From this page you can:
Home |
วารสารพยาบาลทหารบก / สมาคมพยาบาลทหารบก . Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560Published date : 08/21/2017 |
Available articles
Add the result to your basketโมเดลเฃิงนิเวศวิทยากับการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพ / พรรณี ปานเทวัญ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : โมเดลเฃิงนิเวศวิทยากับการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพ Original title : Ecological model and health behavior change Material Type: printed text Authors: พรรณี ปานเทวัญ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.7-15 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.7-15Descriptors: [NLM]Ecological Model
[NLM]Health Behvior Change
[NLM]พฤติกรรมสุขภาพ
[NLM]สุขภาพ -- การปรับพฤติกรรม
[NLM]โมเดลเชิงนิเวศวิทยาKeywords: โมเดลเชิงนิเวศวิทยา. พฤติกรรมสุขภาพ. การจัดการด้านสิ่งแวดล้อม.การปรับพฤติกรรม. Abstract: การมีสุขภาพที่ดีเกี่ยวกับการปฏิบัติเชิงพฤติกรรมการดำเนินชีวิตในการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปัจจุบันทฤษฎีหรือโมเดลที่หลากหลายซึ่งใช้อธิบายหรือทำนายพฤติกรรมสุขภาพ และใช้เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมแก้ไขปัญหาสุขภาพโมเเดลเชิงนิเวศวิทยา เป็นแนวคิดทฤษฎีในระดับชุมชนโดยมองปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสุขภาพแบบบูรณาการ วัตถุประสงค์ของโมเดล เน้นสิ่งแวดล้อมที่เป็นสาเหตุของพฤติกรรมโดยแบ่งระดับของสิ่งแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสุขภาพเป็น 5 ระดับ คือ ระดับบุคคล ระหว่างบุคคล องค์กร ชุมชน และระดับนโยบายสาธารณะ โมเดลนี้ถูกนำมาใช้ในการส่งเสริมสุขภาพและแก้ไขปัญหาพฤติกรรมสุขภาพต่าง ๆ แต่ยังไม่ครอบคลุมทั้งหมด จึงควรศึกษาวิจัยในพฤติกรรมสุขภาดเพิ่มเติมต่อไปเพื่อเป็นหลักฐานเชิงประจักษ์ในการปฏิบัติการแบบพหุระดับโดยเฉพาะการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม นโยบาย ระเบียบ ข้อบังคับ จะช่วยส่งเสริมให้ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและแก้ไขปัญหาสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืนต่อไป Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27206 [article] โมเดลเฃิงนิเวศวิทยากับการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพ = Ecological model and health behavior change [printed text] / พรรณี ปานเทวัญ, Author . - 2017 . - p.7-15.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.7-15Descriptors: [NLM]Ecological Model
[NLM]Health Behvior Change
[NLM]พฤติกรรมสุขภาพ
[NLM]สุขภาพ -- การปรับพฤติกรรม
[NLM]โมเดลเชิงนิเวศวิทยาKeywords: โมเดลเชิงนิเวศวิทยา. พฤติกรรมสุขภาพ. การจัดการด้านสิ่งแวดล้อม.การปรับพฤติกรรม. Abstract: การมีสุขภาพที่ดีเกี่ยวกับการปฏิบัติเชิงพฤติกรรมการดำเนินชีวิตในการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปัจจุบันทฤษฎีหรือโมเดลที่หลากหลายซึ่งใช้อธิบายหรือทำนายพฤติกรรมสุขภาพ และใช้เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมแก้ไขปัญหาสุขภาพโมเเดลเชิงนิเวศวิทยา เป็นแนวคิดทฤษฎีในระดับชุมชนโดยมองปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสุขภาพแบบบูรณาการ วัตถุประสงค์ของโมเดล เน้นสิ่งแวดล้อมที่เป็นสาเหตุของพฤติกรรมโดยแบ่งระดับของสิ่งแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสุขภาพเป็น 5 ระดับ คือ ระดับบุคคล ระหว่างบุคคล องค์กร ชุมชน และระดับนโยบายสาธารณะ โมเดลนี้ถูกนำมาใช้ในการส่งเสริมสุขภาพและแก้ไขปัญหาพฤติกรรมสุขภาพต่าง ๆ แต่ยังไม่ครอบคลุมทั้งหมด จึงควรศึกษาวิจัยในพฤติกรรมสุขภาดเพิ่มเติมต่อไปเพื่อเป็นหลักฐานเชิงประจักษ์ในการปฏิบัติการแบบพหุระดับโดยเฉพาะการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม นโยบาย ระเบียบ ข้อบังคับ จะช่วยส่งเสริมให้ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและแก้ไขปัญหาสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืนต่อไป Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27206 การสูบบุหรี่กับการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ / จิรภิญญา คำรัตน์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : การสูบบุหรี่กับการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ : บทบาทของพยาบาลในการช่วยเลิกบุหรี่ Original title : Cigrettes smoking and coronary artery disease nurses' role im smoking cessation Material Type: printed text Authors: จิรภิญญา คำรัตน์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.1-6 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.1-6Keywords: โรคหลอดเลือดหัวใจ.บทบาทพยาบาล. บุหรี่. การช่วยเลิกบุหรี่.การสูบบุหรี่ Abstract: การสูบบุหรี่ เป็นหนึ่งในปัจจัยสำคัญของการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ ซึ่งเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่สำคัญโรคหนึ่งที่กำลังคร่าชีวิตคนไทยอยู่ในปัจจุบัน การทราบถึงพิษภัย และผลกระทบที่เกิดจาการสูบบุหรีต่อหลอดเลือดหัวใจ จะช่วยให้ประชาชนตระหนักถึงอันตรายของบุหรี่ที่มีต่อสุขภาพและเห็นความสำคัญของการไม่สูบบุหรี่ หรือเลิกบุหรี่เพื่ิอลดความรุนแรงที่เกิดจากการสูบบุหรี่ต่อโรคหลอดเลือดหัวใจในอนาคต บทความนี้มีวตถุประสงค์เพื่่ออธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการสูบบุหรี และการเกิดโรคหลอดเลือหัวใจรวมถึงบทบาทของพยาบาลในการช่วยเลิกบุหรี่อันจะนำไปสู่การตระหนักรู้ในเรื่องการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจซึ่งเป็นผลมาจากการสูบบุหรี่ และเพื่อใช้เป็นแนวทางสำหรับบุคลากรทางสุขภาพในการช่วยเลิกบุหรี่ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือหัวใจต่อไป Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27207 [article] การสูบบุหรี่กับการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ = Cigrettes smoking and coronary artery disease nurses' role im smoking cessation : บทบาทของพยาบาลในการช่วยเลิกบุหรี่ [printed text] / จิรภิญญา คำรัตน์, Author . - 2017 . - p.1-6.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.1-6Keywords: โรคหลอดเลือดหัวใจ.บทบาทพยาบาล. บุหรี่. การช่วยเลิกบุหรี่.การสูบบุหรี่ Abstract: การสูบบุหรี่ เป็นหนึ่งในปัจจัยสำคัญของการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ ซึ่งเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่สำคัญโรคหนึ่งที่กำลังคร่าชีวิตคนไทยอยู่ในปัจจุบัน การทราบถึงพิษภัย และผลกระทบที่เกิดจาการสูบบุหรีต่อหลอดเลือดหัวใจ จะช่วยให้ประชาชนตระหนักถึงอันตรายของบุหรี่ที่มีต่อสุขภาพและเห็นความสำคัญของการไม่สูบบุหรี่ หรือเลิกบุหรี่เพื่ิอลดความรุนแรงที่เกิดจากการสูบบุหรี่ต่อโรคหลอดเลือดหัวใจในอนาคต บทความนี้มีวตถุประสงค์เพื่่ออธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการสูบบุหรี และการเกิดโรคหลอดเลือหัวใจรวมถึงบทบาทของพยาบาลในการช่วยเลิกบุหรี่อันจะนำไปสู่การตระหนักรู้ในเรื่องการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจซึ่งเป็นผลมาจากการสูบบุหรี่ และเพื่อใช้เป็นแนวทางสำหรับบุคลากรทางสุขภาพในการช่วยเลิกบุหรี่ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือหัวใจต่อไป Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27207 มุมมองเชิงบวกของการผัดวันประกันพรุ่งกับสุขภาวะ / พรรณวดี สมกิตติกานนท์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : มุมมองเชิงบวกของการผัดวันประกันพรุ่งกับสุขภาวะ Original title : Positive aspects of procrastination and wellness Material Type: printed text Authors: พรรณวดี สมกิตติกานนท์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.16-23 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.16-23Keywords: สุขภาวะ. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม. การผลัดวันประกันพรุ่ง. wellness. Procrastination. Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27208 [article] มุมมองเชิงบวกของการผัดวันประกันพรุ่งกับสุขภาวะ = Positive aspects of procrastination and wellness [printed text] / พรรณวดี สมกิตติกานนท์, Author . - 2017 . - p.16-23.
Languages : Thai (tha)การเลือกตั้งนักเรียนปกครองทางระบบออนไลน์ โดยใช้กูเกิลฟอร์ม / สุพัตรา วัชรเกตุ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : การเลือกตั้งนักเรียนปกครองทางระบบออนไลน์ โดยใช้กูเกิลฟอร์ม : กรณีศึกษา วิทยาลัยพยาบาลทหารบก Original title : The election of student commanders via online system by using google from case study at the royal Thai army Nursing college Material Type: printed text Authors: สุพัตรา วัชรเกตุ, Author ; แพนนี่ ตรีวิเชียร, Author ; วีรพล ใบยา, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.24-29 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.24-29Keywords: การเลือกตั้ง. นักเรียนปกครองทางระบบออนไลน์. วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก.กูเกิ้ลฟอร์ม. Abstract: การเลือกตั้งเป็นการส่งเสริมและพัฒนาภาวะผู้นำให้กับผู้เรียนโดยใช้วิธีการตามแนวระบอบประชาธิปไตยผ่านกาารเลือกตั้ง ซึ่งปัจจุบันจะเป็นการลงคะแนนเสียงแบบอิเล็กทรอนิกส์เพิ่มมากขึ้น ประกอบกับกูเกิ้ล ได้พัฒนากูเกิ้ลฟอร์ม ซึ่งเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ออนไลน์ในการใช้สร้างแบบสอบถามที่ประยุกต์ใช้กับการลงคะแนนเสียง ซึ่งนับว่าเป็นทางเลือกหนึ่งที่ดีที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการเลือกตั้งนักเรียนปกครองได้ เพราะจะทำให้ไม่มีบัตรเสียในการเลือกตั้ง สามารถประมวลผลได้ทันทีที่ทำให้เป็นการประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายสอดคล้องกับนโยบายไทยแลนด์ 4.0 และส่งเสริมความเป็นประชาธิปไตย Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27209 [article] การเลือกตั้งนักเรียนปกครองทางระบบออนไลน์ โดยใช้กูเกิลฟอร์ม = The election of student commanders via online system by using google from case study at the royal Thai army Nursing college : กรณีศึกษา วิทยาลัยพยาบาลทหารบก [printed text] / สุพัตรา วัชรเกตุ, Author ; แพนนี่ ตรีวิเชียร, Author ; วีรพล ใบยา, Author . - 2017 . - p.24-29.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.24-29Keywords: การเลือกตั้ง. นักเรียนปกครองทางระบบออนไลน์. วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก.กูเกิ้ลฟอร์ม. Abstract: การเลือกตั้งเป็นการส่งเสริมและพัฒนาภาวะผู้นำให้กับผู้เรียนโดยใช้วิธีการตามแนวระบอบประชาธิปไตยผ่านกาารเลือกตั้ง ซึ่งปัจจุบันจะเป็นการลงคะแนนเสียงแบบอิเล็กทรอนิกส์เพิ่มมากขึ้น ประกอบกับกูเกิ้ล ได้พัฒนากูเกิ้ลฟอร์ม ซึ่งเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ออนไลน์ในการใช้สร้างแบบสอบถามที่ประยุกต์ใช้กับการลงคะแนนเสียง ซึ่งนับว่าเป็นทางเลือกหนึ่งที่ดีที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการเลือกตั้งนักเรียนปกครองได้ เพราะจะทำให้ไม่มีบัตรเสียในการเลือกตั้ง สามารถประมวลผลได้ทันทีที่ทำให้เป็นการประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายสอดคล้องกับนโยบายไทยแลนด์ 4.0 และส่งเสริมความเป็นประชาธิปไตย Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27209 โรคลมร้อน ภาวะฉุกเฉินที่เป็นอันตรายต่อชีวิต / สมคิด โพธิ์ชนะพันธุ์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : โรคลมร้อน ภาวะฉุกเฉินที่เป็นอันตรายต่อชีวิต : ็ Original title : Heatstroke lifthreatening emergency Material Type: printed text Authors: สมคิด โพธิ์ชนะพันธุ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.30-37 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.30-37Keywords: โรคลมร้อน.การป้องกัน. ภาวะฉุกเฉิน. Heatstroke. Emergency. Abstract: โรคลมร้อนเป็นภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์ที่เป็นอันตรายถึชีวิต มีแนวโน้มจะเกิดมากขึ้นในขณะที่อุณหภูมิของโลกมีความร้อนเพิ่มขึ้น โรคลมร้อนแบ่งออกเป็นโรคลมร้อนทั่วไป และโรคลมร้อนที่เกิดจากการออกกำลังกสยอย่างหนัก ลักษณะเฉพาะของโรคลมร้อน ได้แก่ อุณหภูมิแกนของร่างกายสูงเกิน 40 องศาเซลเวียส และระบบประสาทส่วนกลางเสียหน้าที่ การรักษาที่สำคัญ ได้แก่ การลดอุณหภูมิแกนของร่างกายอย่างทันที และรวดเร็วการรักษาโรคอย่างรวดเร็ว และถูกต้องจะช่วยลดภาวะแทรกซ้อนระยะยางจากอวัยวะต่าง ๆ ทำงานล้มเหลวและการเสียชีวิตได้ การป้องกันโรคลมร้อนเป็นสิ่งจำเป็นมากกว่าการรักษา ดังนั้น การให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายของโรคลมร้อนจะช่วยลดอัตราการเสียชีวิต และการเจ็บป่วยจากโรคลมร้อนได้เป็นอย่างดี Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27210 [article] โรคลมร้อน ภาวะฉุกเฉินที่เป็นอันตรายต่อชีวิต = Heatstroke lifthreatening emergency : ็ [printed text] / สมคิด โพธิ์ชนะพันธุ์, Author . - 2017 . - p.30-37.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.30-37Keywords: โรคลมร้อน.การป้องกัน. ภาวะฉุกเฉิน. Heatstroke. Emergency. Abstract: โรคลมร้อนเป็นภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์ที่เป็นอันตรายถึชีวิต มีแนวโน้มจะเกิดมากขึ้นในขณะที่อุณหภูมิของโลกมีความร้อนเพิ่มขึ้น โรคลมร้อนแบ่งออกเป็นโรคลมร้อนทั่วไป และโรคลมร้อนที่เกิดจากการออกกำลังกสยอย่างหนัก ลักษณะเฉพาะของโรคลมร้อน ได้แก่ อุณหภูมิแกนของร่างกายสูงเกิน 40 องศาเซลเวียส และระบบประสาทส่วนกลางเสียหน้าที่ การรักษาที่สำคัญ ได้แก่ การลดอุณหภูมิแกนของร่างกายอย่างทันที และรวดเร็วการรักษาโรคอย่างรวดเร็ว และถูกต้องจะช่วยลดภาวะแทรกซ้อนระยะยางจากอวัยวะต่าง ๆ ทำงานล้มเหลวและการเสียชีวิตได้ การป้องกันโรคลมร้อนเป็นสิ่งจำเป็นมากกว่าการรักษา ดังนั้น การให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายของโรคลมร้อนจะช่วยลดอัตราการเสียชีวิต และการเจ็บป่วยจากโรคลมร้อนได้เป็นอย่างดี Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27210 ปัจจัยที่มีิอิทธิพลต่อประสบการณ์อาการความดันโลหิตตก / อรพินท์ หลักแหลม in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : ปัจจัยที่มีิอิทธิพลต่อประสบการณ์อาการความดันโลหิตตก : จากการเปลี่ยนอิริยาบถในผู้สูงอายุชาวไทยที่มีภาวะความดันโลหิตสูง Original title : Factors influencing orthostatic hypotension experience among Thai order adults with hypertension Material Type: printed text Authors: อรพินท์ หลักแหลม, Author ; นุจรี ไชยมงคล, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.38-46 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.38-46Keywords: อาการความดันโลหิตตก.ผู้สูงอายุชาวไทย.ภาวะความดันโลหิตสูง.การรับรู้ภาวะสุขภาพ.การเปลี่ยนอิริยาบถ. Abstract: ประสบการณ์อาการความดันโลหิตตกจากการเปลี่ยนอิริยาบถ เป็นการรับรู้ของบุคคลเกี่ยวกับอาการวิงเวียน ปวดศีรษะน้อย ๆ หรือเป็นลม เมื่อเปลี่ยนท่าทาง จากการนั่ง หรือนอนเป็นการลุกขึ้น มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีิอิทธิพลต่อประสบการณ์อาการความดันโลหิตตกจากการเปลี่ยนอิริยาบถในผู้สูงอายุที่มีภาวะความดันโลหิตสูง จำนวน 278 ราย อายุเฉลีย 70.5 ปี อาศัยอยู่ในเขตเมือง จังหวัดชลบุรี ปี 2559 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย มีจำนวน 5 ชุด เป็นแบบสอบถามทีี่ให้กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ตอบเอง ค่าความเชื่อมั่นอยู่ระหว่าง .70-.90 การวิเคราะห์ข้อมูลแบยสถิติเชงพรรณนา และการวิเคราะห์เส้นทาง ผลการวิจัยพบว่า การรับรู้ภาวะสุขภาพมีอิทธิพลทางลบโดยตรงต่ออาการความดันโลหิตตกจากการเปลี่ยนอิริยาบถ ...
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27211 [article] ปัจจัยที่มีิอิทธิพลต่อประสบการณ์อาการความดันโลหิตตก = Factors influencing orthostatic hypotension experience among Thai order adults with hypertension : จากการเปลี่ยนอิริยาบถในผู้สูงอายุชาวไทยที่มีภาวะความดันโลหิตสูง [printed text] / อรพินท์ หลักแหลม, Author ; นุจรี ไชยมงคล, Author . - 2017 . - p.38-46.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.38-46Keywords: อาการความดันโลหิตตก.ผู้สูงอายุชาวไทย.ภาวะความดันโลหิตสูง.การรับรู้ภาวะสุขภาพ.การเปลี่ยนอิริยาบถ. Abstract: ประสบการณ์อาการความดันโลหิตตกจากการเปลี่ยนอิริยาบถ เป็นการรับรู้ของบุคคลเกี่ยวกับอาการวิงเวียน ปวดศีรษะน้อย ๆ หรือเป็นลม เมื่อเปลี่ยนท่าทาง จากการนั่ง หรือนอนเป็นการลุกขึ้น มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีิอิทธิพลต่อประสบการณ์อาการความดันโลหิตตกจากการเปลี่ยนอิริยาบถในผู้สูงอายุที่มีภาวะความดันโลหิตสูง จำนวน 278 ราย อายุเฉลีย 70.5 ปี อาศัยอยู่ในเขตเมือง จังหวัดชลบุรี ปี 2559 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย มีจำนวน 5 ชุด เป็นแบบสอบถามทีี่ให้กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ตอบเอง ค่าความเชื่อมั่นอยู่ระหว่าง .70-.90 การวิเคราะห์ข้อมูลแบยสถิติเชงพรรณนา และการวิเคราะห์เส้นทาง ผลการวิจัยพบว่า การรับรู้ภาวะสุขภาพมีอิทธิพลทางลบโดยตรงต่ออาการความดันโลหิตตกจากการเปลี่ยนอิริยาบถ ...
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27211 ความสัมพันธ์ระหว่างความหวัง การเห็นคุณค่าในตนเอง กับการรับรู้ด้านจิตวิญญาณของผู้ติดสารเสพติด / นริสา วงศ์พนารักษ์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างความหวัง การเห็นคุณค่าในตนเอง กับการรับรู้ด้านจิตวิญญาณของผู้ติดสารเสพติด : ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ Original title : Relationships among hope self-esteem and the perceptios of spiritial dimension of peoplo Material Type: printed text Authors: นริสา วงศ์พนารักษ์, Author ; ปานรดา บุญเรือง, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.47-54 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.47-54Keywords: การรับรู้ด้านจิตวิญญาณผู้ติดสารเสพติด.การเห็นคุณค่าตนเอง.ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. Abstract: มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1)การรับรู้ความหวัง การรับรู้การเห็นคุณค่าในตนเอง และการรับรู้ด้านจิตวิญญาณของผู้ติดสารเสพติด 2) ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความหวัง การรับรู้การเห็นคุณค่าในตนเองกับการรับรู้ด้านจิตวิญญาณของผู้ติดสารเสพติด กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ติดสารเสพติด จำนวน 355 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย 4 ส่วน ได้แก่ แบบสอบถามปัจจัยส่วนบุคล แบบประเมินความหวัง แบบประเมินการเห็นคุณค่าในตนเอง และ แบบสอบถามการรับรู้ด้านจิตวิญญาณของผู้ติดสารเสพติด มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .81 .79 .89 ตามลำดับ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติสหสัมพันธ์แบบเพียรสัน
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีการรับรู้ความหวังในระดับสูง ค่าเฉลี่ย 36.67 SD =5.54 การรับรู้การเห็นคุณค่าในตนเองในระดับปานกลาง ค่าเฉลีย 30.31 SD =4.48 และการรับรู้ด้านจิตวิญญาณในระดับสูง ค่าเฉลี่ย 80.90 SD =10.44 และพบว่าการรับรู้ความหวัง การรับรู้การเห็นคุณค่าในตนเองสัมพันธ์ทางบวกในระดับต่ำกับการรับรู้ด้านจิตวิญญาณอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ r=36 และ r=34 ตามลำดับ ที่ระดับ .05
ข้อเสนอแนะจากการวิจัยครั้งนี้ ทีมสุขภาพี่มีส่วนเกี่ยวข้องในการดูแลผู้ติดสารเสพติด ควรตระหนักและให้ความสำคัญในตนเอง ซึ่งส่งผลต่อการรับรู้ด้านจิตวิญญาณ อันเป็นมิติด้านสุขภาพมิติหนึ่ีงที่สำคัญของการดูแลผู้ติดสารเสพติดแบบองค์รวมLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27212 [article] ความสัมพันธ์ระหว่างความหวัง การเห็นคุณค่าในตนเอง กับการรับรู้ด้านจิตวิญญาณของผู้ติดสารเสพติด = Relationships among hope self-esteem and the perceptios of spiritial dimension of peoplo : ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ [printed text] / นริสา วงศ์พนารักษ์, Author ; ปานรดา บุญเรือง, Author . - 2017 . - p.47-54.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.47-54Keywords: การรับรู้ด้านจิตวิญญาณผู้ติดสารเสพติด.การเห็นคุณค่าตนเอง.ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. Abstract: มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1)การรับรู้ความหวัง การรับรู้การเห็นคุณค่าในตนเอง และการรับรู้ด้านจิตวิญญาณของผู้ติดสารเสพติด 2) ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความหวัง การรับรู้การเห็นคุณค่าในตนเองกับการรับรู้ด้านจิตวิญญาณของผู้ติดสารเสพติด กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ติดสารเสพติด จำนวน 355 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย 4 ส่วน ได้แก่ แบบสอบถามปัจจัยส่วนบุคล แบบประเมินความหวัง แบบประเมินการเห็นคุณค่าในตนเอง และ แบบสอบถามการรับรู้ด้านจิตวิญญาณของผู้ติดสารเสพติด มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .81 .79 .89 ตามลำดับ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติสหสัมพันธ์แบบเพียรสัน
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีการรับรู้ความหวังในระดับสูง ค่าเฉลี่ย 36.67 SD =5.54 การรับรู้การเห็นคุณค่าในตนเองในระดับปานกลาง ค่าเฉลีย 30.31 SD =4.48 และการรับรู้ด้านจิตวิญญาณในระดับสูง ค่าเฉลี่ย 80.90 SD =10.44 และพบว่าการรับรู้ความหวัง การรับรู้การเห็นคุณค่าในตนเองสัมพันธ์ทางบวกในระดับต่ำกับการรับรู้ด้านจิตวิญญาณอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ r=36 และ r=34 ตามลำดับ ที่ระดับ .05
ข้อเสนอแนะจากการวิจัยครั้งนี้ ทีมสุขภาพี่มีส่วนเกี่ยวข้องในการดูแลผู้ติดสารเสพติด ควรตระหนักและให้ความสำคัญในตนเอง ซึ่งส่งผลต่อการรับรู้ด้านจิตวิญญาณ อันเป็นมิติด้านสุขภาพมิติหนึ่ีงที่สำคัญของการดูแลผู้ติดสารเสพติดแบบองค์รวมLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27212 ผลการจัดการเรียนรู้แบบใช้วิจัยเป็นฐานในรายวิชาระบบสุขภาพ และการสร้างเสริมสุขภาพต่อผลการเรียนรู้ / องค์อร ประจันเขตต์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : ผลการจัดการเรียนรู้แบบใช้วิจัยเป็นฐานในรายวิชาระบบสุขภาพ และการสร้างเสริมสุขภาพต่อผลการเรียนรู้ : และพฤติกรรมการทำงานที่มุ่งนวัตกรรมของนักเรียนพยาบาล Original title : The effect od research based learning management in health system and health promotion subjeact on learning outcome and innovative work behavior of nursing students Material Type: printed text Authors: องค์อร ประจันเขตต์, Author ; อภิญญา อินทรรัตน์, Author ; อายุพร ประสิทธิเวชชากูร, Author ; อรวรรณ จุลวงษ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.55-63 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.55-63Keywords: การจัดการเรียนรู้แบบใช้วิจัย.รายวิชาระบบสุขภาพ.การสร้างเสริมสุขภาพ.ผลการเรียนรู้.พฤติกรรมการทำงาน.นวัตกรรมนักเรียนพยาบาล. Abstract: มีวัตถุประสงค์เพื่อ เปรียบเทียบพฤติกรรมการทำงานที่มุ่งนัตกรรมของนักเรียนก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนรู้แบบใช้วิจัยเป็นฐานในรายวิชาระบบสุขภาพและ การสร้างเสริมสุขภาพ และเพื่อศึกษาผลการเรียนรู้ของนักเรียนพยาบาลภายหลังจัดการเรียนการสอนแบบใฃ้วิจัยเป็นฐานในรายวิชาระบบสุขภาพ และการสร้างเสริมสุขภาพ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลกองทัพยก ชั้นปีที่ 1 รุ่นที่ 21 จำนววน 84 คน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม จำนวน 1 ฉบับ แบ่งเป็นสามตอน ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามพฤติกรรมการทำงานที่มุ่งนวัตกรรม และแบบบันทึกสะท้อนผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
ผลการวิจัย พบว่า คะแนนเฉลี่ยของพฤติกรรมการทำงานที่มุ่งนวัตกรรมทั้งภาพรวม และรายด้านได้แก่ ด้านการสร้างความคิดใหม่ และด้านการนำความคิดใหม่ไปสู่การปฏิบัติ หลังทดลองสูงกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิเคราะห์เนื้อหาจากแบบบันทึกการสะท้อนผลการเรียนรู้พบว่า ส่่งที่ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการจัดการเรียนการสอนแบบใช้วิจัยเป็นฐาน ได้แก่ การพัฒนาความคิดการสร้างนวัตกรรม การฝึกแก้ปัญหา การทำงานร่วมกับผู้อื่น และการสร้างเสริมสุขภาพ สำหรับประโยขน์ที่ได้รับจากการจัดการเรียนการสอนแบบใช้วิจัยเป็นฐานทำให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง และต่อส่วนรวม ผู้เรียนสะท้อน
ข้อเสนอแนะที่สำคัญคือ ควรจัดให้มีการเรียนการสอนแบบใช้วิจัยเป็นฐานทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิธีการทำวิจัย ได้ฝึกการสืบเสาะหาความรู้อย่างเป็นระบบ แต่การกำหนดหัวข้อในการทำนวัตกรรม อาจขึ้นอยู่กับความสนใจของผู้เรัียนLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27213 [article] ผลการจัดการเรียนรู้แบบใช้วิจัยเป็นฐานในรายวิชาระบบสุขภาพ และการสร้างเสริมสุขภาพต่อผลการเรียนรู้ = The effect od research based learning management in health system and health promotion subjeact on learning outcome and innovative work behavior of nursing students : และพฤติกรรมการทำงานที่มุ่งนวัตกรรมของนักเรียนพยาบาล [printed text] / องค์อร ประจันเขตต์, Author ; อภิญญา อินทรรัตน์, Author ; อายุพร ประสิทธิเวชชากูร, Author ; อรวรรณ จุลวงษ์, Author . - 2017 . - p.55-63.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.55-63Keywords: การจัดการเรียนรู้แบบใช้วิจัย.รายวิชาระบบสุขภาพ.การสร้างเสริมสุขภาพ.ผลการเรียนรู้.พฤติกรรมการทำงาน.นวัตกรรมนักเรียนพยาบาล. Abstract: มีวัตถุประสงค์เพื่อ เปรียบเทียบพฤติกรรมการทำงานที่มุ่งนัตกรรมของนักเรียนก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนรู้แบบใช้วิจัยเป็นฐานในรายวิชาระบบสุขภาพและ การสร้างเสริมสุขภาพ และเพื่อศึกษาผลการเรียนรู้ของนักเรียนพยาบาลภายหลังจัดการเรียนการสอนแบบใฃ้วิจัยเป็นฐานในรายวิชาระบบสุขภาพ และการสร้างเสริมสุขภาพ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลกองทัพยก ชั้นปีที่ 1 รุ่นที่ 21 จำนววน 84 คน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม จำนวน 1 ฉบับ แบ่งเป็นสามตอน ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามพฤติกรรมการทำงานที่มุ่งนวัตกรรม และแบบบันทึกสะท้อนผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
ผลการวิจัย พบว่า คะแนนเฉลี่ยของพฤติกรรมการทำงานที่มุ่งนวัตกรรมทั้งภาพรวม และรายด้านได้แก่ ด้านการสร้างความคิดใหม่ และด้านการนำความคิดใหม่ไปสู่การปฏิบัติ หลังทดลองสูงกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิเคราะห์เนื้อหาจากแบบบันทึกการสะท้อนผลการเรียนรู้พบว่า ส่่งที่ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการจัดการเรียนการสอนแบบใช้วิจัยเป็นฐาน ได้แก่ การพัฒนาความคิดการสร้างนวัตกรรม การฝึกแก้ปัญหา การทำงานร่วมกับผู้อื่น และการสร้างเสริมสุขภาพ สำหรับประโยขน์ที่ได้รับจากการจัดการเรียนการสอนแบบใช้วิจัยเป็นฐานทำให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง และต่อส่วนรวม ผู้เรียนสะท้อน
ข้อเสนอแนะที่สำคัญคือ ควรจัดให้มีการเรียนการสอนแบบใช้วิจัยเป็นฐานทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิธีการทำวิจัย ได้ฝึกการสืบเสาะหาความรู้อย่างเป็นระบบ แต่การกำหนดหัวข้อในการทำนวัตกรรม อาจขึ้นอยู่กับความสนใจของผู้เรัียนLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27213 การศึกษาการใช้เทคนิการสื่อสารเพื่อการบำบัด / วัลลภา อันดารา in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : การศึกษาการใช้เทคนิการสื่อสารเพื่อการบำบัด : และการสื่อสารที่ไม่ใช่การบำบััดกับผู้ป่วยจิตเวช Original title : The study of therapeutic communication technique and non-therapeutic communication technique with paychiatric patient Material Type: printed text Authors: วัลลภา อันดารา, Author ; ดลฤดี โรจน์วิริยะ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.64-73 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.64-73Keywords: เทคนิคการสื่อสารเพื่อการบำบัด.การสื่อสารที่ไม่ใช่การบำบัด.ผู้ป่วยจิตเวช. Abstract: เป็นการศึกษาการใช้เทคนิดการสื่อสารเพื่อการบำบัดและการสื่อสารที่ใช้การบำบัดผู้ป่วยจิตเวช โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบบันทึกการสื่อสารเพื่อการบำบัดของนักเรียนพยาบาลทหารอากาศ ชั้นปีที่ 3 จำนวน 135 ฉบับ ขณะฝึกปฏิบัติการพยาบาลในวิชาปฏิบัตการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่ ร้อยละ
ผลการศึกษา พบว่า นักเรียนพยาบาลทหารอากาศใช้เทคนิคการสืื่อสารด้วยคำพูด จำนวน 2445 ครั้ง เป็นเทคนิคการสื่อสารเพื่อการบำบัด จำนวน 2111 ครั้ง ร้อยละ 86.34 และเป็นเทคนิคการสื่อสารที่ไม่ใช่การบำบัด จำนวน 334 ครั้ง ร้อยละ 13.66 โดยเทคนิคการสื่อสารที่ไม่ใช่การบำบัด จัดหมวดหมู่ได้ 13 เทคนิค ได้แก่ 1. การยอมรับว่าถูกต้อง จำนวน 78 ครั้ง (ร้อยละ 23.35) 2.ตอบสนองไม่ตรงประเด็น จำนวน 50 ครั้ง (ร้อยละ 14.97) 3 ขอคำอธิบาย จำนวน 48 ครั้ง (ร้อยละ 14.37) 4. ให้คำแนะนำ จำนวน 33 ครั้ง (ร้อยละ 9.88) 5. กล่าวตำหนิ จำนวน 26 ครั้ง (ร้อยละ 4.79) 8. แก้ตัวแทนผู้อื่น จำนวน 14 ครั้ง (ร้อยละ 4.19) 9.ใช้คำพูดท้าทาย จำนวน 14 ครั้ง (ร้อยละ 4.19) 10.กล่าวขัดแย้งข้อคิดเห็นของผู้ป่วย จำนวน 10 ครั้ง (ร้อยละ 2.99) 11 ใช้คำปลอบใจที่ไม่เหมาะสม จำนวน 9 ครั้ง (ร้อยละ 2.70) 12. สนทนาเชิงสังคม จำนวน 9 ครั้ง (ร้อยละ 2.70) 13. ปฏิเสธการช่วยเหลือ จำนวน 7 ครั้ง (ร้อยละ 2.10)
ผลการศึกษาครั้งนี้ นักเรียนพยาบาลใช้เทคนิคการสื่อสารที่ไม่ใช้การบำบัด จำนวน 344 ครั้ง (ร้อยละ 13.66) ถึงแม่ว่าเป็นจำนวนไม่มากเมื่อเปรียบเทียบกับเทคนิคการสื่อสารนั้นล้มเหลว ได้ผลจากการศึกษาในครั้งนี้ สามารถนำไปใช้เพื่อการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช ทั้งภาคทฤษฎและปฏิบัติ เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถใช้เทคนิคการสื่อสารในการปฏิบัติงานจริงกับผู้ป่วยจิตเวชได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27214 [article] การศึกษาการใช้เทคนิการสื่อสารเพื่อการบำบัด = The study of therapeutic communication technique and non-therapeutic communication technique with paychiatric patient : และการสื่อสารที่ไม่ใช่การบำบััดกับผู้ป่วยจิตเวช [printed text] / วัลลภา อันดารา, Author ; ดลฤดี โรจน์วิริยะ, Author . - 2017 . - p.64-73.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.64-73Keywords: เทคนิคการสื่อสารเพื่อการบำบัด.การสื่อสารที่ไม่ใช่การบำบัด.ผู้ป่วยจิตเวช. Abstract: เป็นการศึกษาการใช้เทคนิดการสื่อสารเพื่อการบำบัดและการสื่อสารที่ใช้การบำบัดผู้ป่วยจิตเวช โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบบันทึกการสื่อสารเพื่อการบำบัดของนักเรียนพยาบาลทหารอากาศ ชั้นปีที่ 3 จำนวน 135 ฉบับ ขณะฝึกปฏิบัติการพยาบาลในวิชาปฏิบัตการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่ ร้อยละ
ผลการศึกษา พบว่า นักเรียนพยาบาลทหารอากาศใช้เทคนิคการสืื่อสารด้วยคำพูด จำนวน 2445 ครั้ง เป็นเทคนิคการสื่อสารเพื่อการบำบัด จำนวน 2111 ครั้ง ร้อยละ 86.34 และเป็นเทคนิคการสื่อสารที่ไม่ใช่การบำบัด จำนวน 334 ครั้ง ร้อยละ 13.66 โดยเทคนิคการสื่อสารที่ไม่ใช่การบำบัด จัดหมวดหมู่ได้ 13 เทคนิค ได้แก่ 1. การยอมรับว่าถูกต้อง จำนวน 78 ครั้ง (ร้อยละ 23.35) 2.ตอบสนองไม่ตรงประเด็น จำนวน 50 ครั้ง (ร้อยละ 14.97) 3 ขอคำอธิบาย จำนวน 48 ครั้ง (ร้อยละ 14.37) 4. ให้คำแนะนำ จำนวน 33 ครั้ง (ร้อยละ 9.88) 5. กล่าวตำหนิ จำนวน 26 ครั้ง (ร้อยละ 4.79) 8. แก้ตัวแทนผู้อื่น จำนวน 14 ครั้ง (ร้อยละ 4.19) 9.ใช้คำพูดท้าทาย จำนวน 14 ครั้ง (ร้อยละ 4.19) 10.กล่าวขัดแย้งข้อคิดเห็นของผู้ป่วย จำนวน 10 ครั้ง (ร้อยละ 2.99) 11 ใช้คำปลอบใจที่ไม่เหมาะสม จำนวน 9 ครั้ง (ร้อยละ 2.70) 12. สนทนาเชิงสังคม จำนวน 9 ครั้ง (ร้อยละ 2.70) 13. ปฏิเสธการช่วยเหลือ จำนวน 7 ครั้ง (ร้อยละ 2.10)
ผลการศึกษาครั้งนี้ นักเรียนพยาบาลใช้เทคนิคการสื่อสารที่ไม่ใช้การบำบัด จำนวน 344 ครั้ง (ร้อยละ 13.66) ถึงแม่ว่าเป็นจำนวนไม่มากเมื่อเปรียบเทียบกับเทคนิคการสื่อสารนั้นล้มเหลว ได้ผลจากการศึกษาในครั้งนี้ สามารถนำไปใช้เพื่อการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช ทั้งภาคทฤษฎและปฏิบัติ เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถใช้เทคนิคการสื่อสารในการปฏิบัติงานจริงกับผู้ป่วยจิตเวชได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27214 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิาชีพ / ปาริชาติ รัตนราช in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิาชีพ : โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี Original title : Factor affecting positive practice enviromenta; of registered nurse in Sanpasithiprasong hospital UbonRatchathani province Material Type: printed text Authors: ปาริชาติ รัตนราช, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.74-81 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.74-81Keywords: พยาบาลวิชาชีพ.ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง.ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก.สภาพแวดล้อมการปฏิบัติงาน.โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์.จังหวัดอุบลราชธานี. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย วัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1.ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก และสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ 2. ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก กับสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิชาชีพ 3. ตัวแปรที่ทำนายสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 107 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบมีระบบ เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก และสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดี ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามเท่ากับ 0.98 0.98 และ 0.95 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่ามัธยฐาน ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ ค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธฺของเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณเป็นขั้นตอน
ผลการวิจัย พบว่า 1. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก และสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดี มีค่าเฉลี่ยโดยรวมในระดับสูง คือ 4.41 4.13 และ 3.93 ตามลำดับ 2.ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยและทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงกับสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r=0.74 และ 0.67) ตามลำดับ และ 3 ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยและทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกสามารถร่วมกันทำนายสภาพแวดล้อมการปฎิบัติงานที่ดีอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ได้ร้อยละ 70 (อาร์กำลังสอง =0.70)
ดังนั้นเพื่อให้เกิดสภาพแวดล้อมในการปฎิบัติงานที่ดี ควรส่งเสริมภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยและทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกของพยาบาลวิชาชีพLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27215 [article] ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิาชีพ = Factor affecting positive practice enviromenta; of registered nurse in Sanpasithiprasong hospital UbonRatchathani province : โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี [printed text] / ปาริชาติ รัตนราช, Author . - 2017 . - p.74-81.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.74-81Keywords: พยาบาลวิชาชีพ.ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง.ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก.สภาพแวดล้อมการปฏิบัติงาน.โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์.จังหวัดอุบลราชธานี. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย วัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1.ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก และสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ 2. ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก กับสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิชาชีพ 3. ตัวแปรที่ทำนายสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 107 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบมีระบบ เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก และสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดี ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามเท่ากับ 0.98 0.98 และ 0.95 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่ามัธยฐาน ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ ค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธฺของเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณเป็นขั้นตอน
ผลการวิจัย พบว่า 1. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก และสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดี มีค่าเฉลี่ยโดยรวมในระดับสูง คือ 4.41 4.13 และ 3.93 ตามลำดับ 2.ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยและทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงกับสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r=0.74 และ 0.67) ตามลำดับ และ 3 ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยและทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกสามารถร่วมกันทำนายสภาพแวดล้อมการปฎิบัติงานที่ดีอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ได้ร้อยละ 70 (อาร์กำลังสอง =0.70)
ดังนั้นเพื่อให้เกิดสภาพแวดล้อมในการปฎิบัติงานที่ดี ควรส่งเสริมภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยและทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกของพยาบาลวิชาชีพLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27215 ประสิทธิผลของการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการดูแลผู้ป่วยระยุสุดท้าย / กุลพิชณาย์ เวชรัชต์พิมล in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : ประสิทธิผลของการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการดูแลผู้ป่วยระยุสุดท้าย : สำหรับนักศึกษาพยาบาลวิทยาลัยเซนต์หลุยส์ Original title : Effectiveness of a development of the end of life care training program for nursing students of Saint Louis College Material Type: printed text Authors: กุลพิชณาย์ เวชรัชต์พิมล, Author ; สุดารัตน์ สุวารี, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.82-90 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.82-90Keywords: การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย.การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม.นักศึกษาพยาบาลวิทยาลัยเซนต์หลุยส์.End of life care. Nursing students.Saint Louis College. Abstract: เป็นการวิจับกึ่งทดลอง วัตถุประสงค์เพื่อ 1.พัฒนาหลักสูตรอบรมการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายสำหรับนักศึกษาพยาบาลเซ่นต์หลุยส์ 2.ประเมินประสิทธิผลของหลักสูตรฝึกอบรมการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายสำหรับนักศึกษาพยาบาลเซนต์หลุยส์ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3 ปีการศึกษา 2556 คัดเลือกโดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองประกอบด้วย หลักสูตรฝึกอบรมการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายสำหรับนักศึกษาพยาบาลวิทยาลัยเซ่นต์หลุยส์ประกอบด้วย 4 หน่วย ได้แก่ 1)การดูแลชีวิตและการตาย 2) การดูแลเมื่อความตายมาถึง 3)การดูแลหลังการสูญเสีย และ 4)การดูแลด้านจริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ประกอบด้วยแบบวัดความรู้ แบบวัดทักษะ และแบบวัดเจตคติต่อการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายของนักศึกษาพยาบาล วิเคราะห์ข้อมูลโดย Paired samples t-test และ T-test one sample group เปรียบเทียบกับเกณฑ์ ผลการ
วิจัย พบว่า ค่าคะแนนเฉลี่ยวัดความรู้การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายของนักศึกษาพยาบาลหลังการทดลองมีค่าสูงกว่าก่อนการทดลองและไม่แตกต่างจากเกณฑ์ที่กำหนดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .0001 และค่าคะแนนเฉลี่ยทักษะการร่วมกิจกรรมการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายของนักศึกษาพยาบาลอยู่ในระดับดีและสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .0001 และค่าเฉลี่ยเจตคติต่อการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายของนักศึกษาพยาบาลโดยรวมหลังการฝึกอบรมอยู่ในระดับมากและสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .0001
ข้อเสนอแนะผู้บริหารหลักสูตรควรปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาด้านพยาบาลศาสตร์ ควรปรับเพิ่มรายวิชา หรือหัวข้อด้านการดูแลผู้ป่วยระยุสุดท้าย และสนับสนุนให้มีการนำหลักการแนวคิดในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติอย่างต่อเนื่องLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27216 [article] ประสิทธิผลของการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการดูแลผู้ป่วยระยุสุดท้าย = Effectiveness of a development of the end of life care training program for nursing students of Saint Louis College : สำหรับนักศึกษาพยาบาลวิทยาลัยเซนต์หลุยส์ [printed text] / กุลพิชณาย์ เวชรัชต์พิมล, Author ; สุดารัตน์ สุวารี, Author . - 2017 . - p.82-90.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.82-90Keywords: การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย.การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม.นักศึกษาพยาบาลวิทยาลัยเซนต์หลุยส์.End of life care. Nursing students.Saint Louis College. Abstract: เป็นการวิจับกึ่งทดลอง วัตถุประสงค์เพื่อ 1.พัฒนาหลักสูตรอบรมการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายสำหรับนักศึกษาพยาบาลเซ่นต์หลุยส์ 2.ประเมินประสิทธิผลของหลักสูตรฝึกอบรมการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายสำหรับนักศึกษาพยาบาลเซนต์หลุยส์ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3 ปีการศึกษา 2556 คัดเลือกโดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองประกอบด้วย หลักสูตรฝึกอบรมการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายสำหรับนักศึกษาพยาบาลวิทยาลัยเซ่นต์หลุยส์ประกอบด้วย 4 หน่วย ได้แก่ 1)การดูแลชีวิตและการตาย 2) การดูแลเมื่อความตายมาถึง 3)การดูแลหลังการสูญเสีย และ 4)การดูแลด้านจริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ประกอบด้วยแบบวัดความรู้ แบบวัดทักษะ และแบบวัดเจตคติต่อการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายของนักศึกษาพยาบาล วิเคราะห์ข้อมูลโดย Paired samples t-test และ T-test one sample group เปรียบเทียบกับเกณฑ์ ผลการ
วิจัย พบว่า ค่าคะแนนเฉลี่ยวัดความรู้การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายของนักศึกษาพยาบาลหลังการทดลองมีค่าสูงกว่าก่อนการทดลองและไม่แตกต่างจากเกณฑ์ที่กำหนดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .0001 และค่าคะแนนเฉลี่ยทักษะการร่วมกิจกรรมการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายของนักศึกษาพยาบาลอยู่ในระดับดีและสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .0001 และค่าเฉลี่ยเจตคติต่อการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายของนักศึกษาพยาบาลโดยรวมหลังการฝึกอบรมอยู่ในระดับมากและสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .0001
ข้อเสนอแนะผู้บริหารหลักสูตรควรปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาด้านพยาบาลศาสตร์ ควรปรับเพิ่มรายวิชา หรือหัวข้อด้านการดูแลผู้ป่วยระยุสุดท้าย และสนับสนุนให้มีการนำหลักการแนวคิดในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติอย่างต่อเนื่องLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27216 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความเครียด ความฉลาดทางอารมณ์ / กมลรัตน์ ทองสว่าง in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความเครียด ความฉลาดทางอารมณ์ : กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ Original title : The relationships between the personal factors stress emotional intelligence and academic achievement of the students at faculty of nursing Chiyaphum Rajabhat University Material Type: printed text Authors: กมลรัตน์ ทองสว่าง, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.91-110 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.91-110Keywords: ความเครียด.ความฉลาดทางอารมณ์.ปัจจัยส่วนบุคคล.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา.นักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ. Abstract: วัตถุประสงค์เพื่อ 1 ศึกษาระดับความเครัยดและความฉลาดทางอารมณ์ 2ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ระดับความเครียด ความฉลาดทางอารมร์ กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3 สร้างสมการในการพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ
กลุ่มตัวอย่าง คือ น.ศ.ชั้นปีที่ 1 และ 2 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ปี 2556 จำนวน 159 คน
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 3 ส่วน คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนตัว แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ และแบบวัดความเครียด สถิติที่ใช้ ได้แก่ สถิติพื้นฐาน สัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์แบบเพียร์สัน การวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณ และคัดเลือกตัวแปรเข้าสมการแบบหลายขั้นตอน
ผลการวิจัย พบว่า นักศึกษามีคะแนนระดับความเครียดอยู่ในระดับสูง มีคะแนนความฉลาดทางอารมณ์โดยรวมเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ปกติชั้นปีที่ศึกษา จำนวนพี่น้อง ความเห็นใจผู้อื่น การรับผิดชอบ และความฉลาดทางอารมณ์มีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ความฉลาดทางอารมณ์ส่วนองค์ประกอบด้านดีในด้านการรู้จักเห็นใจผู้อื่น (X1)ชั้นปีที่ศึกษา (X2) และจำนวนพี่น้อง (X3) สามารถร่วมกันพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ และได้สมการคือ Y=0.97+0.06X1-0.217X2+0.132X
ผลการศึกษาครั้งนี้สามารถนำไปเป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนการให้คำปรึกษาสำหรับนักศึกษาที่มีปัญหาเกี่ยวกับเรื่องสุขภาพจิตของคณะพยาบาลศาสตร์ เพื่อส่งผลต่อสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีของนักศึกษาLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27217 [article] ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความเครียด ความฉลาดทางอารมณ์ = The relationships between the personal factors stress emotional intelligence and academic achievement of the students at faculty of nursing Chiyaphum Rajabhat University : กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ [printed text] / กมลรัตน์ ทองสว่าง, Author . - 2017 . - p.91-110.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.91-110Keywords: ความเครียด.ความฉลาดทางอารมณ์.ปัจจัยส่วนบุคคล.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา.นักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ. Abstract: วัตถุประสงค์เพื่อ 1 ศึกษาระดับความเครัยดและความฉลาดทางอารมณ์ 2ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ระดับความเครียด ความฉลาดทางอารมร์ กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3 สร้างสมการในการพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ
กลุ่มตัวอย่าง คือ น.ศ.ชั้นปีที่ 1 และ 2 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ปี 2556 จำนวน 159 คน
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 3 ส่วน คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนตัว แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ และแบบวัดความเครียด สถิติที่ใช้ ได้แก่ สถิติพื้นฐาน สัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์แบบเพียร์สัน การวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณ และคัดเลือกตัวแปรเข้าสมการแบบหลายขั้นตอน
ผลการวิจัย พบว่า นักศึกษามีคะแนนระดับความเครียดอยู่ในระดับสูง มีคะแนนความฉลาดทางอารมณ์โดยรวมเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ปกติชั้นปีที่ศึกษา จำนวนพี่น้อง ความเห็นใจผู้อื่น การรับผิดชอบ และความฉลาดทางอารมณ์มีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ความฉลาดทางอารมณ์ส่วนองค์ประกอบด้านดีในด้านการรู้จักเห็นใจผู้อื่น (X1)ชั้นปีที่ศึกษา (X2) และจำนวนพี่น้อง (X3) สามารถร่วมกันพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ และได้สมการคือ Y=0.97+0.06X1-0.217X2+0.132X
ผลการศึกษาครั้งนี้สามารถนำไปเป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนการให้คำปรึกษาสำหรับนักศึกษาที่มีปัญหาเกี่ยวกับเรื่องสุขภาพจิตของคณะพยาบาลศาสตร์ เพื่อส่งผลต่อสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีของนักศึกษาLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27217 ประสิทธิผลของการนำใช้แนวปฏิบัติในการจัดการความปวดแผลอุบัติเหตุ / บุญญาภัทร ชาติพัฒนานานันท์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : ประสิทธิผลของการนำใช้แนวปฏิบัติในการจัดการความปวดแผลอุบัติเหตุ : ณ แผนกอุบัคิเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลทั่วไปขนาดเล็ก Original title : Effectiveness of implementing the cilinical practice guidelines for traumatic wound pain management at emergency department in middle-level hospital Material Type: printed text Authors: บุญญาภัทร ชาติพัฒนานานันท์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.101-109 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.101-109Keywords: การจัดการความปวด. ปวดแผลอุบัติเหตุ. เคลฟเวอร์โมเดล. แผนกอุบัติเหตุและฉุกเฉิน. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง วัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1. ประสิทธิผลการนำใช้แนวปฏิบัติในการจัดการความเจ็บปวดบาดแผลอุบัติเหตุ แผนกอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลทั่วไปขนาดเล็ก เดือนสิงหาคม - ธันวาคม 2559 กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยที่มีแผลอุบัติเหตุ จำวน 80 ราย คัดเลือกตามเกณฑ์และสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบง่าย แบ่งเป็นกลุ่มละ 40 ราย กลุ่มควบคุม คือ ผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาก่อนนำใช้แนวปฎิบัติฯ และกลุ่มทดลอง คือ ผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในช่วงสัปดาห์ที่ 9 หลังนำใช้แนวปฏิบัติ
เครืื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แนวปฏิบัติในการจัดการความปวดบาดแผลอุบัติเหตุ แบบประเมินคุณภาพของแนวปฏิบัติทางคลินิก และแบบประเมินประสิทธิผลการนำใช้แนวปฑิบัติ เครื่องมือทุกชุดผ่านการตรวจสอบความตรงด้านเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 คน และนำเครื่องมือชุดที่ 3 หาความเที่ยงตรงโดยสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาคได้เท่ากับ .080 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาลและสถิติอ้างอิง
ผลการศึกษา พบว่า ความพึงพอใจโดยรวมของผู้ป่วยกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p=.000 และระยะเวลารอการได้รับยาแก้ปวดของกลุ่มทดลองต่ำกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p=.006 แสดงให้เห็นว่าแนวปฏิบัติในการในการจัดการความเจ็บปวดจากแผลอุบัติเหตุ งานอุบัติเหตุฉุกเฉิน สามารถนำใช้ในโรงพยาบาลทั่วไปขนาดเล็กได้อย่างมีประสิทธิผล จึงมีข้อเสนอแนะให้มีการนำใช้แนวปฏิบัติ ดังกล่าวในโรงพยาบาลระดับอื่น โดยปรับเปลี่ยนข้อเสนอแนะของแนวปฏิบัติ ให้มีความสอดคล้องกับวัฒนธรรมและบริบทของหน่วยงานLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27231 [article] ประสิทธิผลของการนำใช้แนวปฏิบัติในการจัดการความปวดแผลอุบัติเหตุ = Effectiveness of implementing the cilinical practice guidelines for traumatic wound pain management at emergency department in middle-level hospital : ณ แผนกอุบัคิเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลทั่วไปขนาดเล็ก [printed text] / บุญญาภัทร ชาติพัฒนานานันท์, Author . - 2017 . - p.101-109.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.101-109Keywords: การจัดการความปวด. ปวดแผลอุบัติเหตุ. เคลฟเวอร์โมเดล. แผนกอุบัติเหตุและฉุกเฉิน. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง วัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1. ประสิทธิผลการนำใช้แนวปฏิบัติในการจัดการความเจ็บปวดบาดแผลอุบัติเหตุ แผนกอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลทั่วไปขนาดเล็ก เดือนสิงหาคม - ธันวาคม 2559 กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยที่มีแผลอุบัติเหตุ จำวน 80 ราย คัดเลือกตามเกณฑ์และสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบง่าย แบ่งเป็นกลุ่มละ 40 ราย กลุ่มควบคุม คือ ผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาก่อนนำใช้แนวปฎิบัติฯ และกลุ่มทดลอง คือ ผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในช่วงสัปดาห์ที่ 9 หลังนำใช้แนวปฏิบัติ
เครืื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แนวปฏิบัติในการจัดการความปวดบาดแผลอุบัติเหตุ แบบประเมินคุณภาพของแนวปฏิบัติทางคลินิก และแบบประเมินประสิทธิผลการนำใช้แนวปฑิบัติ เครื่องมือทุกชุดผ่านการตรวจสอบความตรงด้านเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 คน และนำเครื่องมือชุดที่ 3 หาความเที่ยงตรงโดยสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาคได้เท่ากับ .080 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาลและสถิติอ้างอิง
ผลการศึกษา พบว่า ความพึงพอใจโดยรวมของผู้ป่วยกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p=.000 และระยะเวลารอการได้รับยาแก้ปวดของกลุ่มทดลองต่ำกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p=.006 แสดงให้เห็นว่าแนวปฏิบัติในการในการจัดการความเจ็บปวดจากแผลอุบัติเหตุ งานอุบัติเหตุฉุกเฉิน สามารถนำใช้ในโรงพยาบาลทั่วไปขนาดเล็กได้อย่างมีประสิทธิผล จึงมีข้อเสนอแนะให้มีการนำใช้แนวปฏิบัติ ดังกล่าวในโรงพยาบาลระดับอื่น โดยปรับเปลี่ยนข้อเสนอแนะของแนวปฏิบัติ ให้มีความสอดคล้องกับวัฒนธรรมและบริบทของหน่วยงานLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27231 ผลของโปแกรมการกำกับตนเองของเด็กวัยรุ่น / ชญานิกา ศรีวิชัย in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : ผลของโปแกรมการกำกับตนเองของเด็กวัยรุ่น : ต่อการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Original title : Effect of self-regulation program on self-efficacy toward control on information thechnology using among adolescents Material Type: printed text Authors: ชญานิกา ศรีวิชัย, Author ; ภัทร์ภร อยู่สุข, Author ; สาริณีย์ จินดาวุฒิพันธ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.110-118 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.110-118Keywords: การกำกับตนเอง.วัยรุ่น.การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ. Abstract: วัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ผลของโปรแกรมการกำกับตนเองของเด็กวัยรุ่นต่อการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการควบคุมพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (รูปแบบการวิจัยกึ่งทดลอง Quasi-experimental research) ขนิดมีกลุ่มเดียววัดก่อนหลังการทดลอง (one group pre-post test) กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือ เด็กนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายเพศหญิงและชายที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขตที่ 4 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 60 คน โดยวิธการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจงตามเกณฑ์การคัดเข้าดำเนินการระหว่างเดือนกรกฎาคม-ธันวาคม 2559 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ Pair t-test เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของการรับรู้สมรรถนะแห่งตน ผลการวิจัย พบว่า หลังการเข้าโปรแกรมการกำกับตนเองกลุ่มตัวอย่างมีการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการควบคุมพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ผลการวิจัยนี้สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการวางแผนการให้ความรู้แก่เด็กวัยรุ่น ให้มีการรับรู้สมรรถนะแห่งตนเกี่ยวกับการควบคุมพฤติกรรมตนเองต่อการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ไม่ให้ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของตนเอง ตลอดจนบิดา มารดา และผู้ปกครองที่จะข่วยสนับสนุน ส่งเสริมให้เด็กวัยรุ่นมีการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการึวบคุมพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างถูกต้องต่อไป
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27232 [article] ผลของโปแกรมการกำกับตนเองของเด็กวัยรุ่น = Effect of self-regulation program on self-efficacy toward control on information thechnology using among adolescents : ต่อการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ [printed text] / ชญานิกา ศรีวิชัย, Author ; ภัทร์ภร อยู่สุข, Author ; สาริณีย์ จินดาวุฒิพันธ์, Author . - 2017 . - p.110-118.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.110-118Keywords: การกำกับตนเอง.วัยรุ่น.การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ. Abstract: วัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ผลของโปรแกรมการกำกับตนเองของเด็กวัยรุ่นต่อการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการควบคุมพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (รูปแบบการวิจัยกึ่งทดลอง Quasi-experimental research) ขนิดมีกลุ่มเดียววัดก่อนหลังการทดลอง (one group pre-post test) กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือ เด็กนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายเพศหญิงและชายที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขตที่ 4 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 60 คน โดยวิธการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจงตามเกณฑ์การคัดเข้าดำเนินการระหว่างเดือนกรกฎาคม-ธันวาคม 2559 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ Pair t-test เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของการรับรู้สมรรถนะแห่งตน ผลการวิจัย พบว่า หลังการเข้าโปรแกรมการกำกับตนเองกลุ่มตัวอย่างมีการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการควบคุมพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ผลการวิจัยนี้สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการวางแผนการให้ความรู้แก่เด็กวัยรุ่น ให้มีการรับรู้สมรรถนะแห่งตนเกี่ยวกับการควบคุมพฤติกรรมตนเองต่อการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ไม่ให้ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของตนเอง ตลอดจนบิดา มารดา และผู้ปกครองที่จะข่วยสนับสนุน ส่งเสริมให้เด็กวัยรุ่นมีการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการึวบคุมพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างถูกต้องต่อไป
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27232 ผลของโปรแกรมการสร้างเสริมทักษะชีวิตด้านสุขภาพทางเพศ / แสงวรรณ ตั้งแสงสกุล in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการสร้างเสริมทักษะชีวิตด้านสุขภาพทางเพศ : ต่อการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัยของนักเรียนวัยรุ่นตอนต้น Original title : Effect of sexual health life skills program on perceived self-efficacy in safe of early adolescent students Material Type: printed text Authors: แสงวรรณ ตั้งแสงสกุล, Author ; นันทวัน สุวรรณรูป, Author ; ปิยะธิดา นาคะเกษียร, Author ; รุ้งนภา ผาณิตรัตน์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.119-128 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.119-128Keywords: สุขภาพทางเพศ.วัยรุ่นตอนต้น.โปรแกรมการสร้างเสริมทักษะชีวิต.การมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการสร้างเสริมทั้กษะชีวิตด้านสุขภาพทางเพศ ต่อการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการมีเพศมัมพันธ์ที่ปลอดภัยของนักเรียนวันรุ่นตอนต้น กลุ่มตัวอย่าง นร.ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จาก 2 โรงเรียนนจังหวัดเพชรบูรณ์ จำนวน 44 คนแบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 23 คน และกลุ่มควบคุม 21 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการสร้างเสริมทักษะชีวิต จำนวน 5 ครั้ง ใช้เวลาครั้งละ 90 นาที กลุ่มควบคุมได้รับความรู้ตามหลักสูตรการอสอนปกติ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามด้วยตนเอง ก่อนและหลังการทดลองในสัปดาห์ที่ 6 และระยะติดตามประเมินผลในสัปดหา์ที่ 12 วิคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ Repeated Measure ANOVA และสถิติ MANCOVA ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการมีเพศสัมพันธฺ์ที่ปลอดภัย หลังการทดลองในสัปดาห์ที่ 6 ค่าเฉลี่ย 49.48 SD =10.69 และระยะติดตามผลในสัปดาห์ที่ 12 ค่าเฉลี่ย 49.48 SD =9.45 สูงกว่าการทดลอง ค่าเฉลี่ย 40.22 SD = 8.80 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p-value <0.05 และสูงกว่ากลุ่มควบคุม ทั้งหลังการทดลองในสัปดาห์ที่ 6 ค่าเฉลี่ย 31.43 SD = 8.80 และระยะติดตามผลในสัปดาห์ที่ 12 ค่าเฉลี่ย 33.00 SD = 8.92 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p<0.05
การศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า การได้รับโปรแกรมการสร้างเสริมทักษะชีวิตด้านสุขภาพทางเพศ สามารถส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัยกับเด็กวัยรุ่นตอนต้น ดังนั้นสามารถประยุกต์รูปแบบการสอนที่พัฒนาทักษะชีวิตร่วมกับส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตน เพื่อให้เกิดพฤติกรรมสุขภาพทางเพศทีปลอดภัยขึ้นได้Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27233 [article] ผลของโปรแกรมการสร้างเสริมทักษะชีวิตด้านสุขภาพทางเพศ = Effect of sexual health life skills program on perceived self-efficacy in safe of early adolescent students : ต่อการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัยของนักเรียนวัยรุ่นตอนต้น [printed text] / แสงวรรณ ตั้งแสงสกุล, Author ; นันทวัน สุวรรณรูป, Author ; ปิยะธิดา นาคะเกษียร, Author ; รุ้งนภา ผาณิตรัตน์, Author . - 2017 . - p.119-128.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.119-128Keywords: สุขภาพทางเพศ.วัยรุ่นตอนต้น.โปรแกรมการสร้างเสริมทักษะชีวิต.การมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการสร้างเสริมทั้กษะชีวิตด้านสุขภาพทางเพศ ต่อการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการมีเพศมัมพันธ์ที่ปลอดภัยของนักเรียนวันรุ่นตอนต้น กลุ่มตัวอย่าง นร.ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จาก 2 โรงเรียนนจังหวัดเพชรบูรณ์ จำนวน 44 คนแบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 23 คน และกลุ่มควบคุม 21 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการสร้างเสริมทักษะชีวิต จำนวน 5 ครั้ง ใช้เวลาครั้งละ 90 นาที กลุ่มควบคุมได้รับความรู้ตามหลักสูตรการอสอนปกติ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามด้วยตนเอง ก่อนและหลังการทดลองในสัปดาห์ที่ 6 และระยะติดตามประเมินผลในสัปดหา์ที่ 12 วิคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ Repeated Measure ANOVA และสถิติ MANCOVA ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการมีเพศสัมพันธฺ์ที่ปลอดภัย หลังการทดลองในสัปดาห์ที่ 6 ค่าเฉลี่ย 49.48 SD =10.69 และระยะติดตามผลในสัปดาห์ที่ 12 ค่าเฉลี่ย 49.48 SD =9.45 สูงกว่าการทดลอง ค่าเฉลี่ย 40.22 SD = 8.80 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p-value <0.05 และสูงกว่ากลุ่มควบคุม ทั้งหลังการทดลองในสัปดาห์ที่ 6 ค่าเฉลี่ย 31.43 SD = 8.80 และระยะติดตามผลในสัปดาห์ที่ 12 ค่าเฉลี่ย 33.00 SD = 8.92 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p<0.05
การศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า การได้รับโปรแกรมการสร้างเสริมทักษะชีวิตด้านสุขภาพทางเพศ สามารถส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัยกับเด็กวัยรุ่นตอนต้น ดังนั้นสามารถประยุกต์รูปแบบการสอนที่พัฒนาทักษะชีวิตร่วมกับส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตน เพื่อให้เกิดพฤติกรรมสุขภาพทางเพศทีปลอดภัยขึ้นได้Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27233 รูปแบบการบริหารจัดการที่ส่งผลต่อความสำเร็จของ / รุ่งนภา กุลภักดี in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : รูปแบบการบริหารจัดการที่ส่งผลต่อความสำเร็จของ : สถาบันการศึกษาพยาบาล Original title : Model of management that affect the success in the institute of nursing eduction Material Type: printed text Authors: รุ่งนภา กุลภักดี, Author ; ฃาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.129-148 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.129-148Keywords: สถาบันการศึกษาพยาบาล.รูปแบบการบริหารจัดการ.คุณลักษณะของผู้นำ.ความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล. Abstract:
Summary: การวิจัยเชิงพรรณานี้ เป็นการวิจัยเชิงปริมณและคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.วิเคราะห์หาความสัมพันธ์เชิงสาหเหตุที่เกี่ยวข้องระหว่างคุณลักษณะผู้นำ และการบริหารจัดการสถาบันที่ส่งผลต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล กลุ่มตัวอย่างคณบดี ผู้อำนวยการ และอาจารย์พยาบาลปฏืบัติหน้าที่บริหารงานของสถาบันการศึกษาพยาบาลในการวิจัยเชิงปริมาณ จำนวน 365 คน และการวิจัยเชิงคุณภาพ จำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ สถิติวิเคราะห์เส้นทางอิทธิพล (path analysis) สถิติการวิเเคราะห์โมดเสลสมการโครงสร้าง (SEM1) และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า คุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารมีอิทธิพลทางตรงกับการบริหารจัดการ (DE=1.18) และคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารมีอิทธิพลทางตรงและทางอ้อมกับความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล (DE=1.42) และโมเดลสมการโครงสร้างความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่เกี่ยวข้องระหว่างคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารและการบริหารจัดการที่ส่งผลต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาลที่พัฒนาขึ้นมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (X2 =5.909, df=6, P=.433, CMIN/df =.985, GFI=.996, AGFI =.976, RMSEA =.000) ซึ่งสามารถอธืบายผลสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาลได้ร้อยละ 54.10
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ สอดคล้องกับเชิงปริมาณในทุกมิติ และเสนอแนะให้พัฒนาคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารที่เอื้อต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล รวมทั้งการรวมกลุ่มกันเป็นเครือข่ายเพื่อพัฒนาศักยภาพ และกำหนดทิศทางการพัฒนาร่วมกันในการเสริมสร้างความแข็งแกร่งและความได้เปรียบในการแข่งขันให้กับสถาบันการศึกษาพยาบาล
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27237 [article] รูปแบบการบริหารจัดการที่ส่งผลต่อความสำเร็จของ = Model of management that affect the success in the institute of nursing eduction : สถาบันการศึกษาพยาบาล [printed text] / รุ่งนภา กุลภักดี, Author ; ฃาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Author . - 2017 . - p.129-148.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.129-148Keywords: สถาบันการศึกษาพยาบาล.รูปแบบการบริหารจัดการ.คุณลักษณะของผู้นำ.ความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล. Abstract:
Summary: การวิจัยเชิงพรรณานี้ เป็นการวิจัยเชิงปริมณและคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.วิเคราะห์หาความสัมพันธ์เชิงสาหเหตุที่เกี่ยวข้องระหว่างคุณลักษณะผู้นำ และการบริหารจัดการสถาบันที่ส่งผลต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล กลุ่มตัวอย่างคณบดี ผู้อำนวยการ และอาจารย์พยาบาลปฏืบัติหน้าที่บริหารงานของสถาบันการศึกษาพยาบาลในการวิจัยเชิงปริมาณ จำนวน 365 คน และการวิจัยเชิงคุณภาพ จำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ สถิติวิเคราะห์เส้นทางอิทธิพล (path analysis) สถิติการวิเเคราะห์โมดเสลสมการโครงสร้าง (SEM1) และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า คุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารมีอิทธิพลทางตรงกับการบริหารจัดการ (DE=1.18) และคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารมีอิทธิพลทางตรงและทางอ้อมกับความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล (DE=1.42) และโมเดลสมการโครงสร้างความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่เกี่ยวข้องระหว่างคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารและการบริหารจัดการที่ส่งผลต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาลที่พัฒนาขึ้นมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (X2 =5.909, df=6, P=.433, CMIN/df =.985, GFI=.996, AGFI =.976, RMSEA =.000) ซึ่งสามารถอธืบายผลสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาลได้ร้อยละ 54.10
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ สอดคล้องกับเชิงปริมาณในทุกมิติ และเสนอแนะให้พัฒนาคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารที่เอื้อต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล รวมทั้งการรวมกลุ่มกันเป็นเครือข่ายเพื่อพัฒนาศักยภาพ และกำหนดทิศทางการพัฒนาร่วมกันในการเสริมสร้างความแข็งแกร่งและความได้เปรียบในการแข่งขันให้กับสถาบันการศึกษาพยาบาล
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27237 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของผู้ดูแลในการดูแลเด็กป่วยเฉียบพลัน / อลิษา ทรัพย์สังข์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของผู้ดูแลในการดูแลเด็กป่วยเฉียบพลัน : วัยหัดเดินที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล Original title : Factors related to caregiver practice in caring for hospitalized toddler with acute illness Material Type: printed text Authors: อลิษา ทรัพย์สังข์, Author ; อุษณีย์ จินตะเวช, Author ; สุธิศา ล่ามช้าง, Author Publication Date: 2017 Article on page: 140-148 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - 140-148Keywords: การปฏิบัติของผู้ดูแล.การดูแลเด็กป่วยเฉียบพลัน.เด็กวัยหัดเดิน.ความวิตกกังวล.การสื่อสาร.พยาบาลผู้ดูแล Abstract: เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาหาความสัมพันธ์ เพื่อศึกษาการปฏิบัติของผู้ดูแลในการดูแลเด็กป่วยเฉียบพลันวัยเดิน ที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล และความสัมพันธ์ระหว่างชนิดการรักษาที่เด็กป่วยได้รับประสบการณ์การดูแลเด็กป่วย ความวิตกกังวล และการสื่อสารระหว่างพยาบาล และผู้ดูแลในการดูแลเด็กป่วยเฉียบพลัน กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ดูแลเด็กป่วยเฉียบพลันวัยหัดเดินที่เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลตติยภูมิสองแห่งในภาคเหนือ จำนวน 85 ราย รวบรวมข้อมูลโดยใช้ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบประเมินการวิตกกังวลต่อสถานการณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และสหสัมพันธ์อันดับสเปียร์แมน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พอยท์ไบซีเรียล
ผลการวิจัย พบว่า ผู้ดูแลปฏิบัติในการดูแลเด็กป่วยเฉียบพลันหัดเดินโดยรรวม และรายด้านในระดับมาก ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบิัติ คือ ความวิตกกังวล (r=-.214, p.05) และการสื่อสารระหว่างพยาบาลผู้ดูแล (r=.430, p<.01)
ผลการวิจัยนี้สามารถนำไปเป็นข้อมูลพื้นฐาน ในการวางแผนการดูแลเด็กป้วยเฉียบพลันที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล ครอบครัว โดยการพัฒนาการสื่อสารระหว่างพยาบาลและผู้ดูแล การลดความวิตกกังวลของผู้ดูแล เพื่อให้ผู้ดูแลปฏิบัติในการดูแลเด็กป่วยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27238 [article] ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติของผู้ดูแลในการดูแลเด็กป่วยเฉียบพลัน = Factors related to caregiver practice in caring for hospitalized toddler with acute illness : วัยหัดเดินที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล [printed text] / อลิษา ทรัพย์สังข์, Author ; อุษณีย์ จินตะเวช, Author ; สุธิศา ล่ามช้าง, Author . - 2017 . - 140-148.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - 140-148Keywords: การปฏิบัติของผู้ดูแล.การดูแลเด็กป่วยเฉียบพลัน.เด็กวัยหัดเดิน.ความวิตกกังวล.การสื่อสาร.พยาบาลผู้ดูแล Abstract: เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาหาความสัมพันธ์ เพื่อศึกษาการปฏิบัติของผู้ดูแลในการดูแลเด็กป่วยเฉียบพลันวัยเดิน ที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล และความสัมพันธ์ระหว่างชนิดการรักษาที่เด็กป่วยได้รับประสบการณ์การดูแลเด็กป่วย ความวิตกกังวล และการสื่อสารระหว่างพยาบาล และผู้ดูแลในการดูแลเด็กป่วยเฉียบพลัน กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ดูแลเด็กป่วยเฉียบพลันวัยหัดเดินที่เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลตติยภูมิสองแห่งในภาคเหนือ จำนวน 85 ราย รวบรวมข้อมูลโดยใช้ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบประเมินการวิตกกังวลต่อสถานการณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และสหสัมพันธ์อันดับสเปียร์แมน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พอยท์ไบซีเรียล
ผลการวิจัย พบว่า ผู้ดูแลปฏิบัติในการดูแลเด็กป่วยเฉียบพลันหัดเดินโดยรรวม และรายด้านในระดับมาก ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบิัติ คือ ความวิตกกังวล (r=-.214, p.05) และการสื่อสารระหว่างพยาบาลผู้ดูแล (r=.430, p<.01)
ผลการวิจัยนี้สามารถนำไปเป็นข้อมูลพื้นฐาน ในการวางแผนการดูแลเด็กป้วยเฉียบพลันที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล ครอบครัว โดยการพัฒนาการสื่อสารระหว่างพยาบาลและผู้ดูแล การลดความวิตกกังวลของผู้ดูแล เพื่อให้ผู้ดูแลปฏิบัติในการดูแลเด็กป่วยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27238 ปััจัยทำนายสมรรถนะตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา รายวิชาการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองของนักศึกษาพยาบาลหลักสูตรพยาบาลศาสตร์บัณฑิต / เบญญาภา มุกสิริทิพานัน in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : ปััจัยทำนายสมรรถนะตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา รายวิชาการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองของนักศึกษาพยาบาลหลักสูตรพยาบาลศาสตร์บัณฑิต : คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช Original title : Factors predicting nursing student's competencies based on Thai qualificationn framework for higher education of nursing students in palliative care course, Kuakarun Faculty of nursing, Navamindhadhiraj university Material Type: printed text Authors: เบญญาภา มุกสิริทิพานัน, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.149-158 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.149-158Keywords: รายวิชาการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง.นักศึกษาพยาบาล.คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์.มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช.สมรรถนะตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ. Abstract: การศึกษาปัจจัยทำนายสมรรถนะตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษารายวิชาการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองของนักศึกษาพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 191 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาการดูแลผู้ป่วย แบบประคับประคอง
แบบสอบถามพฤติกรรมการเรียนรู้ แบบสอบถามสภาพแวดล้อมทางการเรียน และแบบประเมินสมรรถนะ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษารายวิชาการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.76, 0.94 และ 0.89 ตามลำดับ
วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันวิเคราะห์ การถดถอยพหุคูณ
ผลการวิจัย พบว่า นักศึกษาพยาบาลมีคะแนนเฉลี่ยภาพรวมรายวิชาการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองอยู่ในระดับน้อย (Mean = 64.54, SD = 4.35) มีพฤติกรรมการเรียนรู้อยู่ในระดับปานกลาง (Mean = 2.81, SD = .33) ประเมินสภาพแวดล้อมทางการเรียนอยู่ในระดับดี (Mean = 4.13, SD = .34) มีสมรรถนะตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษารายวิชาการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองอยู่ในระดับดี (Mean = 4.18, SD = .37) พฤติกรรมการเรียนรู้และสภาพแวดล้อมทางการเรียนมีความสัมพันธ์ทางบวกกับสมรรถนะตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษารายวิชาการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีค่าความสัมพันธ์เท่ากับ .442 และ .398 ตามลำดับ คะแนนรายวิชาการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองไม่มีความสัมพันธ์กับสมรรถนะตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษารายวิชาการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองพฤติกรรมการเรียนรู้ และสภาพแวดล้อมทางการเรียนสามารถทำนายสมรรถนะตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
ระดับอุดมศึกษารายวิชาการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองได้ ร้อยละ 26.3Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27239 [article] ปััจัยทำนายสมรรถนะตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา รายวิชาการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองของนักศึกษาพยาบาลหลักสูตรพยาบาลศาสตร์บัณฑิต = Factors predicting nursing student's competencies based on Thai qualificationn framework for higher education of nursing students in palliative care course, Kuakarun Faculty of nursing, Navamindhadhiraj university : คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช [printed text] / เบญญาภา มุกสิริทิพานัน, Author . - 2017 . - p.149-158.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.149-158Keywords: รายวิชาการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง.นักศึกษาพยาบาล.คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์.มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช.สมรรถนะตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ. Abstract: การศึกษาปัจจัยทำนายสมรรถนะตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษารายวิชาการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองของนักศึกษาพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 191 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาการดูแลผู้ป่วย แบบประคับประคอง
แบบสอบถามพฤติกรรมการเรียนรู้ แบบสอบถามสภาพแวดล้อมทางการเรียน และแบบประเมินสมรรถนะ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษารายวิชาการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.76, 0.94 และ 0.89 ตามลำดับ
วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันวิเคราะห์ การถดถอยพหุคูณ
ผลการวิจัย พบว่า นักศึกษาพยาบาลมีคะแนนเฉลี่ยภาพรวมรายวิชาการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองอยู่ในระดับน้อย (Mean = 64.54, SD = 4.35) มีพฤติกรรมการเรียนรู้อยู่ในระดับปานกลาง (Mean = 2.81, SD = .33) ประเมินสภาพแวดล้อมทางการเรียนอยู่ในระดับดี (Mean = 4.13, SD = .34) มีสมรรถนะตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษารายวิชาการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองอยู่ในระดับดี (Mean = 4.18, SD = .37) พฤติกรรมการเรียนรู้และสภาพแวดล้อมทางการเรียนมีความสัมพันธ์ทางบวกกับสมรรถนะตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษารายวิชาการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีค่าความสัมพันธ์เท่ากับ .442 และ .398 ตามลำดับ คะแนนรายวิชาการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองไม่มีความสัมพันธ์กับสมรรถนะตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษารายวิชาการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองพฤติกรรมการเรียนรู้ และสภาพแวดล้อมทางการเรียนสามารถทำนายสมรรถนะตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
ระดับอุดมศึกษารายวิชาการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองได้ ร้อยละ 26.3Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27239 คุณลักษณะทางทหารของนักเรียนพยาบาลทหารอากาศ ตามความคิดเห็นของผู้ปกครอง วิทยาลัยพยาบาลทหารอากาศ ปีการศึกษา 2559 / นิตยา สุขแสน in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : คุณลักษณะทางทหารของนักเรียนพยาบาลทหารอากาศ ตามความคิดเห็นของผู้ปกครอง วิทยาลัยพยาบาลทหารอากาศ ปีการศึกษา 2559 Original title : Military characteristics of Air Force student nurse according to parent's opinion in Royal Thai Air Force Nursing College, Acdemic Year 2016 Material Type: printed text Authors: นิตยา สุขแสน, Author Publication Date: 2017 Article on page: น.159-167 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - น.159-167Keywords: คุณลักษะทางทหาร. นักเรียนพยาบาลทหารอากาศ. ความคิดเห็นของผู้ปกครอง. Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนามีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณลักษณะทางทหารและเปรียบเทียบคุณลักษณะทางทหารของนักเรียนพยาบาลทหารอากาศตามความคิดเห็นของผู้ปกครองนักเรียนพยาบาลทหารอากาศชั้นปีที่ 1-4 ปีการศึกษา 2559 กลุ่มตัวอย่างคือผู้ปกครองของนักเรียนพยาบาลทหารอากาศชั้นปีที่ 1-4 จำนวน 206 คน เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถาม
คุณลักษณะทางทหารของนักเรียนพยาบาลทหารอากาศ ผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและความเที่ยงโดยมีค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่าของครอนบาคเท่ากับ 0.85 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและสถิติวิเคราะห์ความแปรปรวน Analysis of Variance (ANOVA)
ผลการวิจัยพบว่า คุณลักษณะทางทหารของนักเรียนพยาบาลทหารอากาศตามความคิดเห็นของผู้ปกครองโดยรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.40, S.D. = 0.37) เมื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้ปกครองเกี่ยวกับคุณลักษณะทางทหารของนักเรียนพยาบาลทหารอากาศในแต่ละชั้นปีพบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการวิจัยสามารถใช้เป็นแนวทางในการเสริมสร้างคุณลักษณะทางทหารให้กับนักเรียนพยาบาลทหารอากาศและสามารถพัฒนาแนวทางการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาทหารให้มีประสิทธิภาพสอดคล้องกับุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามอัตลักษณ์วิทยาลัยพยาบาลทหารอากาศต่อไป
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27240 [article] คุณลักษณะทางทหารของนักเรียนพยาบาลทหารอากาศ ตามความคิดเห็นของผู้ปกครอง วิทยาลัยพยาบาลทหารอากาศ ปีการศึกษา 2559 = Military characteristics of Air Force student nurse according to parent's opinion in Royal Thai Air Force Nursing College, Acdemic Year 2016 [printed text] / นิตยา สุขแสน, Author . - 2017 . - น.159-167.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - น.159-167Keywords: คุณลักษะทางทหาร. นักเรียนพยาบาลทหารอากาศ. ความคิดเห็นของผู้ปกครอง. Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนามีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณลักษณะทางทหารและเปรียบเทียบคุณลักษณะทางทหารของนักเรียนพยาบาลทหารอากาศตามความคิดเห็นของผู้ปกครองนักเรียนพยาบาลทหารอากาศชั้นปีที่ 1-4 ปีการศึกษา 2559 กลุ่มตัวอย่างคือผู้ปกครองของนักเรียนพยาบาลทหารอากาศชั้นปีที่ 1-4 จำนวน 206 คน เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถาม
คุณลักษณะทางทหารของนักเรียนพยาบาลทหารอากาศ ผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและความเที่ยงโดยมีค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่าของครอนบาคเท่ากับ 0.85 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและสถิติวิเคราะห์ความแปรปรวน Analysis of Variance (ANOVA)
ผลการวิจัยพบว่า คุณลักษณะทางทหารของนักเรียนพยาบาลทหารอากาศตามความคิดเห็นของผู้ปกครองโดยรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.40, S.D. = 0.37) เมื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้ปกครองเกี่ยวกับคุณลักษณะทางทหารของนักเรียนพยาบาลทหารอากาศในแต่ละชั้นปีพบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการวิจัยสามารถใช้เป็นแนวทางในการเสริมสร้างคุณลักษณะทางทหารให้กับนักเรียนพยาบาลทหารอากาศและสามารถพัฒนาแนวทางการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาทหารให้มีประสิทธิภาพสอดคล้องกับุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามอัตลักษณ์วิทยาลัยพยาบาลทหารอากาศต่อไป
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27240 การพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน) / ยุภา เทอดอุดมธรรม in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : การพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน) Original title : The Development Of Head Nurses’ Competency Assessment For Banphaeo Hospital (Public Organization) Material Type: printed text Authors: ยุภา เทอดอุดมธรรม, Author ; สุวิณี วิวัฒน์วานิช, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.168-177 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.168-177Keywords: การประเมินสมรรถนะ.หัวหน้าหอผู้ป่วย.โรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน) Abstract: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะ และกำหนดเกณฑ์ตัดสินผลการประเมินสมรรถนะหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน)ทำการศึกษา 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การสร้างแบบประเมิน โดยการสังเคราะห์และวิเคราะห์ความสอดคล้องขององค์ประกอบสมรรถนะใช้การสนทนากลุ่มและการประชุมสัมมนาอิงผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 8 คน
จากนั้นสร้างเกณฑ์การประเมินแบบมาตรประมาณค่าแบบยึดพฤติกรรม (BARS) วิเคราะห์ความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 คน วิเคราะห์คุณภาพของแบบประเมินด้านความคงที่โดยพยาบาลผู้ใต้บังคับบัญชาจำนวน 3 คู่ ประเมินหัวหน้าหอผู้ป่วย 3 คน และหาค่าความสอดคล้องภายใน โดยนำแบบประเมินไปใช้กับประชากร คือหัวหน้าหอผู้ป่วย จำนวน 30 คน ประเมินโดยหัวหน้าพยาบาล/ประธานองค์การพยาบาล หัวหน้าหอผู้ป่วยประเมินตนเอง และพยาบาลผู้ใต้บังคับบัญชาจำนวน 30 คนประเมิน หัวหน้าหอผู้ป่วย ระยะที่ 2 การกำหนดเกณฑ์ตัดสินผลการประเมินสมรรถนะ โดยนำผลการประเมินที่ได้มากำหนดคะแนนจุดตัด โดยผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารการพยาบาล จำนวน 8 คน ผลการศึกษาสรุป ได้ดังนี้
1. แบบประเมินสมรรถนะหัวหน้าหอผู้ป่วย ประกอบด้วยสมรรถนะ 7 ด้าน ข้อรายการสมรรถนะ 34 ข้อ คือ 1) ภาวะผู้นำและการทำงานเป็นทีม (9 ข้อ) 2) การบริหารจัดการทรัพยากร (6 ข้อ) 3) การพัฒนาคุณภาพบริการ (6 ข้อ) 4) การสื่อสารและการสร้างสัมพันธภาพ (4 ข้อ) 5) จริยธรรม จรรยาบรรณ และกฎหมายวิชาชีพ (3 ข้อ) 6) นโยบายและสิ่งแวดล้อมด้านสุขภาพ (2 ข้อ) และ 7) การจัดการเชิงธุรกิจ (4 ข้อ)
2. ผลการตรวจสอบคุณภาพของแบบประเมิน พบว่า แบบประเมินมีความตรงตามเนื้อหา เท่ากับ .91 ความเที่ยงของการสังเกต เท่ากับ .82 และความสอดคล้องภายในด้วยวิธีการวิเคราะห์ความแปรปรวนของฮอยท์ (Hoyt’s Analysis of Variance method) เท่ากับ .99 3. เกณฑ์ตัดสินสมรรถนะหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน) โดยรวมมีค่าคะแนนจุดตัดที่ T41.71Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27241 [article] การพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน) = The Development Of Head Nurses’ Competency Assessment For Banphaeo Hospital (Public Organization) [printed text] / ยุภา เทอดอุดมธรรม, Author ; สุวิณี วิวัฒน์วานิช, Author . - 2017 . - p.168-177.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.168-177Keywords: การประเมินสมรรถนะ.หัวหน้าหอผู้ป่วย.โรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน) Abstract: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะ และกำหนดเกณฑ์ตัดสินผลการประเมินสมรรถนะหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน)ทำการศึกษา 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การสร้างแบบประเมิน โดยการสังเคราะห์และวิเคราะห์ความสอดคล้องขององค์ประกอบสมรรถนะใช้การสนทนากลุ่มและการประชุมสัมมนาอิงผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 8 คน
จากนั้นสร้างเกณฑ์การประเมินแบบมาตรประมาณค่าแบบยึดพฤติกรรม (BARS) วิเคราะห์ความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 คน วิเคราะห์คุณภาพของแบบประเมินด้านความคงที่โดยพยาบาลผู้ใต้บังคับบัญชาจำนวน 3 คู่ ประเมินหัวหน้าหอผู้ป่วย 3 คน และหาค่าความสอดคล้องภายใน โดยนำแบบประเมินไปใช้กับประชากร คือหัวหน้าหอผู้ป่วย จำนวน 30 คน ประเมินโดยหัวหน้าพยาบาล/ประธานองค์การพยาบาล หัวหน้าหอผู้ป่วยประเมินตนเอง และพยาบาลผู้ใต้บังคับบัญชาจำนวน 30 คนประเมิน หัวหน้าหอผู้ป่วย ระยะที่ 2 การกำหนดเกณฑ์ตัดสินผลการประเมินสมรรถนะ โดยนำผลการประเมินที่ได้มากำหนดคะแนนจุดตัด โดยผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารการพยาบาล จำนวน 8 คน ผลการศึกษาสรุป ได้ดังนี้
1. แบบประเมินสมรรถนะหัวหน้าหอผู้ป่วย ประกอบด้วยสมรรถนะ 7 ด้าน ข้อรายการสมรรถนะ 34 ข้อ คือ 1) ภาวะผู้นำและการทำงานเป็นทีม (9 ข้อ) 2) การบริหารจัดการทรัพยากร (6 ข้อ) 3) การพัฒนาคุณภาพบริการ (6 ข้อ) 4) การสื่อสารและการสร้างสัมพันธภาพ (4 ข้อ) 5) จริยธรรม จรรยาบรรณ และกฎหมายวิชาชีพ (3 ข้อ) 6) นโยบายและสิ่งแวดล้อมด้านสุขภาพ (2 ข้อ) และ 7) การจัดการเชิงธุรกิจ (4 ข้อ)
2. ผลการตรวจสอบคุณภาพของแบบประเมิน พบว่า แบบประเมินมีความตรงตามเนื้อหา เท่ากับ .91 ความเที่ยงของการสังเกต เท่ากับ .82 และความสอดคล้องภายในด้วยวิธีการวิเคราะห์ความแปรปรวนของฮอยท์ (Hoyt’s Analysis of Variance method) เท่ากับ .99 3. เกณฑ์ตัดสินสมรรถนะหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน) โดยรวมมีค่าคะแนนจุดตัดที่ T41.71Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27241 การพัฒนาบทเรียนสื่อประสมเพื่อเสริมทักษะการเรียนรู้กายวิภาคศาสตร์ พื้นฐานระบบกระดูกของนิสิตพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 2 มหาวิทยาลัยพะเยา / วรัทยา กุลนิธิชัย in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : การพัฒนาบทเรียนสื่อประสมเพื่อเสริมทักษะการเรียนรู้กายวิภาคศาสตร์ พื้นฐานระบบกระดูกของนิสิตพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 2 มหาวิทยาลัยพะเยา Original title : Development of Multimedia for enhancing’s Knowledge in the Basic Anatomy in Human Skeletal System of Nursing Student second years of University of Phayao Material Type: printed text Authors: วรัทยา กุลนิธิชัย, Author ; ศิริรัตน์ โกศัลวัฒน์, Author ; เยาวณี จรูญศักดิ์, Author ; แสงเดือน พรมแก้วงาม, Author Publication Date: 2017 Article on page: น.186-193 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - น.186-193Keywords: กายวิภาคศาสตร์.การพัฒนาบทเรียนสื่อประสม.ทักษะการเรียนรู้.ระบบกระดูก.นิสิตพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 2.มหาวิทยาลัยพะเยา. Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองชนิดกลุ่มเดียววัดผลก่อนและหลังการทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินประสิทธิภาพบทเรียนสื่อประสมเสริมทักษะการเรียนรู้กายวิภาคศาสตร์พื้นฐานระบบกระดูกของนิสิตพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 2 มหาวิทยาลัยพะเยา
กลุ่มตัวอย่างเป็นนิสิตพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 2 จำนวน 30 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน และความพึงพอใจต่อการใช้บทเรียนสื่อประสมกายวิภาคศาสตร์พื้นฐานระบบกระดูก มีค่าความเชื่อมั่นครอนบาคอัลฟา .89 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ การหาความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย วิเคราะห์สถิติสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน เปรียบเทียบผลคะแนนก่อนและหลังเรียนบทเรียนสื่อประสมโดยใช้สถิติทดสอบกลุ่มตัวอย่างที่ไม่เป็นอิสระต่อกัน และวิเคราะห์ระสิทธิภาพบทเรียนสื่อประสมกายวิภาคศาสตร์ระบบกระดูกโดยยึดหลัก E1/E2 = 80/80
ผลการวิจัย พบว่า ประสิทธิภาพบทเรียนสื่อประสมเสริมทักษะการเรียนรู้กายวิภาคศาสตร์พื้นฐานระบบกระดูกที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพ 81.89/84.47 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ที่กำหนดไว้ ผลคะแนนหลังเรียนบทเรียนสื่อประสมกายวิภาคศาสตร์พื้นฐานระบบกระดูกสูงขึ้นกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) และคะแนนความความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมาก (M = 4.28, SD = 0.42)Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27242 [article] การพัฒนาบทเรียนสื่อประสมเพื่อเสริมทักษะการเรียนรู้กายวิภาคศาสตร์ พื้นฐานระบบกระดูกของนิสิตพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 2 มหาวิทยาลัยพะเยา = Development of Multimedia for enhancing’s Knowledge in the Basic Anatomy in Human Skeletal System of Nursing Student second years of University of Phayao [printed text] / วรัทยา กุลนิธิชัย, Author ; ศิริรัตน์ โกศัลวัฒน์, Author ; เยาวณี จรูญศักดิ์, Author ; แสงเดือน พรมแก้วงาม, Author . - 2017 . - น.186-193.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - น.186-193Keywords: กายวิภาคศาสตร์.การพัฒนาบทเรียนสื่อประสม.ทักษะการเรียนรู้.ระบบกระดูก.นิสิตพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 2.มหาวิทยาลัยพะเยา. Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองชนิดกลุ่มเดียววัดผลก่อนและหลังการทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินประสิทธิภาพบทเรียนสื่อประสมเสริมทักษะการเรียนรู้กายวิภาคศาสตร์พื้นฐานระบบกระดูกของนิสิตพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 2 มหาวิทยาลัยพะเยา
กลุ่มตัวอย่างเป็นนิสิตพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 2 จำนวน 30 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน และความพึงพอใจต่อการใช้บทเรียนสื่อประสมกายวิภาคศาสตร์พื้นฐานระบบกระดูก มีค่าความเชื่อมั่นครอนบาคอัลฟา .89 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ การหาความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย วิเคราะห์สถิติสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน เปรียบเทียบผลคะแนนก่อนและหลังเรียนบทเรียนสื่อประสมโดยใช้สถิติทดสอบกลุ่มตัวอย่างที่ไม่เป็นอิสระต่อกัน และวิเคราะห์ระสิทธิภาพบทเรียนสื่อประสมกายวิภาคศาสตร์ระบบกระดูกโดยยึดหลัก E1/E2 = 80/80
ผลการวิจัย พบว่า ประสิทธิภาพบทเรียนสื่อประสมเสริมทักษะการเรียนรู้กายวิภาคศาสตร์พื้นฐานระบบกระดูกที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพ 81.89/84.47 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ที่กำหนดไว้ ผลคะแนนหลังเรียนบทเรียนสื่อประสมกายวิภาคศาสตร์พื้นฐานระบบกระดูกสูงขึ้นกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) และคะแนนความความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมาก (M = 4.28, SD = 0.42)Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27242 การประเมินความต้องการจำเป็นของความผาสุกทางจิตวิญญาณ ในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช / บุญทิวา สุวิทย์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : การประเมินความต้องการจำเป็นของความผาสุกทางจิตวิญญาณ ในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช Material Type: printed text Authors: บุญทิวา สุวิทย์, Author ; ขจี พงศธรวิบูลย์, Author ; ชูจิต หวังขจรเกียรติ, Author ; สุณี พนาสกุลการ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.194-202 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.194-202Keywords: การประเมินความต้องการจำเป็น. ความผาสุกทางจิตวิญญาณ. ผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ. Needs assessment. spiritual well-being. Head and neck cancer patients. Abstract: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบพรรณนาเชิงประเมิน ศึกษาในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอที่เข้ามารับการรักษาในหอผู้ป่วยโสต ศอ นาสิก คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชจำนวน 86 คน เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบ ประเมินความต้องการจำเป็นของความผาสุกทางจิตวิญญาณในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา (content validity) มีค่า IOC = 1 ค่าความเชื่อมั่น (reliability) มีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (Cronbach’s Alpha Coefficient) = 0.763 วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา และ กำหนดความต้องการจำเป็นโดยใช้สูตร Prioritization Needs Index (PNIModified) ผลการวิจัยพบว่าความผาสุกทางจิตวิญญาณในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 3.86, SD = 0.52) และทุกองค์ประกอบของความผาสุกทางจิตวิญญาณอยู่ในระดับมาก อย่างไรก็ตามผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอมีความ ต้องการจำเป็นของความผาสุกทางจิตวิญญาณ 3 อันดับแรกคือ 1) รู้สึกว้าวุ่นใจ กระวนกระวายใจ และไม่มีความสุข ตั้งแต่รับรู้ว่า ตนเองเจ็บป่วย (PNIModified = 0.86) 2) แม้จะได้รับการรักษาแล้วแต่เมื่อโรคมีอาการรุนแรงขึ้น ก็ยังคงรู้สึกทุกข์ทรมานใจมากขึ้น (PNIModified = 0.77) และ 3) รู้สึกกลัวทุกครั้งเมื่อนึกถึงความเจ็บป่วยที่รุนแรง (PNIModified = 0.70) Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27243 [article] การประเมินความต้องการจำเป็นของความผาสุกทางจิตวิญญาณ ในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช [printed text] / บุญทิวา สุวิทย์, Author ; ขจี พงศธรวิบูลย์, Author ; ชูจิต หวังขจรเกียรติ, Author ; สุณี พนาสกุลการ, Author . - 2017 . - p.194-202.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.194-202Keywords: การประเมินความต้องการจำเป็น. ความผาสุกทางจิตวิญญาณ. ผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ. Needs assessment. spiritual well-being. Head and neck cancer patients. Abstract: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบพรรณนาเชิงประเมิน ศึกษาในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอที่เข้ามารับการรักษาในหอผู้ป่วยโสต ศอ นาสิก คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชจำนวน 86 คน เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบ ประเมินความต้องการจำเป็นของความผาสุกทางจิตวิญญาณในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา (content validity) มีค่า IOC = 1 ค่าความเชื่อมั่น (reliability) มีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (Cronbach’s Alpha Coefficient) = 0.763 วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา และ กำหนดความต้องการจำเป็นโดยใช้สูตร Prioritization Needs Index (PNIModified) ผลการวิจัยพบว่าความผาสุกทางจิตวิญญาณในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 3.86, SD = 0.52) และทุกองค์ประกอบของความผาสุกทางจิตวิญญาณอยู่ในระดับมาก อย่างไรก็ตามผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอมีความ ต้องการจำเป็นของความผาสุกทางจิตวิญญาณ 3 อันดับแรกคือ 1) รู้สึกว้าวุ่นใจ กระวนกระวายใจ และไม่มีความสุข ตั้งแต่รับรู้ว่า ตนเองเจ็บป่วย (PNIModified = 0.86) 2) แม้จะได้รับการรักษาแล้วแต่เมื่อโรคมีอาการรุนแรงขึ้น ก็ยังคงรู้สึกทุกข์ทรมานใจมากขึ้น (PNIModified = 0.77) และ 3) รู้สึกกลัวทุกครั้งเมื่อนึกถึงความเจ็บป่วยที่รุนแรง (PNIModified = 0.70) Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27243 การประเมินหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555 วิทยาลัยพยาบาลทหารอากาศ / บังอร ฤทธิ์อุดม in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : การประเมินหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555 วิทยาลัยพยาบาลทหารอากาศ Original title : An Evaluation of the Bachelor of Nursing Science Curriculum (Revised curriculum, 2012) Royal Thai Air Force Nursing College Material Type: printed text Authors: บังอร ฤทธิ์อุดม, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.203-211 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.203-211Keywords: การประเมินหลักสูตร. หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต. วิทยาลัยพยาบาลทหารอากาศ. Evaluation of curriculum. Bachelor of Nursing Science Curriculum. Royal Thai Air Force Nursing College. Abstract: การศึกษาเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555 ของวิทยาลัยพยาบาทหารอากาศ ตามรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) โดยประเมินหลักสูตร 4 ด้าน ได้แก่ ด้านบริบท ด้านปัจจัย นำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนพยาบาลทหารอากาศ (นพอ.) ชั้นปีที่ 4 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 45คนเครื่องมือที่ใช้คือแบบประเมินบริบท แบบประเมินปัจจัยนำเข้าแบบประเมินกระบวนการและแบบประเมินผลผลิต ได้รับ การตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ3 ท่าน พบว่าค่า IOC เท่ากับ 0.67-1.00 และตรวจสอบความเที่ยงของ เครื่องมือโดยวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่าของครอนบาค พบว่ามีค่าความเที่ยงของเครื่องมือเท่ากับ 0.74, 0.89, 0.95และ 0.86 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. ด้านบริบท นพอ. ชั้นปีที่ 4 มีความคิดเห็นเกี่ยวกับปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตรอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.59, S.D.= 0.33) และมีความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงสร้างและเนื้อหาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2555 พบว่า อยู่ในระดับมาก ( = 4.33, S.D. = 0.71) 2. ด้านปัจจัยนำเข้านพอ.ชั้นปีที่4มีความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยนำเข้าหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2555 อยู่ในระดับมาก ( = 4.03, S.D. = 0.69) 3. ด้านกระบวนการ นพอ. ชั้นปีที่4มีความคิดเห็นเกี่ยวกับกระบวนการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรพยาบาลศาสตร บัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2555 อยู่ในระดับมาก ( = 4.09, S.D. = 0.67) 4. ด้านผลผลิต นพอ.ชั้นปีที่4มีความคิดเห็นเกี่ยวกับสมรรถนะเชิงวิชาชีพทั้ง8ด้าน อยู่ในระดับปานกลาง ( = 3.04, S.D. = 0.96) ผลการวิจัยครั้งนี้สามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต หลักสูตร ปรับปรุง พ.ศ.2561ในด้านการจัดหาทรัพยากรสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนรวมถึงวิธีการวัดและการประเมินผลเพื่อส่งเสริม ให้หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27244 [article] การประเมินหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555 วิทยาลัยพยาบาลทหารอากาศ = An Evaluation of the Bachelor of Nursing Science Curriculum (Revised curriculum, 2012) Royal Thai Air Force Nursing College [printed text] / บังอร ฤทธิ์อุดม, Author . - 2017 . - p.203-211.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.203-211Keywords: การประเมินหลักสูตร. หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต. วิทยาลัยพยาบาลทหารอากาศ. Evaluation of curriculum. Bachelor of Nursing Science Curriculum. Royal Thai Air Force Nursing College. Abstract: การศึกษาเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555 ของวิทยาลัยพยาบาทหารอากาศ ตามรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) โดยประเมินหลักสูตร 4 ด้าน ได้แก่ ด้านบริบท ด้านปัจจัย นำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนพยาบาลทหารอากาศ (นพอ.) ชั้นปีที่ 4 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 45คนเครื่องมือที่ใช้คือแบบประเมินบริบท แบบประเมินปัจจัยนำเข้าแบบประเมินกระบวนการและแบบประเมินผลผลิต ได้รับ การตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ3 ท่าน พบว่าค่า IOC เท่ากับ 0.67-1.00 และตรวจสอบความเที่ยงของ เครื่องมือโดยวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่าของครอนบาค พบว่ามีค่าความเที่ยงของเครื่องมือเท่ากับ 0.74, 0.89, 0.95และ 0.86 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. ด้านบริบท นพอ. ชั้นปีที่ 4 มีความคิดเห็นเกี่ยวกับปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตรอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.59, S.D.= 0.33) และมีความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงสร้างและเนื้อหาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2555 พบว่า อยู่ในระดับมาก ( = 4.33, S.D. = 0.71) 2. ด้านปัจจัยนำเข้านพอ.ชั้นปีที่4มีความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยนำเข้าหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2555 อยู่ในระดับมาก ( = 4.03, S.D. = 0.69) 3. ด้านกระบวนการ นพอ. ชั้นปีที่4มีความคิดเห็นเกี่ยวกับกระบวนการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรพยาบาลศาสตร บัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2555 อยู่ในระดับมาก ( = 4.09, S.D. = 0.67) 4. ด้านผลผลิต นพอ.ชั้นปีที่4มีความคิดเห็นเกี่ยวกับสมรรถนะเชิงวิชาชีพทั้ง8ด้าน อยู่ในระดับปานกลาง ( = 3.04, S.D. = 0.96) ผลการวิจัยครั้งนี้สามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต หลักสูตร ปรับปรุง พ.ศ.2561ในด้านการจัดหาทรัพยากรสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนรวมถึงวิธีการวัดและการประเมินผลเพื่อส่งเสริม ให้หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27244 การพัฒนาแบบวัดความรับผิดชอบของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ / ปริญญาภรณ์ ธนะบุญปวง in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : การพัฒนาแบบวัดความรับผิดชอบของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ Original title : Development Responsibility Scale for Nursing Student (RSN) Material Type: printed text Authors: ปริญญาภรณ์ ธนะบุญปวง, Author ; ศิริเดช สุชีวะ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.212-219 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.212-219Keywords: แบบวัดความรับผิดชอบ.นักศึกษาพยาบาลศาสตร์. Abstract: ความรับผิดชอบเป็นคุณลักษณะพื้นฐานสำคัญในสาขาพยาบาลศาสตร์ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติของประเทศไทยและอีกหลายๆ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์3 ประการ ได้แก่ 1) พัฒนาโมเดลการวัดและแบบวัดความ รับผิดชอบ 2)ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือและ3)กำหนดคะแนนจุดตัดตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่4 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 1,106คน จาก 18 สถาบัน เครื่องมือเป็นแบบวัดความรับผิดชอบบนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียวิธีวิจัยแบ่งเป็น 3ระยะ ได้แก่1)การพัฒนาโมเดลการวัดและแบบวัดความรับผิดชอบ 2)การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือด้วยการวิเคราะห์คุณภาพรายข้อ ความเที่ยงความตรงเชิงโครงสร้างและ3)การกำหนดคะแนนจุดตัดผลการวิจัย พบว่าโมเดลการวัดประกอบด้วย3องค์ประกอบ ได้แก่1)ความรับผิดชอบต่อตนเอง/หน้าที่2)ความรับผิดชอบ ต่อผู้อื่น 3)ความรับผิดชอบต่อสังคม/วิชาชีพ ความเที่ยงแบบความ สอดคล้องภายในโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค เท่ากับ .880 การตรวจสอบคุณภาพตามทฤษฎีการทดสอบแบบ ดั้งเดิม (CTT) พบว่า อำนาจจำแนก (r) มีค่าระหว่าง .375 -.546 ทฤษฎีการตอบสนองข้อสอบ (IRT) พบว่า พารามิเตอร์อำนาจ จำแนก (a) มีค่าระหว่าง 0 .93-1.69 ความยาก (b) มีค่าระหว่าง-0.92 ถึง-0.25 ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยืน พบว่า โมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์คะแนนจุดตัดที่กำหนดด้วยวิธีบุ๊คมาร์คมีค่าเท่ากับระดับความสามารถ (theta)–0.40 ผลการวิจัยสรุปได้ว่า เครื่องมือที่พัฒนาขึ้นมีความเที่ยงและความตรงสามารถประยุกต์ใช้ในการวัดประเมินผลความรับผิดชอบของ นักศึกษาพยาบาลได้ Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27245 [article] การพัฒนาแบบวัดความรับผิดชอบของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ = Development Responsibility Scale for Nursing Student (RSN) [printed text] / ปริญญาภรณ์ ธนะบุญปวง, Author ; ศิริเดช สุชีวะ, Author . - 2017 . - p.212-219.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.212-219Keywords: แบบวัดความรับผิดชอบ.นักศึกษาพยาบาลศาสตร์. Abstract: ความรับผิดชอบเป็นคุณลักษณะพื้นฐานสำคัญในสาขาพยาบาลศาสตร์ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติของประเทศไทยและอีกหลายๆ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์3 ประการ ได้แก่ 1) พัฒนาโมเดลการวัดและแบบวัดความ รับผิดชอบ 2)ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือและ3)กำหนดคะแนนจุดตัดตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่4 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 1,106คน จาก 18 สถาบัน เครื่องมือเป็นแบบวัดความรับผิดชอบบนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียวิธีวิจัยแบ่งเป็น 3ระยะ ได้แก่1)การพัฒนาโมเดลการวัดและแบบวัดความรับผิดชอบ 2)การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือด้วยการวิเคราะห์คุณภาพรายข้อ ความเที่ยงความตรงเชิงโครงสร้างและ3)การกำหนดคะแนนจุดตัดผลการวิจัย พบว่าโมเดลการวัดประกอบด้วย3องค์ประกอบ ได้แก่1)ความรับผิดชอบต่อตนเอง/หน้าที่2)ความรับผิดชอบ ต่อผู้อื่น 3)ความรับผิดชอบต่อสังคม/วิชาชีพ ความเที่ยงแบบความ สอดคล้องภายในโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค เท่ากับ .880 การตรวจสอบคุณภาพตามทฤษฎีการทดสอบแบบ ดั้งเดิม (CTT) พบว่า อำนาจจำแนก (r) มีค่าระหว่าง .375 -.546 ทฤษฎีการตอบสนองข้อสอบ (IRT) พบว่า พารามิเตอร์อำนาจ จำแนก (a) มีค่าระหว่าง 0 .93-1.69 ความยาก (b) มีค่าระหว่าง-0.92 ถึง-0.25 ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยืน พบว่า โมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์คะแนนจุดตัดที่กำหนดด้วยวิธีบุ๊คมาร์คมีค่าเท่ากับระดับความสามารถ (theta)–0.40 ผลการวิจัยสรุปได้ว่า เครื่องมือที่พัฒนาขึ้นมีความเที่ยงและความตรงสามารถประยุกต์ใช้ในการวัดประเมินผลความรับผิดชอบของ นักศึกษาพยาบาลได้ Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27245 พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยที่มีการตีบซ้ำ หลังใส่ขดลวดค้ำยันหลอดเลือดหัวใจ / ศันสนีย์ ดำรงค์ศิลป in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยที่มีการตีบซ้ำ หลังใส่ขดลวดค้ำยันหลอดเลือดหัวใจ Original title : Self–Care Behaviors among Patients with Coronary In-stent Restenosis Material Type: printed text Authors: ศันสนีย์ ดำรงค์ศิลป, Author ; พรรณวดี พุธวัฒนะ, Author ; กุสุมา คุววัฒนสัมฤทธิ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.220-227 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.220-227Keywords: หลอดเลือดหัวใจ.พฤติกรรมการดูแลตนเอง.ผู้ป่วยที่มีการตีบซ้ำ.ขดลวดค้ำยัน. Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยายมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการดูแลตนเองข้อมูลทางคลินิกการรับรู้สาเหตุ และแนวทางป้องกันการตีบซ้ำของผู้ป่วยที่เกิดการตีบซ้ำหลังใส่ขดลวดค้ำยันหลอดเลือดหัวใจ กลุ่มตัวอย่าง 22 รายเป็นผู้ป่วยที่มี คุณสมบัติตามที่กำหนด ในเวลา 6 เดือนที่ศึกษา เก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์ตามแบบวัดพฤติกรรมการดูแลตนเองที่สร้างจากการ ทบทวนวรรณกรรมและแนวทางทางการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันและลดปัจจัยเสี่ยงของโรคหลอดเลือดหัวใจและโรคหลอดเลือดแข็ง ระดับทุติยภูมิวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติบรรยาย และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีหลอดเลือดแดงเลี้ยงหัวใจตีบ 3เส้น ร้อยละ77.3 หลอดเลือดแดงเลี้ยงหัวใจ ด้านขวาและด้านหน้าซ้ายเกิดการตีบซ้ำร้อยละ 45.5 เท่ากันเกิดการตีบซ้ำแบบช้ามาก ร้อยละ 95.5 มีพฤติกรรมการดูแลตนเอง โดยรวมระดับปานกลางมีพฤติกรรมดีด้านการเลิกและไม่อยู่ในที่มีควันบุหรี่และด้านการรับประทานยามีพฤติกรรมปานกลางด้าน การบริโภคอาหาร กิจกรรมทางกาย/การออกกำลังกาย/การพักผ่อน การปฏิบัติตามแผนการรักษา การจัดการความเครียด มี พฤติกรรมไม่ดีด้านจิตสังคมและการแสวงหาความช่วยเหลือมีการรับรู้สาเหตุการตีบซ้ำว่าเกิดจากการปฏิบัติตัวไม่เหมาะสม และ วางแผนป้องกันการตีบซ้ำโดยปรับปรุงพฤติกรรมการบริโภค Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27246 [article] พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยที่มีการตีบซ้ำ หลังใส่ขดลวดค้ำยันหลอดเลือดหัวใจ = Self–Care Behaviors among Patients with Coronary In-stent Restenosis [printed text] / ศันสนีย์ ดำรงค์ศิลป, Author ; พรรณวดี พุธวัฒนะ, Author ; กุสุมา คุววัฒนสัมฤทธิ์, Author . - 2017 . - p.220-227.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.220-227Keywords: หลอดเลือดหัวใจ.พฤติกรรมการดูแลตนเอง.ผู้ป่วยที่มีการตีบซ้ำ.ขดลวดค้ำยัน. Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยายมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการดูแลตนเองข้อมูลทางคลินิกการรับรู้สาเหตุ และแนวทางป้องกันการตีบซ้ำของผู้ป่วยที่เกิดการตีบซ้ำหลังใส่ขดลวดค้ำยันหลอดเลือดหัวใจ กลุ่มตัวอย่าง 22 รายเป็นผู้ป่วยที่มี คุณสมบัติตามที่กำหนด ในเวลา 6 เดือนที่ศึกษา เก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์ตามแบบวัดพฤติกรรมการดูแลตนเองที่สร้างจากการ ทบทวนวรรณกรรมและแนวทางทางการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันและลดปัจจัยเสี่ยงของโรคหลอดเลือดหัวใจและโรคหลอดเลือดแข็ง ระดับทุติยภูมิวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติบรรยาย และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีหลอดเลือดแดงเลี้ยงหัวใจตีบ 3เส้น ร้อยละ77.3 หลอดเลือดแดงเลี้ยงหัวใจ ด้านขวาและด้านหน้าซ้ายเกิดการตีบซ้ำร้อยละ 45.5 เท่ากันเกิดการตีบซ้ำแบบช้ามาก ร้อยละ 95.5 มีพฤติกรรมการดูแลตนเอง โดยรวมระดับปานกลางมีพฤติกรรมดีด้านการเลิกและไม่อยู่ในที่มีควันบุหรี่และด้านการรับประทานยามีพฤติกรรมปานกลางด้าน การบริโภคอาหาร กิจกรรมทางกาย/การออกกำลังกาย/การพักผ่อน การปฏิบัติตามแผนการรักษา การจัดการความเครียด มี พฤติกรรมไม่ดีด้านจิตสังคมและการแสวงหาความช่วยเหลือมีการรับรู้สาเหตุการตีบซ้ำว่าเกิดจากการปฏิบัติตัวไม่เหมาะสม และ วางแผนป้องกันการตีบซ้ำโดยปรับปรุงพฤติกรรมการบริโภค Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27246 ปัจจัยทำนายผลการสอบขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาต เป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง ของบัณฑิตพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก / ศิริญญา คงอยู่ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : ปัจจัยทำนายผลการสอบขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาต เป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง ของบัณฑิตพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก Original title : Predictors of the Result of the License Examination of Graduated Nurses, Royal Thai Army Nurse College Material Type: printed text Authors: ศิริญญา คงอยู่, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.228-237 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.228-237Keywords: ปัจจัยทำนาย. ผลการสอบขึ้นทะเบียนฯ. Factors. Result of Tha License Examination. Abstract: การวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยคัดสรร ประกอบด้วย ปัจจัยด้านบุคคล และปัจจัยด้านการ สนับสนุนจากวิทยาลัย ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรรกับผลการสอบขึ้นทะเบียนฯ และสร้างสมการทำนายผลการสอบ ขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่งของบัณฑิตพยาบาล วิทยาลัยพยาบาล กองทัพบกกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สำเร็จการศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตรุ่นที่49 ปีการศึกษา2558วิทยาลัยพยาบาลกองทัพ บก จำนวน 79 คน และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้Regression analysis ผลการวิจัย พบว่า ปัจจัยด้านบุคคล กลุ่มตัวอย่างมีเกรดเฉลี่ยสะสมอยู่ในช่วง 3.01-4.00 คิดเป็นร้อยละ 92.9 ผลการ สอบผ่านการสอบรวบยอดสาขาพยาบาลศาสตร์คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล(ในการสอบครั้งแรก) ทั้ง8รายวิชาคิด เป็นร้อยละ59.5มีพฤติกรรมการเตรียมตัวสอบ อยู่ในระดับมาก(M = 3.76,SD = 0.47)มีความวิตกกังวลในการสอบ อยู่ในระดับ ปานกลาง (M = 2.72, SD = 0.67) มีทัศนคติต่อการสอบ อยู่ในระดับมาก (M = 4.19, SD = 0.60) มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ในการเต รียมตัวสอบ อยู่ในระดับมากที่สุด(M = 4.44, SD = 0.50)ส่วนปัจจัยด้านการสนับสนุนจากวิทยาลัยด้านวิชาการอยู่ในระดับมาก (M = 3.67, SD = 0.80) ด้านกิจกรรม อยู่ในระดับปานกลาง (M=3.30, SD=0.90) และด้านสิ่งอำนวยความสะดวก อยู่ในระดับ ปานกลาง (M = 3.35, SD = 1.02) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับผลการสอบขึ้นทะเบียนฯ ได้แก่ เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตร (r = .269)ผลการสอบรวบยอดสาขาพยาบาลศาสตร์คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล(r = .468)และทัศนคติต่อการสอบ (r = .391) และสมการทำนายผลการสอบขึ้นทะเบียนฯ เป็นดังนี้ผลการสอบขึ้นทะเบียนฯ = 5.760+ 0.177 ผลการสอบรวบยอด + 0.021 ทัศนคติต่อการสอบ ข้อเสนอแนะในการนำไปใช้ผลการวิจัยที่ได้สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาคุณภาพของสถาบันการศึกษาและพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาเพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานของสภาการพยาบาล ต่อไป Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27247 [article] ปัจจัยทำนายผลการสอบขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาต เป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง ของบัณฑิตพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก = Predictors of the Result of the License Examination of Graduated Nurses, Royal Thai Army Nurse College [printed text] / ศิริญญา คงอยู่, Author . - 2017 . - p.228-237.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.228-237Keywords: ปัจจัยทำนาย. ผลการสอบขึ้นทะเบียนฯ. Factors. Result of Tha License Examination. Abstract: การวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยคัดสรร ประกอบด้วย ปัจจัยด้านบุคคล และปัจจัยด้านการ สนับสนุนจากวิทยาลัย ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรรกับผลการสอบขึ้นทะเบียนฯ และสร้างสมการทำนายผลการสอบ ขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่งของบัณฑิตพยาบาล วิทยาลัยพยาบาล กองทัพบกกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สำเร็จการศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตรุ่นที่49 ปีการศึกษา2558วิทยาลัยพยาบาลกองทัพ บก จำนวน 79 คน และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้Regression analysis ผลการวิจัย พบว่า ปัจจัยด้านบุคคล กลุ่มตัวอย่างมีเกรดเฉลี่ยสะสมอยู่ในช่วง 3.01-4.00 คิดเป็นร้อยละ 92.9 ผลการ สอบผ่านการสอบรวบยอดสาขาพยาบาลศาสตร์คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล(ในการสอบครั้งแรก) ทั้ง8รายวิชาคิด เป็นร้อยละ59.5มีพฤติกรรมการเตรียมตัวสอบ อยู่ในระดับมาก(M = 3.76,SD = 0.47)มีความวิตกกังวลในการสอบ อยู่ในระดับ ปานกลาง (M = 2.72, SD = 0.67) มีทัศนคติต่อการสอบ อยู่ในระดับมาก (M = 4.19, SD = 0.60) มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ในการเต รียมตัวสอบ อยู่ในระดับมากที่สุด(M = 4.44, SD = 0.50)ส่วนปัจจัยด้านการสนับสนุนจากวิทยาลัยด้านวิชาการอยู่ในระดับมาก (M = 3.67, SD = 0.80) ด้านกิจกรรม อยู่ในระดับปานกลาง (M=3.30, SD=0.90) และด้านสิ่งอำนวยความสะดวก อยู่ในระดับ ปานกลาง (M = 3.35, SD = 1.02) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับผลการสอบขึ้นทะเบียนฯ ได้แก่ เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตร (r = .269)ผลการสอบรวบยอดสาขาพยาบาลศาสตร์คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล(r = .468)และทัศนคติต่อการสอบ (r = .391) และสมการทำนายผลการสอบขึ้นทะเบียนฯ เป็นดังนี้ผลการสอบขึ้นทะเบียนฯ = 5.760+ 0.177 ผลการสอบรวบยอด + 0.021 ทัศนคติต่อการสอบ ข้อเสนอแนะในการนำไปใช้ผลการวิจัยที่ได้สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาคุณภาพของสถาบันการศึกษาและพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาเพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานของสภาการพยาบาล ต่อไป Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27247