean] = 71.10, S.D. = 9.87) 2. การสนับสนุนทางสังคม การวางแผนเกี่ยวกับการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนด ทักษะในการดูแลทารกก่อนกำหนด ความรู้ในการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนด มีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพของการเปลี่ยนผ่านทางสุขภาพของมารดาที่คลอดก่อนกำหนด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .624, .590, .505, .217, p < .05 ตามลำดับ) ภาระในการดูแลบุตรเชิงงจิตวิสัย ภาวะเครียดทางอารมณ์และร่างกาย มีความสัมพันธ์ทางลบกับคุณภาพของการเปลี่ยนผ่านทางสุขภาพของมารดาที่คลอดก่อนกำหนด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = -.483 และ -.239, p < .05ตามลำดับ) 3. กลุ่มตัวแปรที่สามารถร่วมกันพยากรณ์คุณภาพของการเปลี่ยนผ่านทางสุขภาพของมารดาที่คลอดก่อนกำหนด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ การสนับสนุนทางสังคม การวางแผนเกี่ยวกับการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนด และภาระในการดูแลบุตรเชิงจิตวิสัย โดยสามารถพยากรณ์ได้ร้อยละ 57.8 (R[superscript 2] = .578, F = 25.79, P < .05) โดยมีสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน ดังนี้ Zคุณภาพของการเปลี่ยนผ่านทางสุขภาพ = .339 (การสนับสนุนทางสังคม) + .264 (การวางแผนเกี่ยวกับการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนด) - .258 (ภาระในการดูแลบุตรเชิงจิตวิสัย) + .119 (ทักษะในการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนด) - .056 (ความรู้ในการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนด) - .056 (ภาวะเครียดทางอารมณ์และร่างกาย) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23135 ปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพของการเปลี่ยนผ่านทางสุขภาพของมารดาที่คลอดก่อนกำหนด = Selected factors related to quality of health transition in premature delivery mothers [printed text] / มายูร เรืองสุข, (2513-), Author . - [S.l.] : คณะพยาบาลศ่าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 . - ก-ญ, 150 แผ่น : ตาราง, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-176-248-8 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [พยาบาลศาสตร์]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2547
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ทารกคลอดก่อนกำหนด
[LCSH]มารดาและทารกKeywords: คลอดก่อนกำหนด.
มารดา.
ทารก.Class number: RG951 ม626 2547 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพของการเปลี่ยนผ่านทางสุขภาพ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาระในการดูแลบุตรเชิงจิตวิสัย ความรู้ในการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนด ทักษะในการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนด การสนับสนุนทางสังคม การวางแผนเกี่ยวกับการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนดและภาวะเครียดทางอารมณ์และร่างกาย กับคุณภาพของการเปลี่ยนผ่านทางสุขภาพของมารดาที่คลอดก่อนกำหนด และศึกษากลุ่มตัวแปรที่สามารถร่วมกันพยากรณ์คุณภาพของการเปลี่ยนผ่านสุขภาพ กลุ่มตัวอย่างคือมารดาที่คลอดก่อนกำหนด ได้จากการสุ่มอย่างง่าย จำนวน 120 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามภาระในการดูแลบุตรเชิงจิตวิสัย แบบสอบถามความรู้ในการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนด แบบสอบถามทักษะในการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนด แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคม แบบสอบถามการวางแผนเกี่ยวกับการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนด และแบบสอบถามคุณภาพของการเปลี่ยนผ่านทางสุขภาพของมารดาที่คลอดก่อนกำหนด ได้รับการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และวิเคราะห์ความเที่ยงของแบบสอบถามโดยหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาค มีค่าความเที่ยงระหว่าง .70 ถึง .89 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า 1. ค่าเฉลี่ยคะแนนคุณภาพของการเปลี่ยนผ่านทางสุขภาพของมารดาที่คลอดก่อนกำหนด อยู่ในระดับสูง ([Mean] = 71.10, S.D. = 9.87) 2. การสนับสนุนทางสังคม การวางแผนเกี่ยวกับการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนด ทักษะในการดูแลทารกก่อนกำหนด ความรู้ในการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนด มีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพของการเปลี่ยนผ่านทางสุขภาพของมารดาที่คลอดก่อนกำหนด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .624, .590, .505, .217, p < .05 ตามลำดับ) ภาระในการดูแลบุตรเชิงงจิตวิสัย ภาวะเครียดทางอารมณ์และร่างกาย มีความสัมพันธ์ทางลบกับคุณภาพของการเปลี่ยนผ่านทางสุขภาพของมารดาที่คลอดก่อนกำหนด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = -.483 และ -.239, p < .05ตามลำดับ) 3. กลุ่มตัวแปรที่สามารถร่วมกันพยากรณ์คุณภาพของการเปลี่ยนผ่านทางสุขภาพของมารดาที่คลอดก่อนกำหนด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ การสนับสนุนทางสังคม การวางแผนเกี่ยวกับการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนด และภาระในการดูแลบุตรเชิงจิตวิสัย โดยสามารถพยากรณ์ได้ร้อยละ 57.8 (R[superscript 2] = .578, F = 25.79, P < .05) โดยมีสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน ดังนี้ Zคุณภาพของการเปลี่ยนผ่านทางสุขภาพ = .339 (การสนับสนุนทางสังคม) + .264 (การวางแผนเกี่ยวกับการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนด) - .258 (ภาระในการดูแลบุตรเชิงจิตวิสัย) + .119 (ทักษะในการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนด) - .056 (ความรู้ในการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนด) - .056 (ภาวะเครียดทางอารมณ์และร่างกาย) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23135 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354629 RG951 ม626 2547 Thesis Main Library Thesis Corner Available การศึกษาสมรรถนะพยาบาลเคมีบำบัด โรงพยาบาลสังกัดรัฐ / นุจรี สันติสำราญวิไล / คณะพยาบาลศ่าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2551
Title : การศึกษาสมรรถนะพยาบาลเคมีบำบัด โรงพยาบาลสังกัดรัฐ Original title : A study of competency of chemotherapy nurses, goverment hospital Material Type: printed text Authors: นุจรี สันติสำราญวิไล, Author Publisher: คณะพยาบาลศ่าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2551 Pagination: ก-ญ, 217 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2551 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาล
[LCSH]เคมีบำบัดKeywords: พยาบาล.
เคมีบำบัด.
สมรรถนะ.Class number: WY141 น542 2551 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะพยาบาลเคมีบำบัด โรงพยาบาลสังกัดรัฐ โดยประยุกต์ใช้เทคนิค EDFR กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ให้ข้อมูลหลักจำนวน 26 คน คัดเลือกตามคุณสมบัติที่กำหนดไว้ โดยเป็นผู้ให้ข้อมูลหลักที่มีความรู้และประสบการณ์ตรงกับปัญหาการวิจัย และยินดีร่วมมือในการวิจัย ประกอบด้วย ผู้ให้ข้อมูลหลักกลุ่มสาขาด้านการแพทย์เฉพาะทางโรคมะเร็ง กลุ่มนักวิชาการ กลุ่มพยาบาลผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านการดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง กลุ่มผู้บริหารทางการพยาบาลหน่วยบริการเคมีบำบัด และกลุ่มพยาบาลผู้ปฏิบัติการให้ยาเคมีบำบัด เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ปลายเปิดในรอบที่ 1 ส่วนรอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า ใช้ระยะเวลาเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งสิ้น 50 วัน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัธยฐานและค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ ผลการวิจัยพบว่า สมรรถนะพยาบาลเคมีบำบัด โรงพยาบาลสังกัดรัฐ ที่ผู้ให้ข้อมูลหลักมีความคิดเห็นสอดคล้องกัน ประกอบด้วยสมรรถนะย่อย 90 ข้อ เป็นสมรรถนะย่อยที่มีระดับความสำคัญมากที่สุด 58 ข้อ และระดับความสำคัญมาก 32 ข้อ จำแนกเป็น 7 สมรรถนะหลัก แต่ละสมรรถนะหลักประกอบด้วยสมรรถนะย่อยดังนี้ 1. สมรรถนะด้านความรู้เกี่ยวกับยาเคมีบำบัดและการบริหารยา ประกอบด้วย 19 ข้อ 2. สมรรถนะด้านการจัดการความเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อน ประกอบด้วย 8 ข้อ 3. สมรรถนะด้านการเตรียมความพร้อมผู้ป่วยก่อนระหว่างและหลังได้รับยาเคมีบำบัด ประกอบด้วย12 ข้อ 4. สมรรถนะด้านความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโรคและผลกระทบ ประกอบด้วย 6 ข้อ 5. สมรรถนะด้านการสื่อสาร การสอนและการให้ข้อมูลประกอบด้วย 22 ข้อ 6. สมรรถนะด้านจริยธรรมและการพิทักษ์สิทธิ ประกอบด้วย 12 ข้อ 7. สมรรถนะด้านการพัฒนาความรู้ และการวิจัย ประกอบด้วย 11 ข้อ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23177 การศึกษาสมรรถนะพยาบาลเคมีบำบัด โรงพยาบาลสังกัดรัฐ = A study of competency of chemotherapy nurses, goverment hospital [printed text] / นุจรี สันติสำราญวิไล, Author . - [S.l.] : คณะพยาบาลศ่าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 . - ก-ญ, 217 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2551
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาล
[LCSH]เคมีบำบัดKeywords: พยาบาล.
เคมีบำบัด.
สมรรถนะ.Class number: WY141 น542 2551 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะพยาบาลเคมีบำบัด โรงพยาบาลสังกัดรัฐ โดยประยุกต์ใช้เทคนิค EDFR กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ให้ข้อมูลหลักจำนวน 26 คน คัดเลือกตามคุณสมบัติที่กำหนดไว้ โดยเป็นผู้ให้ข้อมูลหลักที่มีความรู้และประสบการณ์ตรงกับปัญหาการวิจัย และยินดีร่วมมือในการวิจัย ประกอบด้วย ผู้ให้ข้อมูลหลักกลุ่มสาขาด้านการแพทย์เฉพาะทางโรคมะเร็ง กลุ่มนักวิชาการ กลุ่มพยาบาลผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านการดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง กลุ่มผู้บริหารทางการพยาบาลหน่วยบริการเคมีบำบัด และกลุ่มพยาบาลผู้ปฏิบัติการให้ยาเคมีบำบัด เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ปลายเปิดในรอบที่ 1 ส่วนรอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า ใช้ระยะเวลาเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งสิ้น 50 วัน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัธยฐานและค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ ผลการวิจัยพบว่า สมรรถนะพยาบาลเคมีบำบัด โรงพยาบาลสังกัดรัฐ ที่ผู้ให้ข้อมูลหลักมีความคิดเห็นสอดคล้องกัน ประกอบด้วยสมรรถนะย่อย 90 ข้อ เป็นสมรรถนะย่อยที่มีระดับความสำคัญมากที่สุด 58 ข้อ และระดับความสำคัญมาก 32 ข้อ จำแนกเป็น 7 สมรรถนะหลัก แต่ละสมรรถนะหลักประกอบด้วยสมรรถนะย่อยดังนี้ 1. สมรรถนะด้านความรู้เกี่ยวกับยาเคมีบำบัดและการบริหารยา ประกอบด้วย 19 ข้อ 2. สมรรถนะด้านการจัดการความเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อน ประกอบด้วย 8 ข้อ 3. สมรรถนะด้านการเตรียมความพร้อมผู้ป่วยก่อนระหว่างและหลังได้รับยาเคมีบำบัด ประกอบด้วย12 ข้อ 4. สมรรถนะด้านความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโรคและผลกระทบ ประกอบด้วย 6 ข้อ 5. สมรรถนะด้านการสื่อสาร การสอนและการให้ข้อมูลประกอบด้วย 22 ข้อ 6. สมรรถนะด้านจริยธรรมและการพิทักษ์สิทธิ ประกอบด้วย 12 ข้อ 7. สมรรถนะด้านการพัฒนาความรู้ และการวิจัย ประกอบด้วย 11 ข้อ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23177 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355519 WY141 น542 2551 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างการคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วย ความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร / จุฑามาส ดุลยพิชช์ / คณะพยาบาลศ่าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2552
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างการคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วย ความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร Original title : Relationships between systems thinking of head nurses, emotional intelligence of staff nurses, and effectiveness of patient units as perceived by staff nurses, tertiary hospitals, Bangkok Metropolis Material Type: printed text Authors: จุฑามาส ดุลยพิชช์, Author Publisher: คณะพยาบาลศ่าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2552 Pagination: ก-ฎ, 151 แผ่น Layout: ภาพประกอบ Size: 30 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม.[การบริหารการพยาบาล]]--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2552 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพัฒนาตนเอง
[LCSH]ความฉลาดทางอารมณ์
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยKeywords: หัวหน้่าหอผู้ป่วย.
ความฉลาดทางอารมณ์.
จิตวิทยา.Class number: WY18 จ243 2552 Abstract: ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วย ความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลประจำการที่มีประสบการณ์ทำงานในหอผู้ป่วยตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร จำนวน 365 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage sampling) เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วยแบบสอบถามการคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการ และแบบสอบถามประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค ได้ .97, .91 และ .89 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ประสิทธิผลของหอผู้ป่วย และการคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร โดยรวมอยู่ในระดับสูง (mean = 3.71, SD = .61 และ mean = 3.88, SD = .56 ตามลำดับ) ความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร อยู่ในระดับปานกลาง (mean = 151.26, SD = 33.59) 2. การคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วย และความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการ ต่างก็มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลาง กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r =.45 และ .32 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23208 ความสัมพันธ์ระหว่างการคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วย ความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร = Relationships between systems thinking of head nurses, emotional intelligence of staff nurses, and effectiveness of patient units as perceived by staff nurses, tertiary hospitals, Bangkok Metropolis [printed text] / จุฑามาส ดุลยพิชช์, Author . - [S.l.] : คณะพยาบาลศ่าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 . - ก-ฎ, 151 แผ่น : ภาพประกอบ ; 30.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม.[การบริหารการพยาบาล]]--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2552
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพัฒนาตนเอง
[LCSH]ความฉลาดทางอารมณ์
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยKeywords: หัวหน้่าหอผู้ป่วย.
ความฉลาดทางอารมณ์.
จิตวิทยา.Class number: WY18 จ243 2552 Abstract: ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วย ความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลประจำการที่มีประสบการณ์ทำงานในหอผู้ป่วยตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร จำนวน 365 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage sampling) เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วยแบบสอบถามการคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการ และแบบสอบถามประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค ได้ .97, .91 และ .89 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ประสิทธิผลของหอผู้ป่วย และการคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร โดยรวมอยู่ในระดับสูง (mean = 3.71, SD = .61 และ mean = 3.88, SD = .56 ตามลำดับ) ความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร อยู่ในระดับปานกลาง (mean = 151.26, SD = 33.59) 2. การคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วย และความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการ ต่างก็มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลาง กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r =.45 และ .32 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23208 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354843 WY18 จ243 2552 Thesis Main Library Thesis Corner Available