From this page you can:
Home |
วารสารสภาการพยาบาล / สภาการพยาบาล กระทรวงสาธารณสุข . Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59Published date : 07/25/2016 |
Available articles
Add the result to your basketบทเรียนจากการพัฒนาบริการสายด่วนช่วยเหลือวัยรุ่นตั้งครรภ์ / ศิริพร จิวัฒน์กุล in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 ([07/25/2016])
[article]
Title : บทเรียนจากการพัฒนาบริการสายด่วนช่วยเหลือวัยรุ่นตั้งครรภ์ Material Type: printed text Authors: ศิริพร จิวัฒน์กุล, Author ; สมพร ร่งเรืองกลกิจ, Author ; นิลุบล รุจิรประเสริฐ, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.5-14 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 [07/25/2016] . - p.5-14Keywords: การพัฒนาระบบ.บริการสายด่วน.วัยรุ่นตั้งครรภ์. Abstract: บทคัดย่อ: บทความวิชาการเรื่องนี้มีเป้าหมายเพื่อนำเสนอการจัดระบบบริการสายด่วน
โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับการช่วยเหลือวัยรุ่นตั้งครรภ์ สาระหลักได้จากการทบทวนวรรณกรรม
และการถอดบทเรียนประสบการณ์การพัฒนาระบบของสายด่วน 1663 ในการช่วยเหลือ
วัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ ซึ่งครอบคลุมเนื้อหาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบริการสายด่วน ลักษณะของผู้
ให้คำปรึกษาผ่านสายด่วน รวมถึงสมรรถนะ และจรรยาของการให้คำปรึกษาทางโทรศัพท์
และองค์ความรู้เฉพาะที่เน้นระบบบริการสายด่วนช่วยเหลือวัยรุ่นตั้งครรภ์Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27039 [article] บทเรียนจากการพัฒนาบริการสายด่วนช่วยเหลือวัยรุ่นตั้งครรภ์ [printed text] / ศิริพร จิวัฒน์กุล, Author ; สมพร ร่งเรืองกลกิจ, Author ; นิลุบล รุจิรประเสริฐ, Author . - 2016 . - p.5-14.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 [07/25/2016] . - p.5-14Keywords: การพัฒนาระบบ.บริการสายด่วน.วัยรุ่นตั้งครรภ์. Abstract: บทคัดย่อ: บทความวิชาการเรื่องนี้มีเป้าหมายเพื่อนำเสนอการจัดระบบบริการสายด่วน
โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับการช่วยเหลือวัยรุ่นตั้งครรภ์ สาระหลักได้จากการทบทวนวรรณกรรม
และการถอดบทเรียนประสบการณ์การพัฒนาระบบของสายด่วน 1663 ในการช่วยเหลือ
วัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ ซึ่งครอบคลุมเนื้อหาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบริการสายด่วน ลักษณะของผู้
ให้คำปรึกษาผ่านสายด่วน รวมถึงสมรรถนะ และจรรยาของการให้คำปรึกษาทางโทรศัพท์
และองค์ความรู้เฉพาะที่เน้นระบบบริการสายด่วนช่วยเหลือวัยรุ่นตั้งครรภ์Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27039 ความกลัวการกลับเป็นซ้ำของมะเร็ง / เบญญพร บรรณสาร in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 ([07/25/2016])
[article]
Title : ความกลัวการกลับเป็นซ้ำของมะเร็ง Original title : Fear of cancer recurrence Material Type: printed text Authors: เบญญพร บรรณสาร, Author ; ลินจง โปธิบาล, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.16-25 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 [07/25/2016] . - p.16-25Keywords: ความกลัว. การกลับเป็นซ้ำของมะเร็ง.ผู้รอดชีวิตจากมะเร็ง. Abstract: ความกลัวการกลับเป็นซ้ำของมะเร็งเป็นปัญหาที่พบบ่อยในผู้รอดชีวิตจากมะเร็ง หมายถึง
ความกลัวว่ามะเร็งจะกลับมาหรือเป็นอีกในอวัยวะเดิมหรือส่วนอื่นของร่างกาย เมื่อความกลัว
การกลับเป็นซ้ำของมะเร็งเกิดขึ้นจะส่งผลกระทบต่อผู้รอดชีวิตจากมะเร็งหลายประการ เช่น
คุณภาพชีวิตลดลง มีความกลัวตายมากขึ้น จำนวนครั้งของการมาพบแพทย์และการเข้ารับ
การรักษาฉุกเฉินเพิ่มขึ้น มีความกังวลเกี่ยวกับสุขภาพ และมีความสิ้นหวังในชีวิต
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินความกลัวการกลับเป็นซ้ำของมะเร็งมีหลายเครื่องมือ ได้แก่
Concerns about Recurrence Scale (CARS) Fear of Cancer Recurrence Inventory (FCRI)และ The Assessment of Survivor Concern (ASC)โดยมีปัจจัยที่สำคัญซึ่งส่งผลต่อความกลัว คือ อายุน้อย การเผชิญกับความเครียด อาการทางกาย คุณภาพชีวิตต่ำ และความทุกข์ทรมานทางจิตใจ และจากการทบทวนวรรณกรรม
พบว่า วิธีการที่ช่วยลดความกลัวการกลับเป็นซ้ำของมะเร็งไ ด้แก่ การใช้วิถีทางศาสนา
การบำบัดความคิดและพฤติกรรมการใช้หลักสติ กลุ่มควบคุมอารมณ์ การฝึกทักษะโดยคู่สามีภรรยา และการเผชิญปัญหา.Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27040 [article] ความกลัวการกลับเป็นซ้ำของมะเร็ง = Fear of cancer recurrence [printed text] / เบญญพร บรรณสาร, Author ; ลินจง โปธิบาล, Author . - 2016 . - p.16-25.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 [07/25/2016] . - p.16-25Keywords: ความกลัว. การกลับเป็นซ้ำของมะเร็ง.ผู้รอดชีวิตจากมะเร็ง. Abstract: ความกลัวการกลับเป็นซ้ำของมะเร็งเป็นปัญหาที่พบบ่อยในผู้รอดชีวิตจากมะเร็ง หมายถึง
ความกลัวว่ามะเร็งจะกลับมาหรือเป็นอีกในอวัยวะเดิมหรือส่วนอื่นของร่างกาย เมื่อความกลัว
การกลับเป็นซ้ำของมะเร็งเกิดขึ้นจะส่งผลกระทบต่อผู้รอดชีวิตจากมะเร็งหลายประการ เช่น
คุณภาพชีวิตลดลง มีความกลัวตายมากขึ้น จำนวนครั้งของการมาพบแพทย์และการเข้ารับ
การรักษาฉุกเฉินเพิ่มขึ้น มีความกังวลเกี่ยวกับสุขภาพ และมีความสิ้นหวังในชีวิต
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินความกลัวการกลับเป็นซ้ำของมะเร็งมีหลายเครื่องมือ ได้แก่
Concerns about Recurrence Scale (CARS) Fear of Cancer Recurrence Inventory (FCRI)และ The Assessment of Survivor Concern (ASC)โดยมีปัจจัยที่สำคัญซึ่งส่งผลต่อความกลัว คือ อายุน้อย การเผชิญกับความเครียด อาการทางกาย คุณภาพชีวิตต่ำ และความทุกข์ทรมานทางจิตใจ และจากการทบทวนวรรณกรรม
พบว่า วิธีการที่ช่วยลดความกลัวการกลับเป็นซ้ำของมะเร็งไ ด้แก่ การใช้วิถีทางศาสนา
การบำบัดความคิดและพฤติกรรมการใช้หลักสติ กลุ่มควบคุมอารมณ์ การฝึกทักษะโดยคู่สามีภรรยา และการเผชิญปัญหา.Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27040 การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน / รัชนี มิตกิตติ in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 ([07/25/2016])
[article]
Title : การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน : บทบาทที่ท้าทายของพยาบาลชุมชน Original title : Community-Engaged Implementation of Public Healthcare Policies: A Challenging Role of Community Nurses Material Type: printed text Authors: รัชนี มิตกิตติ, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.26-36 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 [07/25/2016] . - p.26-36Keywords: นโยบายสาธารณะ. การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ. การมีส่วนร่วมของชุมชน. Abstract: บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอแนวทางการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ
เพื่อสุขภาพโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนในบทบาทที่ท้าทายของพยาบาลชุมชนให้นำาไป
ประยุกต์ใช้ในการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในชุมชนอย่างยั่งยืน โดยมีกระบวนการ
วิเคราะห์ทางเลือกไปสู่การสร้างนโยบายของชุมชนบนฐานข้อมูลและความรู้ที่เกี่ยวกับ
สุขภาพชุมชน มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน โดยผ่านเวทีประชาคมให้ตัดสินใจร่วมกัน
นำาไปปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมมีปฏิทินการทำางานและติดตามประเมินผลร่วมกับภาคี
เครือข่ายสุขภาพชุมชน หน่วยงานภาครัฐ และภาควิชาการในพื้นที่มาร่วมกันลงความคิดเห็น
สร้างข้อตกลงกำาหนดมาตรการให้คนในชุมชนทราบและยอมรับนำาไปสู่ปฏิบัติร่วมกันLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27041 [article] การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน = Community-Engaged Implementation of Public Healthcare Policies: A Challenging Role of Community Nurses : บทบาทที่ท้าทายของพยาบาลชุมชน [printed text] / รัชนี มิตกิตติ, Author . - 2016 . - p.26-36.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 [07/25/2016] . - p.26-36Keywords: นโยบายสาธารณะ. การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ. การมีส่วนร่วมของชุมชน. Abstract: บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอแนวทางการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ
เพื่อสุขภาพโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนในบทบาทที่ท้าทายของพยาบาลชุมชนให้นำาไป
ประยุกต์ใช้ในการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในชุมชนอย่างยั่งยืน โดยมีกระบวนการ
วิเคราะห์ทางเลือกไปสู่การสร้างนโยบายของชุมชนบนฐานข้อมูลและความรู้ที่เกี่ยวกับ
สุขภาพชุมชน มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน โดยผ่านเวทีประชาคมให้ตัดสินใจร่วมกัน
นำาไปปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมมีปฏิทินการทำางานและติดตามประเมินผลร่วมกับภาคี
เครือข่ายสุขภาพชุมชน หน่วยงานภาครัฐ และภาควิชาการในพื้นที่มาร่วมกันลงความคิดเห็น
สร้างข้อตกลงกำาหนดมาตรการให้คนในชุมชนทราบและยอมรับนำาไปสู่ปฏิบัติร่วมกันLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27041 การดูแลระยะท้ายในชุมชนมุสลิม: กรณีศึกษาในบริบทภาคใต้ / กิตติกร นิลมานัต in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 ([07/25/2016])
[article]
Title : การดูแลระยะท้ายในชุมชนมุสลิม: กรณีศึกษาในบริบทภาคใต้ Original title : Terminal Patient Care in a Muslim Community: A Case Study in a Southern-Thai Context Material Type: printed text Authors: กิตติกร นิลมานัต, Author ; เยาวรัตน์ มัชฌิม, Author ; วราภรณ์ คงสุวรรณ, Author ; จารุวรรณ มานะสรุการ, Author ; กรรทิมา มีสุนทร, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.37-52 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 [07/25/2016] . - p.37-52Keywords: กรณีศึกษาชุมชน. การดูแลระยะท้ายมุสลิม. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาลักษณะการดูแลและบทบาทของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการดูแลระยะท้ายในชุมชนมุสลิมในภาคใต้
การออกแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงคุณภาพแบบกรณีศึกษา
วิธีการดำเนินการวิจัย: เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ การสังเกต และการสนทนากลุ่ม
ผู้ให้ข้อมูลจำนวน 51 คน ประกอบด้วย บุคลาการทางสุขภาพ ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา เจ้าหน้าที่
องค์การปกครองในท้องถิ่น อสม. ผู้ป่วยและผู้ดูแล ตั้งแต่เดือนมกราคม ถึงเดือนตุลาคม
พ.ศ. 2556 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีวิเคราะห์เนื้อหาเชิงคุณภาพ
ผลการวิจัย: ผลการวิเคราะห์ข้อมูล สรุปข้อค้นพบที่ได้ออกเป็น 2 ประเด็นได้แก่
ประเด็นที่ 1 การดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในชุมชนมุสลิม แบ่งออกเป็น 3 ระยะได้แก่ 1) ระยะท้ายเน้นการจัดการอาการและการตัดสินใจเกี่ยวกับการรักษา 2) ระยะใกล้ตายเน้นการดูแล
ด้านจิตวิญญาณ และ 3)ระยะหลังการตาย เน้นการประคับประคองจิตใจของครอบครัว และ
ประเด็นที่ 2 บทบาทของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในชุมชน โดยพยาบาล
มีบทบาทหลักในการดูแลผู้ป่วยและครอบครัว ให้ข้อมูลและประสานงาน ส่วนอสม.ทำหน้าที่
ในการติดตามเยี่ยมบ้านและช่วยเหลือให้กำลังใจผู้ป่วย และดูแลจิตวิญญาณ องค์การปกครอง
ส่วนท้องถิ่นเน้นการสนับสนุนด้านทรัพยากร และผู้นำศาสนาเน้นการดูแลด้านจิตวิญญาณ
ข้อเสนอแนะ: ผลการวิจัยครั้งนี้ช่วยให้เข้าใจการดูแลระยะท้ายในชุมชนมุสลิมใน
ภาคใต้มากขึ้น รวมถึงเข้าใจบทบาทของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายใน
ชุมชน ผลการศึกษาสามารถใช้เป็นแนวทางในการพัฒนารูปแบบและส่งเสริมคุณภาพการ
ดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในชุมชนมุสลิม.Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27042 [article] การดูแลระยะท้ายในชุมชนมุสลิม: กรณีศึกษาในบริบทภาคใต้ = Terminal Patient Care in a Muslim Community: A Case Study in a Southern-Thai Context [printed text] / กิตติกร นิลมานัต, Author ; เยาวรัตน์ มัชฌิม, Author ; วราภรณ์ คงสุวรรณ, Author ; จารุวรรณ มานะสรุการ, Author ; กรรทิมา มีสุนทร, Author . - 2016 . - p.37-52.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 [07/25/2016] . - p.37-52Keywords: กรณีศึกษาชุมชน. การดูแลระยะท้ายมุสลิม. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาลักษณะการดูแลและบทบาทของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการดูแลระยะท้ายในชุมชนมุสลิมในภาคใต้
การออกแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงคุณภาพแบบกรณีศึกษา
วิธีการดำเนินการวิจัย: เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ การสังเกต และการสนทนากลุ่ม
ผู้ให้ข้อมูลจำนวน 51 คน ประกอบด้วย บุคลาการทางสุขภาพ ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา เจ้าหน้าที่
องค์การปกครองในท้องถิ่น อสม. ผู้ป่วยและผู้ดูแล ตั้งแต่เดือนมกราคม ถึงเดือนตุลาคม
พ.ศ. 2556 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีวิเคราะห์เนื้อหาเชิงคุณภาพ
ผลการวิจัย: ผลการวิเคราะห์ข้อมูล สรุปข้อค้นพบที่ได้ออกเป็น 2 ประเด็นได้แก่
ประเด็นที่ 1 การดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในชุมชนมุสลิม แบ่งออกเป็น 3 ระยะได้แก่ 1) ระยะท้ายเน้นการจัดการอาการและการตัดสินใจเกี่ยวกับการรักษา 2) ระยะใกล้ตายเน้นการดูแล
ด้านจิตวิญญาณ และ 3)ระยะหลังการตาย เน้นการประคับประคองจิตใจของครอบครัว และ
ประเด็นที่ 2 บทบาทของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในชุมชน โดยพยาบาล
มีบทบาทหลักในการดูแลผู้ป่วยและครอบครัว ให้ข้อมูลและประสานงาน ส่วนอสม.ทำหน้าที่
ในการติดตามเยี่ยมบ้านและช่วยเหลือให้กำลังใจผู้ป่วย และดูแลจิตวิญญาณ องค์การปกครอง
ส่วนท้องถิ่นเน้นการสนับสนุนด้านทรัพยากร และผู้นำศาสนาเน้นการดูแลด้านจิตวิญญาณ
ข้อเสนอแนะ: ผลการวิจัยครั้งนี้ช่วยให้เข้าใจการดูแลระยะท้ายในชุมชนมุสลิมใน
ภาคใต้มากขึ้น รวมถึงเข้าใจบทบาทของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายใน
ชุมชน ผลการศึกษาสามารถใช้เป็นแนวทางในการพัฒนารูปแบบและส่งเสริมคุณภาพการ
ดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในชุมชนมุสลิม.Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27042 การบำบัดแบบเสริมสร้างแรงจูงใจรายกลุ่มโดยครอบครัวและชุมชน มีส่วนร่วมในผู้ติดสุรา ณ โรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่ง / วนาลักษณ์ รอวิลาน in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 ([07/25/2016])
[article]
Title : การบำบัดแบบเสริมสร้างแรงจูงใจรายกลุ่มโดยครอบครัวและชุมชน มีส่วนร่วมในผู้ติดสุรา ณ โรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่ง : การศึกษานำร่อง Material Type: printed text Authors: วนาลักษณ์ รอวิลาน, Author ; ภัทราภรณ์ ทุ่งปันคำ, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.53-66 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 [07/25/2016] . - p.53-66Keywords: พฤติกรรมการดื่มสุรา. ผู้ติดสุรา. การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน. การบำบัดแบบเสริมสร้างแรงจูงใจรายกลุ่ม. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาผลของการบำบัดแบบเสริมสร้างแรงจูงใจ
รายกลุ่มโดยครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมต่อพฤติกรรมการดื่มสุราของผู้ติดสุราโรงพยาบาล
เชียงกลาง จังหวัดน่าน
การออกแบบวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง แบบกลุ่มเดียววัดก่อนและหลังการทดลอง
วิธีดำเนินการวิจัย: เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนด
จำนวน 15 ราย รวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนกรกฎาคม 2556 ถึงเดือนกันยายน 2557
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 3 ส่วนคือ 1) ข้อมูลส่วนบุคคล 2) โปรแกรมการเสริมสร้างแรงจูงใจบำบัดรายกลุ่มโดยครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วม ที่ทีมผู้วิจัยพัฒนาขึ้นตามกรอบแนวคิดการเสริมสร้างแรงจูงใจของมิลเลอร์และโรนิค และจากการทบทวนวรรณกรรม 3) แบบประเมินพฤติกรรมการดื่มสุรา (AUDIT) และแบบวัดแรงจูงใจในการเลิกสุรา วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียวชนิดการวัดซ้ำ (One-way
repeated measure ANOVA) และสถิติค่าที (T-Test)
ผลการวิจัย: เมื่อเปรียบเทียบกับก่อนการทดลอง พบว่า คะแนนพฤติกรรมการดื่มสุรา
หลังการทดลองลดลงหลังการทดลองทันทีและระยะติดตามผล 1 เดือน 3 เดือน 6 เดือน และ 1 ปี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P <.01)
ข้อเสนอแนะ:โปรแกรมนี้สามารถช่วยให้ผู้ที่ติดสุราลดและเลิกการดื่มสุราได้อย่าง
ต่อเนื่อง ดังนั้นบุคลากรสาธารณสุขควรนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้ในการบำบัดผู้ติดสุรา
และควรมีการสร้างระบบการติดตามระยะยาวโดยครอบครัว ผู้ดูแล และแกนนำชุมชนLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27043 [article] การบำบัดแบบเสริมสร้างแรงจูงใจรายกลุ่มโดยครอบครัวและชุมชน มีส่วนร่วมในผู้ติดสุรา ณ โรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่ง : การศึกษานำร่อง [printed text] / วนาลักษณ์ รอวิลาน, Author ; ภัทราภรณ์ ทุ่งปันคำ, Author . - 2016 . - p.53-66.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 [07/25/2016] . - p.53-66Keywords: พฤติกรรมการดื่มสุรา. ผู้ติดสุรา. การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน. การบำบัดแบบเสริมสร้างแรงจูงใจรายกลุ่ม. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาผลของการบำบัดแบบเสริมสร้างแรงจูงใจ
รายกลุ่มโดยครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมต่อพฤติกรรมการดื่มสุราของผู้ติดสุราโรงพยาบาล
เชียงกลาง จังหวัดน่าน
การออกแบบวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง แบบกลุ่มเดียววัดก่อนและหลังการทดลอง
วิธีดำเนินการวิจัย: เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนด
จำนวน 15 ราย รวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนกรกฎาคม 2556 ถึงเดือนกันยายน 2557
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 3 ส่วนคือ 1) ข้อมูลส่วนบุคคล 2) โปรแกรมการเสริมสร้างแรงจูงใจบำบัดรายกลุ่มโดยครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วม ที่ทีมผู้วิจัยพัฒนาขึ้นตามกรอบแนวคิดการเสริมสร้างแรงจูงใจของมิลเลอร์และโรนิค และจากการทบทวนวรรณกรรม 3) แบบประเมินพฤติกรรมการดื่มสุรา (AUDIT) และแบบวัดแรงจูงใจในการเลิกสุรา วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียวชนิดการวัดซ้ำ (One-way
repeated measure ANOVA) และสถิติค่าที (T-Test)
ผลการวิจัย: เมื่อเปรียบเทียบกับก่อนการทดลอง พบว่า คะแนนพฤติกรรมการดื่มสุรา
หลังการทดลองลดลงหลังการทดลองทันทีและระยะติดตามผล 1 เดือน 3 เดือน 6 เดือน และ 1 ปี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P <.01)
ข้อเสนอแนะ:โปรแกรมนี้สามารถช่วยให้ผู้ที่ติดสุราลดและเลิกการดื่มสุราได้อย่าง
ต่อเนื่อง ดังนั้นบุคลากรสาธารณสุขควรนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้ในการบำบัดผู้ติดสุรา
และควรมีการสร้างระบบการติดตามระยะยาวโดยครอบครัว ผู้ดูแล และแกนนำชุมชนLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27043 ผลของโปรแกรมเสริมสร้างพลังอำนาจแก่สตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงในการคลอดก่อนกำหนดและสามี ต่อพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ จำนวนของการคลอดก่อนกำหนด / ปิยะพร กองเงิน in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 ([07/25/2016])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมเสริมสร้างพลังอำนาจแก่สตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงในการคลอดก่อนกำหนดและสามี ต่อพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ จำนวนของการคลอดก่อนกำหนด : และทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย Original title : Impact of an empowerment programme for pregnant wpmen with preterm birth and their husbands on their health promoting behavior number of preterm births and low birth weight infants Material Type: printed text Authors: ปิยะพร กองเงิน, Author ; วิไลลักษณ์ วงษ์อาษา, Author ; กาญจนา สมบัติสิรินันท์, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.67-82 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 [07/25/2016] . - p.67-82Keywords: โปรแกรมเสริมสร้างพลังอำนาจ. พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ. สตรีตั้งครรภ์. สามี. ทารกคลอดก่อนกำหนด. ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมเสริมสร้างพลังอำนาจแก่
สตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงในการคลอดก่อนกำหนดและสามี ต่อพฤติกรรม
ส่งเสริมสุขภาพ จำนวนของการคลอดก่อนกำหนด และทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย
การออกแบบวิจัย: การวิจัยแบบกึ่งทดลอง 2กลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลอง
วิธีดำเนินการวิจัย: คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงโดยเป็นสตรี
ตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงในการคลอดก่อนกำหนด และสามี ที่มาฝากครรภ์
ในโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติจำนวน 116 คู่ แบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มทดลอง 58 คู่ กลุ่มควบคุม 58 คู่ กลุ่มทดลองสตรีตั้งครรภ์และสามีได้รับโปรแกรมเสริมสร้างพลังอำนาจ
ในการป้องกันการคลอดก่อนกำหนด กลุ่มควบคุมได้รับความรู้ตามปกติจากโรงพยาบาล เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย
(1) แบบประเมินพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์
(2) แบบประเมินพฤติกรรมของสามีในการส่งเสริมสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติพรรณา การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม
ผลการวิจัย: เมื่อสิ้นสุดการทดลองสตรีตั้งครรภ์กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
ในการป้องกันการคลอดก่อนกำหนดสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05)
สามีกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพในการป้องกันการคลอดก่อนกำหนด
สูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05)
มีจำนวนการคลอดก่อนกำหนด่ำกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมี
นัยสำคัญทางสถิติ (p < .05) และ จำนวนการคลอดทารกแรกเกิด
น้ำหนักน้อยต่ำกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05)
ข้อเสนอแนะ: ผลการศึกษาแสดงว่าโปรแกรมเสริมสร้างพลังอำนาจ
สามารถเปลี่ยนพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ ช่วยลดจำนวนของการคลอด
ก่อนกำหนด และทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยได้ จึงเสนอแนะให้
จัดโปรแกรมเสริมสร้างพลังอำนาจในการป้องกันการคลอดก่อนกำหนด
ขึ้นในแผนกฝากครรภ์
Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27044 [article] ผลของโปรแกรมเสริมสร้างพลังอำนาจแก่สตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงในการคลอดก่อนกำหนดและสามี ต่อพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ จำนวนของการคลอดก่อนกำหนด = Impact of an empowerment programme for pregnant wpmen with preterm birth and their husbands on their health promoting behavior number of preterm births and low birth weight infants : และทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย [printed text] / ปิยะพร กองเงิน, Author ; วิไลลักษณ์ วงษ์อาษา, Author ; กาญจนา สมบัติสิรินันท์, Author . - 2016 . - p.67-82.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 [07/25/2016] . - p.67-82Keywords: โปรแกรมเสริมสร้างพลังอำนาจ. พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ. สตรีตั้งครรภ์. สามี. ทารกคลอดก่อนกำหนด. ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมเสริมสร้างพลังอำนาจแก่
สตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงในการคลอดก่อนกำหนดและสามี ต่อพฤติกรรม
ส่งเสริมสุขภาพ จำนวนของการคลอดก่อนกำหนด และทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย
การออกแบบวิจัย: การวิจัยแบบกึ่งทดลอง 2กลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลอง
วิธีดำเนินการวิจัย: คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงโดยเป็นสตรี
ตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงในการคลอดก่อนกำหนด และสามี ที่มาฝากครรภ์
ในโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติจำนวน 116 คู่ แบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มทดลอง 58 คู่ กลุ่มควบคุม 58 คู่ กลุ่มทดลองสตรีตั้งครรภ์และสามีได้รับโปรแกรมเสริมสร้างพลังอำนาจ
ในการป้องกันการคลอดก่อนกำหนด กลุ่มควบคุมได้รับความรู้ตามปกติจากโรงพยาบาล เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย
(1) แบบประเมินพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์
(2) แบบประเมินพฤติกรรมของสามีในการส่งเสริมสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติพรรณา การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม
ผลการวิจัย: เมื่อสิ้นสุดการทดลองสตรีตั้งครรภ์กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
ในการป้องกันการคลอดก่อนกำหนดสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05)
สามีกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพในการป้องกันการคลอดก่อนกำหนด
สูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05)
มีจำนวนการคลอดก่อนกำหนด่ำกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมี
นัยสำคัญทางสถิติ (p < .05) และ จำนวนการคลอดทารกแรกเกิด
น้ำหนักน้อยต่ำกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05)
ข้อเสนอแนะ: ผลการศึกษาแสดงว่าโปรแกรมเสริมสร้างพลังอำนาจ
สามารถเปลี่ยนพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ ช่วยลดจำนวนของการคลอด
ก่อนกำหนด และทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยได้ จึงเสนอแนะให้
จัดโปรแกรมเสริมสร้างพลังอำนาจในการป้องกันการคลอดก่อนกำหนด
ขึ้นในแผนกฝากครรภ์
Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27044 ประสิทธิผลการป้องกันการเกิดแผลกดทับของที่นอนชนิดไม่มีการเคลื่อนที่ของลมและ / พรทิพย์ สารีโส in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 ([07/25/2016])
[article]
Title : ประสิทธิผลการป้องกันการเกิดแผลกดทับของที่นอนชนิดไม่มีการเคลื่อนที่ของลมและ : ชนิดที่มีการเคลื่อนที่ของลม : การศึกษาเบื้องต้น Material Type: printed text Authors: พรทิพย์ สารีโส, Author ; ปิยะภร ไพรสนธิ์, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.83-96 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 [07/25/2016] . - p.83-96Keywords: ที่นอนเสริมแรงกด. แรงกดทับ. ผู้สูงอายุ. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย : พัฒนาและทดสอบประสิทธิผลการป้องกันการเกิดแผลกดทับ
ของที่นอนเสริมลดแรงกดชนิดไม่มีการเคลื่อนที่ของลมในผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับ
การออกแบบการวิจัย : การวิจัยเชิงพัฒนาทดลอง
วิธีดำเนินการวิจัย : กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยศัลยกรรม
กึ่งวิกฤต จำนวน 12 คน จัดเข้ากลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองกลุ่มละ 6 คนโดยวิธีการสุ่ม
ประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับโดยใช้แบบประเมินของบราเดนในวันแรกรับ วันที่ 3,
7 และ 14 และประเมินผิวหนังโดยแบบประเมินสภาพผิวหนังของเบอร์กสตรอมทุกวัน
กลุ่มตัวอย่างทั้ง 2 กลุ่มได้รับการดูแลตามมาตรฐานการป้องกันแผลกดทับของโรงพยาบาล
กลุ่มทดลองนอนบนที่นอนเสริมลดแรงกดและกลุ่มควบคุมนอนบนที่นอนชนิดที่มีการ
เคลื่อนที่ของลม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ สถิติไคสแควร์และ
สถิติการทดสอบของฟิชเชอร์
ผลการวิจัย : กลุ่มตัวอย่าง 12 คน เกิดแผลกดทับ 4 คน เป็นกลุ่มควบคุม 2 คนและ
กลุ่มทดลอง 2 คน กลุ่มควบคุมเริ่มเกิดแผลกดทับในวันที่ 6 และวันที่ 10 ตามลำดับ กลุ่ม
ทดลองเริ่มเกิดแผลกดทับ ในวันที่ 6 และวันที่ 7 ตามลำดับ เมื่อจำแนกช่วงอายุ ระดับความเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับ ระดับอัลบูมินในเลือดและดัชนีมวลกาย พบว่า การเกิดแผลกดทับ
ในกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุมไม่มีความแตกต่างกัน (p < 0.05)
ข้อเสนอแนะ : ควรมีการศึกษาเพิ่มเติม ดังนี้ 1) ขยายเวลาของโปรแกรมในการนอน
บนที่นอนนวัตกรรมให้นานขึ้นเพื่อศึกษาถึงอายุการใช้งานของที่นอนนวัตกรรม 2) เพิ่ม
กลุ่มตัวอย่างให้มีขนาดใหญ่ขึ้นและ ประเมินความพึงพอใจในการใช้นวัตกรรมที่นอนจากผู้ใช้Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27045 [article] ประสิทธิผลการป้องกันการเกิดแผลกดทับของที่นอนชนิดไม่มีการเคลื่อนที่ของลมและ : ชนิดที่มีการเคลื่อนที่ของลม : การศึกษาเบื้องต้น [printed text] / พรทิพย์ สารีโส, Author ; ปิยะภร ไพรสนธิ์, Author . - 2016 . - p.83-96.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 [07/25/2016] . - p.83-96Keywords: ที่นอนเสริมแรงกด. แรงกดทับ. ผู้สูงอายุ. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย : พัฒนาและทดสอบประสิทธิผลการป้องกันการเกิดแผลกดทับ
ของที่นอนเสริมลดแรงกดชนิดไม่มีการเคลื่อนที่ของลมในผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับ
การออกแบบการวิจัย : การวิจัยเชิงพัฒนาทดลอง
วิธีดำเนินการวิจัย : กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยศัลยกรรม
กึ่งวิกฤต จำนวน 12 คน จัดเข้ากลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองกลุ่มละ 6 คนโดยวิธีการสุ่ม
ประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับโดยใช้แบบประเมินของบราเดนในวันแรกรับ วันที่ 3,
7 และ 14 และประเมินผิวหนังโดยแบบประเมินสภาพผิวหนังของเบอร์กสตรอมทุกวัน
กลุ่มตัวอย่างทั้ง 2 กลุ่มได้รับการดูแลตามมาตรฐานการป้องกันแผลกดทับของโรงพยาบาล
กลุ่มทดลองนอนบนที่นอนเสริมลดแรงกดและกลุ่มควบคุมนอนบนที่นอนชนิดที่มีการ
เคลื่อนที่ของลม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ สถิติไคสแควร์และ
สถิติการทดสอบของฟิชเชอร์
ผลการวิจัย : กลุ่มตัวอย่าง 12 คน เกิดแผลกดทับ 4 คน เป็นกลุ่มควบคุม 2 คนและ
กลุ่มทดลอง 2 คน กลุ่มควบคุมเริ่มเกิดแผลกดทับในวันที่ 6 และวันที่ 10 ตามลำดับ กลุ่ม
ทดลองเริ่มเกิดแผลกดทับ ในวันที่ 6 และวันที่ 7 ตามลำดับ เมื่อจำแนกช่วงอายุ ระดับความเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับ ระดับอัลบูมินในเลือดและดัชนีมวลกาย พบว่า การเกิดแผลกดทับ
ในกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุมไม่มีความแตกต่างกัน (p < 0.05)
ข้อเสนอแนะ : ควรมีการศึกษาเพิ่มเติม ดังนี้ 1) ขยายเวลาของโปรแกรมในการนอน
บนที่นอนนวัตกรรมให้นานขึ้นเพื่อศึกษาถึงอายุการใช้งานของที่นอนนวัตกรรม 2) เพิ่ม
กลุ่มตัวอย่างให้มีขนาดใหญ่ขึ้นและ ประเมินความพึงพอใจในการใช้นวัตกรรมที่นอนจากผู้ใช้Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27045 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับความรุนแรงของการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดในผู้ป่วยมะเร็งชนิดปฐมภูมิของกระเพาะอาหาร / ชนุตพร รัตนมงคล in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 ([07/25/2016])
[article]
Title : ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับความรุนแรงของการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดในผู้ป่วยมะเร็งชนิดปฐมภูมิของกระเพาะอาหาร : ตับ ทางเดินน้ำดี ที่ลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง Material Type: printed text Authors: ชนุตพร รัตนมงคล, Author ; ศิีริอร สินธุ, Author ; ทิพา ต่อสกุลแก้ว, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.97-109 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 [07/25/2016] . - p.97-109Keywords: ความรุนแรงภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด. การผ่าตัดช่องท้อง. มะเร็งระบบทางเดิน. อาหารชนิดปฐมภูมิ Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย : เพื่อศึกษาความชุกของภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด และ
ความสัมพันธ์ระหว่างระยะเวลาการผ่าตัด ปริมาณการเสียเลือดขณะผ่าตัด ระยะของโรคมะเร็ง
ภาวะโรคร่วม ภาวะโภชนาการก่อนผ่าตัด ความวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้าก่อนผ่าตัดกับความรุนแรงของภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด
การออกแบบการวิจัย : การวิจัยแบบบรรยายเชิงหาความสัมพันธ์ (descriptive correlation study)
วิธีการดาเนินการวิจัย : กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยมะเร็งชนิดปฐมภูมิของกระเพาะอาหาร ตับ
ทางเดินน้ำดี ลำไส้ใหญ่และ ลำไส้ตรง เข้ารับการผ่าตัดในโรงพยาบาลตติยภูมิ 3 แห่ง เลือกกลุ่มตัวอย่าง
ตามเกณฑ์คัดเข้าที่กำหนด จำนวน 87 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบประเมินภาวะโรคร่วม แบบคัดกรองภาวะโภชนาการ แบบประเมินความวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้า และแบบประเมินความรุนแรงของการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปโดยสถิติเชิงบรรยายและวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรโดยสถิติสหสัมพันธ์สเปียร์แมน
ผลการวิจัย : กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 62.1 มีอายุมากกว่า 60 ปี ร้อยละ 43.7 เกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดความรุนแรงระดับ 1 ร้อยละ 48.3 มีระยะเวลาการผ่าตัด 3-6 ชั่วโมง ร้อยละ 70.1 มีปริมาณการเสียเลือดขณะผ่าตัดน้อยกว่า 500 มิลลิลิตร ร้อยละ 44.8 เป็นมะเร็งระยะที่ 3 และร้อยละ 41.4
ไม่มีภาวะโรคร่วม ร้อยละ 81.6 มีความเสี่ยงทางโภชนาการ(NRS >3) ร้อยละ 66.7 อยู่ในกลุ่มมีความวิตกกังวลสูงมาก (HADS-A = 11-21) และร้อยละ 48.3 อยู่ในกลุ่มมีภาวะซึมเศร้าระดับสูงแต่ยังไม่มีความผิดปกติทางจิต (HADS-D = 8-10) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรุนแรงของภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด ได้แก่ ปริมาณการเสียเลือดขณะผ่าตัด ภาวะโภชนาการ ความวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้าก่อนผ่าตัด(r = .260, .281, .449, .349; p < .05) ตามลำดับ
ข้อเสนอแนะ : ผู้ป่วยมะเร็งที่รับการผ่าตัดช่องท้องแบบเปิดควรประเมินความเสี่ยงทางโภชนาการ
ความวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้าก่อนผ่าตัดและเพิ่มการเฝ้าระวังในรายที่มีปริมาณการเสียเลือด
ขณะผ่าตัดมาก ความรุนแรงของภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดในระยะหลัง และการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดที่รุนแรงมากกว่าระดับ 2 ขึ้นไปLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27046 [article] ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับความรุนแรงของการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดในผู้ป่วยมะเร็งชนิดปฐมภูมิของกระเพาะอาหาร : ตับ ทางเดินน้ำดี ที่ลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง [printed text] / ชนุตพร รัตนมงคล, Author ; ศิีริอร สินธุ, Author ; ทิพา ต่อสกุลแก้ว, Author . - 2016 . - p.97-109.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 [07/25/2016] . - p.97-109Keywords: ความรุนแรงภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด. การผ่าตัดช่องท้อง. มะเร็งระบบทางเดิน. อาหารชนิดปฐมภูมิ Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย : เพื่อศึกษาความชุกของภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด และ
ความสัมพันธ์ระหว่างระยะเวลาการผ่าตัด ปริมาณการเสียเลือดขณะผ่าตัด ระยะของโรคมะเร็ง
ภาวะโรคร่วม ภาวะโภชนาการก่อนผ่าตัด ความวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้าก่อนผ่าตัดกับความรุนแรงของภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด
การออกแบบการวิจัย : การวิจัยแบบบรรยายเชิงหาความสัมพันธ์ (descriptive correlation study)
วิธีการดาเนินการวิจัย : กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยมะเร็งชนิดปฐมภูมิของกระเพาะอาหาร ตับ
ทางเดินน้ำดี ลำไส้ใหญ่และ ลำไส้ตรง เข้ารับการผ่าตัดในโรงพยาบาลตติยภูมิ 3 แห่ง เลือกกลุ่มตัวอย่าง
ตามเกณฑ์คัดเข้าที่กำหนด จำนวน 87 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบประเมินภาวะโรคร่วม แบบคัดกรองภาวะโภชนาการ แบบประเมินความวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้า และแบบประเมินความรุนแรงของการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปโดยสถิติเชิงบรรยายและวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรโดยสถิติสหสัมพันธ์สเปียร์แมน
ผลการวิจัย : กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 62.1 มีอายุมากกว่า 60 ปี ร้อยละ 43.7 เกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดความรุนแรงระดับ 1 ร้อยละ 48.3 มีระยะเวลาการผ่าตัด 3-6 ชั่วโมง ร้อยละ 70.1 มีปริมาณการเสียเลือดขณะผ่าตัดน้อยกว่า 500 มิลลิลิตร ร้อยละ 44.8 เป็นมะเร็งระยะที่ 3 และร้อยละ 41.4
ไม่มีภาวะโรคร่วม ร้อยละ 81.6 มีความเสี่ยงทางโภชนาการ(NRS >3) ร้อยละ 66.7 อยู่ในกลุ่มมีความวิตกกังวลสูงมาก (HADS-A = 11-21) และร้อยละ 48.3 อยู่ในกลุ่มมีภาวะซึมเศร้าระดับสูงแต่ยังไม่มีความผิดปกติทางจิต (HADS-D = 8-10) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรุนแรงของภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด ได้แก่ ปริมาณการเสียเลือดขณะผ่าตัด ภาวะโภชนาการ ความวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้าก่อนผ่าตัด(r = .260, .281, .449, .349; p < .05) ตามลำดับ
ข้อเสนอแนะ : ผู้ป่วยมะเร็งที่รับการผ่าตัดช่องท้องแบบเปิดควรประเมินความเสี่ยงทางโภชนาการ
ความวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้าก่อนผ่าตัดและเพิ่มการเฝ้าระวังในรายที่มีปริมาณการเสียเลือด
ขณะผ่าตัดมาก ความรุนแรงของภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดในระยะหลัง และการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดที่รุนแรงมากกว่าระดับ 2 ขึ้นไปLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27046 ผลการจัดท่านอนสะโพกสูงต่อการบรรเทาปวดไหล่ในผู้ป่วยผ่าตัดทางนรีเวชผ่านกล้อง / พลารัตน์ อรรจน์สาธิต in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 ([07/25/2016])
[article]
Title : ผลการจัดท่านอนสะโพกสูงต่อการบรรเทาปวดไหล่ในผู้ป่วยผ่าตัดทางนรีเวชผ่านกล้อง Material Type: printed text Authors: พลารัตน์ อรรจน์สาธิต, Author ; ศิริอร สินธุ, Author ; อัมพัน เฉลิมโชคเจริญกิจ, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.110-120 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 [07/25/2016] . - p.110-120Keywords: การบรรเทาอาการปวดไหล่. การผ่าตัดทางนรีเวชผ่านกล้อง. การจัดท่านอนสะโพกสูง Abstract: วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของการจัดท่านอนสะโพกสูงต่อการบรรเทาอาการ
ปวดไหล่ในผู้ป่วยผ่าตัดทางนรีเวชผ่านกล้อง
การออกแบบวิจัย: การวิจัยเชิงทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม (randomized
controlled trial)
การดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยผ่าตัดทางนรีเวชผ่านกล้อง จำนวน 50 ราย
เก็บข้อมูลที่หอผู้ป่วยนรีเวชทั้งสามัญและพิเศษ โรงพยาบาลศิริราชตั้งแต่หลังผ่าตัดจนครบ
24 ชั่วโมงหลังผ่าตัดระหว่างเดือนตุลาคม 2557 ถึงเดือนเมษายน 2558 เครื่องมือวิจัย
ประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลและข้อมูลความเจ็บป่วย แบบบันทึกข้อมูล
การผ่าตัดและแบบประเมินอาการปวด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ t - test
ผลการวิจัย: อาการปวดไหล่หลังทำากิจกรรมการพยาบาล พบว่า ในกลุ่มทดลองมี
ระดับอาการปวดไหล่เฉลี่ย 0.72 คะแนน และในกลุ่มควบคุมมีระดับอาการปวดไหล่เฉลี่ย
2.29 คะแนน เมื่อนำาทั้งสองกลุ่มมาเปรียบเทียบโดยใช้สถิติ t - test พบว่า แตกต่างกัน
อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ <.001
ข้อเสนอแนะ: การจัดท่านอนสะโพกสูงใช้สำาหรับการดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัดผ่านกล้อง
กลุ่มผู้ป่วยนรีเวชที่มีระดับอาการปวดไหล่มากกว่า 3 คะแนน สามารถลดระดับคะแนน
อาการปวดไหล่ได้ จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการลดอาการปวดไหล่สำาหรับผู้ป่วยกลุ่มนี้Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27047 [article] ผลการจัดท่านอนสะโพกสูงต่อการบรรเทาปวดไหล่ในผู้ป่วยผ่าตัดทางนรีเวชผ่านกล้อง [printed text] / พลารัตน์ อรรจน์สาธิต, Author ; ศิริอร สินธุ, Author ; อัมพัน เฉลิมโชคเจริญกิจ, Author . - 2016 . - p.110-120.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 [07/25/2016] . - p.110-120Keywords: การบรรเทาอาการปวดไหล่. การผ่าตัดทางนรีเวชผ่านกล้อง. การจัดท่านอนสะโพกสูง Abstract: วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของการจัดท่านอนสะโพกสูงต่อการบรรเทาอาการ
ปวดไหล่ในผู้ป่วยผ่าตัดทางนรีเวชผ่านกล้อง
การออกแบบวิจัย: การวิจัยเชิงทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม (randomized
controlled trial)
การดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยผ่าตัดทางนรีเวชผ่านกล้อง จำนวน 50 ราย
เก็บข้อมูลที่หอผู้ป่วยนรีเวชทั้งสามัญและพิเศษ โรงพยาบาลศิริราชตั้งแต่หลังผ่าตัดจนครบ
24 ชั่วโมงหลังผ่าตัดระหว่างเดือนตุลาคม 2557 ถึงเดือนเมษายน 2558 เครื่องมือวิจัย
ประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลและข้อมูลความเจ็บป่วย แบบบันทึกข้อมูล
การผ่าตัดและแบบประเมินอาการปวด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ t - test
ผลการวิจัย: อาการปวดไหล่หลังทำากิจกรรมการพยาบาล พบว่า ในกลุ่มทดลองมี
ระดับอาการปวดไหล่เฉลี่ย 0.72 คะแนน และในกลุ่มควบคุมมีระดับอาการปวดไหล่เฉลี่ย
2.29 คะแนน เมื่อนำาทั้งสองกลุ่มมาเปรียบเทียบโดยใช้สถิติ t - test พบว่า แตกต่างกัน
อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ <.001
ข้อเสนอแนะ: การจัดท่านอนสะโพกสูงใช้สำาหรับการดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัดผ่านกล้อง
กลุ่มผู้ป่วยนรีเวชที่มีระดับอาการปวดไหล่มากกว่า 3 คะแนน สามารถลดระดับคะแนน
อาการปวดไหล่ได้ จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการลดอาการปวดไหล่สำาหรับผู้ป่วยกลุ่มนี้Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27047