Collection Title: | SIU THE-T | Title : | มโนทัศน์การเพิ่มประโยชน์เชิงพาณิชย์ สนามบินภาครัฐ: ท่าอากาศยานเพชรบูรณ์ | Original title : | The Concept Formation of Increased Utilization of Government Airports Design Toward on Phetchabun Airport | Material Type: | printed text | Authors: | ณัฐพัชร์ เรืองมณีญาต์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; เฟื่องฟ้า อัมพรสถิร, Associated Name | Publisher: | กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร | Publication Date: | 2019 | Pagination: | xv, 321 น. | Layout: | ตาราง, ภาพประกอบ | Size: | 30 ซม. | Price: | 500.00 บาท | General note: | SIU THE-T: SOM-DBA-2019-05
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2562 | Languages : | Thai (tha) | Descriptors: | [LCSH]สนามบิน -- ไทย -- เพชรบูรณ์ [LCSH]อุตสาหกรรมการบิน
| Keywords: | การเพิ่มประโยชน์เชิงพาณิชย์ของสนามบินภาครัฐ, ความพร้อมรองรับอุตสาหกรรมการบิน, กิจการการบินทั่วไป, สนามบินเพชรบูรณ์ | Abstract: | การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบและศึกษามโนทัศน์ของการเพิ่มประโยชน์เชิงพาณิชย์ของสนามบินภาครัฐ : ท่าอากาศยานเพชรบูรณ์และนำผลการศึกษาที่ได้มานำเสนอมโนทัศน์ของการเพิ่มประโยชน์เชิงพาณิชย์ของสนามบินภาครัฐ ฯ โดยใช้การศึกษาด้วยวิธีวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) ในระยะแรกของการศึกษาจะใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เพื่อให้ได้ผลไปกำหนดเป็นปัญหาและสมมุติฐานการวิจัย ในการทดสอบหาคำตอบด้วยวิธีการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) จากนั้นจึงนำคำตอบที่ได้ไปสรุปตีความเพื่อเสริมผลการวิจัยเชิงคุณภาพข้างต้น โดยสอบถามความเห็นกับกลุ่มบุคคลที่ปฏิบัติงานหรือมีส่วนเกี่ยวข้องกับสนามบินเพชรบูรณ์ ได้แก่ กลุ่มผู้กำหนดนโยบาย (Policy Maker), กลุ่มผู้กำกับดูแล (Regulator), กลุ่มผู้ประกอบการ (Operator) และกลุ่มภาคประชาชนในจังหวัดเพชรบูรณ์ที่อาศัยรอบสนามบินเพชรบูรณ์
ผลการวิจัย พบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสําเร็จของการเพิ่มประโยชน์เชิงพาณิชย์สนามบินภาครัฐ ประกอบด้วย 1) ปัจจัยความพร้อมรองรับอุตสาหกรรมการบิน 2) ปัจจัยการตลาดและบริการด้านบุคคล 3) ปัจจัยการบริหารจัดการสนามบินภูมิภาคจากส่วนกลางของหน่วยงานภาครัฐทั้งระบบ 4) ปัจจัยการบริหารจัดการสนามบินภูมิภาคจากการร่วมลงทุนระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน 5) ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอกด้านการเมือง และ 6) ปัจจัยการตลาดและบริการด้านลักษณะทางกายภาพ ซึ่งหน่วยงานภาครัฐโดยเฉพาะกรมท่าอากาศยาน สามารถนําข้อค้นพบที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการเพิ่มประโยชน์เชิงพาณิชย์ของสนามบินภาครัฐอื่นๆ ในการกำกับดูแลให้มีความคุ้มค่าในการใช้งานเพิ่มมากขึ้นภายใต้มาตรฐานความปลอดภัยระดับสากลตามความเหมาะสม ซึ่งจะเป็นรากฐานสำคัญที่จะทำให้กิจการด้านการบินของประเทศมีความเจริญก้าวหน้าได้ต่อไป | Curricular : | BBA/MBA/PhDM | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27937 |
SIU THE-T. มโนทัศน์การเพิ่มประโยชน์เชิงพาณิชย์ สนามบินภาครัฐ: ท่าอากาศยานเพชรบูรณ์ = The Concept Formation of Increased Utilization of Government Airports Design Toward on Phetchabun Airport [printed text] / ณัฐพัชร์ เรืองมณีญาต์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; เฟื่องฟ้า อัมพรสถิร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - xv, 321 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม. 500.00 บาท SIU THE-T: SOM-DBA-2019-05
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2562 Languages : Thai ( tha) Descriptors: | [LCSH]สนามบิน -- ไทย -- เพชรบูรณ์ [LCSH]อุตสาหกรรมการบิน
| Keywords: | การเพิ่มประโยชน์เชิงพาณิชย์ของสนามบินภาครัฐ, ความพร้อมรองรับอุตสาหกรรมการบิน, กิจการการบินทั่วไป, สนามบินเพชรบูรณ์ | Abstract: | การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบและศึกษามโนทัศน์ของการเพิ่มประโยชน์เชิงพาณิชย์ของสนามบินภาครัฐ : ท่าอากาศยานเพชรบูรณ์และนำผลการศึกษาที่ได้มานำเสนอมโนทัศน์ของการเพิ่มประโยชน์เชิงพาณิชย์ของสนามบินภาครัฐ ฯ โดยใช้การศึกษาด้วยวิธีวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) ในระยะแรกของการศึกษาจะใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เพื่อให้ได้ผลไปกำหนดเป็นปัญหาและสมมุติฐานการวิจัย ในการทดสอบหาคำตอบด้วยวิธีการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) จากนั้นจึงนำคำตอบที่ได้ไปสรุปตีความเพื่อเสริมผลการวิจัยเชิงคุณภาพข้างต้น โดยสอบถามความเห็นกับกลุ่มบุคคลที่ปฏิบัติงานหรือมีส่วนเกี่ยวข้องกับสนามบินเพชรบูรณ์ ได้แก่ กลุ่มผู้กำหนดนโยบาย (Policy Maker), กลุ่มผู้กำกับดูแล (Regulator), กลุ่มผู้ประกอบการ (Operator) และกลุ่มภาคประชาชนในจังหวัดเพชรบูรณ์ที่อาศัยรอบสนามบินเพชรบูรณ์
ผลการวิจัย พบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสําเร็จของการเพิ่มประโยชน์เชิงพาณิชย์สนามบินภาครัฐ ประกอบด้วย 1) ปัจจัยความพร้อมรองรับอุตสาหกรรมการบิน 2) ปัจจัยการตลาดและบริการด้านบุคคล 3) ปัจจัยการบริหารจัดการสนามบินภูมิภาคจากส่วนกลางของหน่วยงานภาครัฐทั้งระบบ 4) ปัจจัยการบริหารจัดการสนามบินภูมิภาคจากการร่วมลงทุนระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน 5) ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอกด้านการเมือง และ 6) ปัจจัยการตลาดและบริการด้านลักษณะทางกายภาพ ซึ่งหน่วยงานภาครัฐโดยเฉพาะกรมท่าอากาศยาน สามารถนําข้อค้นพบที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการเพิ่มประโยชน์เชิงพาณิชย์ของสนามบินภาครัฐอื่นๆ ในการกำกับดูแลให้มีความคุ้มค่าในการใช้งานเพิ่มมากขึ้นภายใต้มาตรฐานความปลอดภัยระดับสากลตามความเหมาะสม ซึ่งจะเป็นรากฐานสำคัญที่จะทำให้กิจการด้านการบินของประเทศมีความเจริญก้าวหน้าได้ต่อไป | Curricular : | BBA/MBA/PhDM | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27937 |
|