Collection Title: | SIU IS-T | Title : | การมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์ประเพณีชักพระ ของวัดในอำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี | Original title : | People’s Participation in the Traditional Conservation of Chak Phra Festival at Wat in Bannasang Sub-District, Surat Thani Province | Material Type: | printed text | Authors: | พระมหาสมชาย กนฺตสีโล, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name | Publisher: | กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร | Publication Date: | 2017 | Pagination: | viii, 78 น. | Layout: | ภาพประกอบ, ตาราง | Size: | 30 ซม. | Price: | 500.00 | General note: | SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-30
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017. | Languages : | Thai (tha) | Descriptors: | [LCSH]การมีส่วนร่วม [LCSH]ประชาชน [LCSH]ประเพณีชักพระ
| Keywords: | การมีส่วนร่วมของประชาชน,
การอนุรักษ์ประเพณีชักพระ | Abstract: | วัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้คือศึกษาและเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์ประเพณีชักพระของวัดของประชาชนที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ ต่างกัน ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลกลุ่มตัวอย่างจำนวน 393 คน นำมาวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณา และสถิติเชิงอนุมาน คือการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) ในการวิเคราะห์ข้อมูลและทดสอบสมมุติฐาน
ผลการวิจัยพบว่า การมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์ประเพณีชักพระทุกด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ด้านมีส่วนรวมในการรับผลประโยชน์ รองลงมาได้แก่ ด้านมีส่วนรวมในการประเมินผล ด้านมีส่วนรวมในการตัดสินใจและ ด้านมีส่วนรวมในการดำเนินการ ตามลำดับ ผลการ วิเคราะห์เปรียบเทียบการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ประเพณีชักพระของวัดในอำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำแนกตามข้อมูลส่วนบุคคล พบว่า กลุ่มรายได้ไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ส่วนเพศมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยทางสถิตจึงได้ทดสอบเป็นรายคู่ด้วยวิธีของ scheffe ด้านการมีส่วนรวมในการรับผลประโยชน์ประชาชนที่เป็นเพศหญิง มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ประเพณีชักพระมากกว่าเพศชาย ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหาและการแก้ไขปัญหาการอนุรักษ์ประเพณีชักพระของวัดใน อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี ควรมีการปรับปรุงแก้ไข แบ่งงานกันทำ ลงมือปฏิบัติและพัฒนาวิธีการเพื่อให้ประเพณีชักพระอยู่สืบทอดให้ยั่งยืนไปสู่ระดับประเพณีวัฒนธรรมอาเซียนในอนาคต
| Curricular : | MPA | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27201 |
SIU IS-T. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์ประเพณีชักพระ ของวัดในอำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี = People’s Participation in the Traditional Conservation of Chak Phra Festival at Wat in Bannasang Sub-District, Surat Thani Province [printed text] / พระมหาสมชาย กนฺตสีโล, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - viii, 78 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม. 500.00 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-30
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017. Languages : Thai ( tha) Descriptors: | [LCSH]การมีส่วนร่วม [LCSH]ประชาชน [LCSH]ประเพณีชักพระ
| Keywords: | การมีส่วนร่วมของประชาชน,
การอนุรักษ์ประเพณีชักพระ | Abstract: | วัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้คือศึกษาและเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์ประเพณีชักพระของวัดของประชาชนที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ ต่างกัน ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลกลุ่มตัวอย่างจำนวน 393 คน นำมาวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณา และสถิติเชิงอนุมาน คือการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) ในการวิเคราะห์ข้อมูลและทดสอบสมมุติฐาน
ผลการวิจัยพบว่า การมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์ประเพณีชักพระทุกด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ด้านมีส่วนรวมในการรับผลประโยชน์ รองลงมาได้แก่ ด้านมีส่วนรวมในการประเมินผล ด้านมีส่วนรวมในการตัดสินใจและ ด้านมีส่วนรวมในการดำเนินการ ตามลำดับ ผลการ วิเคราะห์เปรียบเทียบการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ประเพณีชักพระของวัดในอำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำแนกตามข้อมูลส่วนบุคคล พบว่า กลุ่มรายได้ไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ส่วนเพศมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยทางสถิตจึงได้ทดสอบเป็นรายคู่ด้วยวิธีของ scheffe ด้านการมีส่วนรวมในการรับผลประโยชน์ประชาชนที่เป็นเพศหญิง มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ประเพณีชักพระมากกว่าเพศชาย ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหาและการแก้ไขปัญหาการอนุรักษ์ประเพณีชักพระของวัดใน อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี ควรมีการปรับปรุงแก้ไข แบ่งงานกันทำ ลงมือปฏิบัติและพัฒนาวิธีการเพื่อให้ประเพณีชักพระอยู่สืบทอดให้ยั่งยืนไปสู่ระดับประเพณีวัฒนธรรมอาเซียนในอนาคต
| Curricular : | MPA | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27201 |
|