From this page you can:
Home |
Author details
Author เอื้อกิจ นรลักขณ์
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์กับระยะเวลาการมารับการรักษาในโรงพยาบาล / ปราณี คำโสภา in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.28 No.1 (ม.ค-มิ.ย) 2017 ([11/16/2017])
[article]
Title : ปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์กับระยะเวลาการมารับการรักษาในโรงพยาบาล : ของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่มีอาการกำเริบเฉียบพลัน Original title : Selected factors related to pre-hospital time in chronic obstructive pulmonary disease patients with acute exacebation Material Type: printed text Authors: ปราณี คำโสภา, Author ; นรลักขณ์ เอื้อกิจ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p. Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.28 No.1 (ม.ค-มิ.ย) 2017 [11/16/2017] . - p.Keywords: โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง.ระยะเวลาการมารับการรักษา.ปัจจัยคัดสรร. Abstract: การวิจัยเชิงสหสัมพันธ์นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระยะเวลาการมารับการรักษาของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่มีอาการกำเริบเฉียบพลัน และปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์ ได้แก่ อาการหายใจลำบาก การรับรู้ความรุนแรงของโรค ความเหนื่อยล้า ความวิตกกังวลและการสนับสนุนทางสังคม กับระยะเวลาการมารับการรักษา กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่มีอาการกำเริบเฉียบพลัน จำนวน 123 คน ที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลตากสินและโรงพยาบาลกลาง เครื่องมือวิจัย คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามระยะเวลาการมารับการรักษาของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง แบบประเมินอาการหายใจลำบาก แบบประเมินการรับรู้ความรุนแรงของโรค แบบวัดความเหนื่อยล้า แบบประเมินความวิตกกังวล และแบบสอบถามความรู้สึกหลากหลายมิติเกี่ยวกับความช่วยเหลือทางสังคม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน
ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุระหว่าง 50 - 59 ปี คิดเป็นร้อยละ 84.6 (mean = 52.9, S.D. = 5.42) มีค่าเฉลี่ยของระยะเวลาการมารับการรักษา 60 นาที (S.D. = 38.70) ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปรพบว่า อาการหายใจลำบาก การรับรู้ความรุนแรงของโรค ความเหนื่อยล้า ความวิตกกังวลและการสนับสนุนทางสังคม มีความสัมพันธ์ทางลบกับระยะเวลาการมารับการรักษา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) (r= -.730, -.699, -.217, -.333 และ -.429 ตามลำดับ)
ผลการวิจัยนี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความรุนแรงของอาการหายใจลำบาก ความรุนแรงของโรค และเพิ่มการสนับสนุนทางสังคมให้ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง เพื่อให้ผู้ป่วยมีระยะเวลาการมารับการรักษาอย่างเหมาะสมเมื่อเกิดอาการกำเริบเฉียบพลันRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27500 [article] ปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์กับระยะเวลาการมารับการรักษาในโรงพยาบาล = Selected factors related to pre-hospital time in chronic obstructive pulmonary disease patients with acute exacebation : ของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่มีอาการกำเริบเฉียบพลัน [printed text] / ปราณี คำโสภา, Author ; นรลักขณ์ เอื้อกิจ, Author . - 2017 . - p.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.28 No.1 (ม.ค-มิ.ย) 2017 [11/16/2017] . - p.Keywords: โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง.ระยะเวลาการมารับการรักษา.ปัจจัยคัดสรร. Abstract: การวิจัยเชิงสหสัมพันธ์นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระยะเวลาการมารับการรักษาของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่มีอาการกำเริบเฉียบพลัน และปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์ ได้แก่ อาการหายใจลำบาก การรับรู้ความรุนแรงของโรค ความเหนื่อยล้า ความวิตกกังวลและการสนับสนุนทางสังคม กับระยะเวลาการมารับการรักษา กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่มีอาการกำเริบเฉียบพลัน จำนวน 123 คน ที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลตากสินและโรงพยาบาลกลาง เครื่องมือวิจัย คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามระยะเวลาการมารับการรักษาของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง แบบประเมินอาการหายใจลำบาก แบบประเมินการรับรู้ความรุนแรงของโรค แบบวัดความเหนื่อยล้า แบบประเมินความวิตกกังวล และแบบสอบถามความรู้สึกหลากหลายมิติเกี่ยวกับความช่วยเหลือทางสังคม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน
ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุระหว่าง 50 - 59 ปี คิดเป็นร้อยละ 84.6 (mean = 52.9, S.D. = 5.42) มีค่าเฉลี่ยของระยะเวลาการมารับการรักษา 60 นาที (S.D. = 38.70) ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปรพบว่า อาการหายใจลำบาก การรับรู้ความรุนแรงของโรค ความเหนื่อยล้า ความวิตกกังวลและการสนับสนุนทางสังคม มีความสัมพันธ์ทางลบกับระยะเวลาการมารับการรักษา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) (r= -.730, -.699, -.217, -.333 และ -.429 ตามลำดับ)
ผลการวิจัยนี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความรุนแรงของอาการหายใจลำบาก ความรุนแรงของโรค และเพิ่มการสนับสนุนทางสังคมให้ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง เพื่อให้ผู้ป่วยมีระยะเวลาการมารับการรักษาอย่างเหมาะสมเมื่อเกิดอาการกำเริบเฉียบพลันRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27500 ปัจจัยทำนายภาวะสุขภาพของผู้ป่วยภายหลังได้รับการผ่าตัดเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ / ทีปทัศน์ ชินตาปัญญากุล in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.28 No.1 (ม.ค-มิ.ย) 2017 ([11/16/2017])
[article]
Title : ปัจจัยทำนายภาวะสุขภาพของผู้ป่วยภายหลังได้รับการผ่าตัดเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ Original title : Predicting factors of health status among patients after coronary artery bypass graft surgery Material Type: printed text Authors: ทีปทัศน์ ชินตาปัญญากุล, Author ; นรลักขณ์ เอื้อกิจ, Author ; สุชาต ไชยโรจน์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.96-110 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.28 No.1 (ม.ค-มิ.ย) 2017 [11/16/2017] . - p.96-110Keywords: ผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ.ภาวะสุขภาพ.ปัจจัยทำนาย. Abstract: การวิจัยเชิงทำนายนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาวะสุขภาพ ความสัมพันธ์และอำนาจการทำนายของปัจจัยทำนายได้แก่ อายุ ระดับสมรรถภาพของหัวใจก่อนผ่าตัด ค่าการบีบตัวของหัวใจ โรคร่วม ความรู้เรื่องโรคและการผ่าตัด และพฤติกรรมการดูแลตนเองที่มีต่อภาวะสุขภาพของผู้ป่วยผ่าตัดเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ
กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจทั้งเพศชายและหญิงที่มีอายุ 18-59 ปี จำนวน 123 คน ที่มารับบริการ ณ แผนกผู้ป่วยนอกศัลยกรรม โรงพยาบาลรามาธิบดี และโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า โดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบบันทึกโรคร่วม แบบสอบถามความรู้เรื่องโรคและการผ่าตัด แบบสอบถามพฤติกรรมการดูแลตนเอง และแบบสอบถามภาวะสุขภาพ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายและสถิติถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน
ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีภาวะสุขภาพโดยรวมอยู่ในระดับดี (Mean = 58.03, S.D. = 3.90) พฤติกรรมการดูแลตนเอง ค่าการบีบตัวของหัวใจและความรู้เรื่องโรคและการผ่าตัดมีความสัมพันธ์ทางบวกกับภาวะสุขภาพของกลุ่มตัวอย่าง (r = .678, r = .583 และ r = .549 ตามลำดับ) โรคร่วม อายุและระดับสมรรถภาพของหัวใจก่อนผ่าตัดมีความสัมพันธ์ทางลบกับภาวะสุขภาพของกลุ่มตัวอย่าง (r = -.565, r = -.554 และ r = -.537 ตามลำดับ) พฤติกรรมการดูแลตนเอง โรคร่วม ระดับสมรรถภาพของหัวใจก่อนผ่าตัด อายุ ค่าการบีบตัวของหัวใจและความรู้เรื่องโรคและการผ่าตัดสามารถร่วมทำนายภาวะสุขภาพของกลุ่มตัวอย่างได้ร้อยละ 74
ผลการศึกษานี้ทำให้เกิดความเข้าใจในการพัฒนาโปรแกรมเพื่อส่งเสริมความรู้เรื่องโรค พฤติกรรมการดูแลตนเองให้กับผู้ป่วยผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27501 [article] ปัจจัยทำนายภาวะสุขภาพของผู้ป่วยภายหลังได้รับการผ่าตัดเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ = Predicting factors of health status among patients after coronary artery bypass graft surgery [printed text] / ทีปทัศน์ ชินตาปัญญากุล, Author ; นรลักขณ์ เอื้อกิจ, Author ; สุชาต ไชยโรจน์, Author . - 2017 . - p.96-110.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.28 No.1 (ม.ค-มิ.ย) 2017 [11/16/2017] . - p.96-110Keywords: ผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ.ภาวะสุขภาพ.ปัจจัยทำนาย. Abstract: การวิจัยเชิงทำนายนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาวะสุขภาพ ความสัมพันธ์และอำนาจการทำนายของปัจจัยทำนายได้แก่ อายุ ระดับสมรรถภาพของหัวใจก่อนผ่าตัด ค่าการบีบตัวของหัวใจ โรคร่วม ความรู้เรื่องโรคและการผ่าตัด และพฤติกรรมการดูแลตนเองที่มีต่อภาวะสุขภาพของผู้ป่วยผ่าตัดเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ
กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจทั้งเพศชายและหญิงที่มีอายุ 18-59 ปี จำนวน 123 คน ที่มารับบริการ ณ แผนกผู้ป่วยนอกศัลยกรรม โรงพยาบาลรามาธิบดี และโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า โดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบบันทึกโรคร่วม แบบสอบถามความรู้เรื่องโรคและการผ่าตัด แบบสอบถามพฤติกรรมการดูแลตนเอง และแบบสอบถามภาวะสุขภาพ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายและสถิติถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน
ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีภาวะสุขภาพโดยรวมอยู่ในระดับดี (Mean = 58.03, S.D. = 3.90) พฤติกรรมการดูแลตนเอง ค่าการบีบตัวของหัวใจและความรู้เรื่องโรคและการผ่าตัดมีความสัมพันธ์ทางบวกกับภาวะสุขภาพของกลุ่มตัวอย่าง (r = .678, r = .583 และ r = .549 ตามลำดับ) โรคร่วม อายุและระดับสมรรถภาพของหัวใจก่อนผ่าตัดมีความสัมพันธ์ทางลบกับภาวะสุขภาพของกลุ่มตัวอย่าง (r = -.565, r = -.554 และ r = -.537 ตามลำดับ) พฤติกรรมการดูแลตนเอง โรคร่วม ระดับสมรรถภาพของหัวใจก่อนผ่าตัด อายุ ค่าการบีบตัวของหัวใจและความรู้เรื่องโรคและการผ่าตัดสามารถร่วมทำนายภาวะสุขภาพของกลุ่มตัวอย่างได้ร้อยละ 74
ผลการศึกษานี้ทำให้เกิดความเข้าใจในการพัฒนาโปรแกรมเพื่อส่งเสริมความรู้เรื่องโรค พฤติกรรมการดูแลตนเองให้กับผู้ป่วยผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27501 ผลของโปรแกรมการออกก / กันตา ชื่นจิต in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.24 No.1 (Jan-Jun) 2017/60 ([07/25/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการออกก : ในผู้ป่วยหลังผ่าตัดช่องท้อง Original title : The Effect of Leg Exercise Combined with Reflexology on Femoral Venous Blood Flow Velocity in Post Abdominal Surgery Patients Material Type: printed text Authors: กันตา ชื่นจิต, Author ; นรลักขณ์ เอื้อกิจ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.163-178 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.24 No.1 (Jan-Jun) 2017/60 [07/25/2017] . - p.163-178Keywords: ความเร็วในการไหลเวียนเลือดดำ.ภาวะหลอดเลือดดำอุดตัน. ผู้ป่วยหลังผ่าตัดช่องท้อง. Abstract: การศึกษานี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการออกกำลังกาย
ขาร่วมกับการนวดกดจุดสะท้อนฝ่าเท้าต่อความเร็วในการไหลเวียนกลับของเลือดดำบริเวณขาหนีบ
ในผู้ป่วยหลังผ่าตัดช่องท้อง
กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยวัยผู้ใหญ่เพศชายและเพศหญิง อายุ 18-59 ปีที่ได้รับการผ่าตัดเปิดช่องท้องบริเวณหน้าท้องถึงเชิงกรานและใช้ระยะเวลาในการผ่าตัดมากกว่า45 นาที ที่หอผู้ป่วยศัลยกรรมหรือหอผู้ป่วยนรีเวช โรงพยาบาลตำรวจ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง แบ่งเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง กลุ่มละ 22 คน โดยจับคู่ ระดับความเสี่ยงการเกิดภาวะหลอดเลือดดำอุดตัน อายุ และเพศ กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ กลุ่มทดลองได้รับการพยาบาลตามปกติร่วมกับโปรแกรมการออกกำลังกายขาและการนวดกดจุดสะท้อนฝ่าเท้า เป็นเวลา 4 วัน วัดความความเร็วในการไหลเวียนกลับของเลือดดำบริเวณขาหนีบทั้งก่อนและหลังการทดลอง
เครื่องมือวิจัยประกอบด้วย 1) โปรแกรมการออกกำลังกายขาร่วมกับการนวดกดจุดสะท้อนฝ่าเท้า ที่ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน 2)แบบสังเกตการออกกำลังกายขาร่วมกับการนวดกดจุดสะท้อนฝ่าเท้า หาค่าความเที่ยงด้วยค่าสหสัมพันธ์ระหว่าง ผู้สังเกตเท่ากับ 1 และ3) เครื่องฟังเสียงสะท้อนการไหลเวียนเลือด และ4) แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและสถิติทดสอบค่าที
ผลการวิจัย พบว่า
1. ความเร็วเฉลี่ยในการไหลเวียนกลับของเลือดดำบริเวณขาหนีบในผู้ป่วยหลังผ่าตัด
ช่องท้อง หลังได้รับโปรแกรมการออกกำลังกายขาร่วมกับการนวดกดจุดสะท้อนฝ่าเท้าสูงกว่า
ก่อนได้รับโปรแกรมการออกกำลังกายขาร่วมกับการนวดกดจุดสะท้อนฝ่าเท้า อย่างมีนัยสำคัญ
ทางสถิติที่ระดับ .05
2. ความเร็วเฉลี่ยในการไหลเวียนกลับของเลือดำบริเวณขาหนีบในผู้ป่วยหลังผ่าตัด
ช่องท้อง กลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการออกกำลังกายขาร่วมกับการนวดกดจุดสะท้อนฝ่าเท้า สูงกว่า
กลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ผลการวิจัยนี้สามารถนำไปประยุกต์เป็นแนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อเพิ่มความเร็วในการไหล
เวียนกลับของเลือดดำบริเวณขาหนีบเข้าสู่หัวใจ ลดความเสี่ยงการเกิดภาวะหลอดเลือดดLink for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27065 [article] ผลของโปรแกรมการออกก = The Effect of Leg Exercise Combined with Reflexology on Femoral Venous Blood Flow Velocity in Post Abdominal Surgery Patients : ในผู้ป่วยหลังผ่าตัดช่องท้อง [printed text] / กันตา ชื่นจิต, Author ; นรลักขณ์ เอื้อกิจ, Author . - 2017 . - p.163-178.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.24 No.1 (Jan-Jun) 2017/60 [07/25/2017] . - p.163-178Keywords: ความเร็วในการไหลเวียนเลือดดำ.ภาวะหลอดเลือดดำอุดตัน. ผู้ป่วยหลังผ่าตัดช่องท้อง. Abstract: การศึกษานี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการออกกำลังกาย
ขาร่วมกับการนวดกดจุดสะท้อนฝ่าเท้าต่อความเร็วในการไหลเวียนกลับของเลือดดำบริเวณขาหนีบ
ในผู้ป่วยหลังผ่าตัดช่องท้อง
กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยวัยผู้ใหญ่เพศชายและเพศหญิง อายุ 18-59 ปีที่ได้รับการผ่าตัดเปิดช่องท้องบริเวณหน้าท้องถึงเชิงกรานและใช้ระยะเวลาในการผ่าตัดมากกว่า45 นาที ที่หอผู้ป่วยศัลยกรรมหรือหอผู้ป่วยนรีเวช โรงพยาบาลตำรวจ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง แบ่งเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง กลุ่มละ 22 คน โดยจับคู่ ระดับความเสี่ยงการเกิดภาวะหลอดเลือดดำอุดตัน อายุ และเพศ กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ กลุ่มทดลองได้รับการพยาบาลตามปกติร่วมกับโปรแกรมการออกกำลังกายขาและการนวดกดจุดสะท้อนฝ่าเท้า เป็นเวลา 4 วัน วัดความความเร็วในการไหลเวียนกลับของเลือดดำบริเวณขาหนีบทั้งก่อนและหลังการทดลอง
เครื่องมือวิจัยประกอบด้วย 1) โปรแกรมการออกกำลังกายขาร่วมกับการนวดกดจุดสะท้อนฝ่าเท้า ที่ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน 2)แบบสังเกตการออกกำลังกายขาร่วมกับการนวดกดจุดสะท้อนฝ่าเท้า หาค่าความเที่ยงด้วยค่าสหสัมพันธ์ระหว่าง ผู้สังเกตเท่ากับ 1 และ3) เครื่องฟังเสียงสะท้อนการไหลเวียนเลือด และ4) แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและสถิติทดสอบค่าที
ผลการวิจัย พบว่า
1. ความเร็วเฉลี่ยในการไหลเวียนกลับของเลือดดำบริเวณขาหนีบในผู้ป่วยหลังผ่าตัด
ช่องท้อง หลังได้รับโปรแกรมการออกกำลังกายขาร่วมกับการนวดกดจุดสะท้อนฝ่าเท้าสูงกว่า
ก่อนได้รับโปรแกรมการออกกำลังกายขาร่วมกับการนวดกดจุดสะท้อนฝ่าเท้า อย่างมีนัยสำคัญ
ทางสถิติที่ระดับ .05
2. ความเร็วเฉลี่ยในการไหลเวียนกลับของเลือดำบริเวณขาหนีบในผู้ป่วยหลังผ่าตัด
ช่องท้อง กลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการออกกำลังกายขาร่วมกับการนวดกดจุดสะท้อนฝ่าเท้า สูงกว่า
กลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ผลการวิจัยนี้สามารถนำไปประยุกต์เป็นแนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อเพิ่มความเร็วในการไหล
เวียนกลับของเลือดดำบริเวณขาหนีบเข้าสู่หัวใจ ลดความเสี่ยงการเกิดภาวะหลอดเลือดดLink for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27065 ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อการมีกิจกรรมทางกาย ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจภายหลังได้รับการสวนหัวใจขยายหลอดเลือด / ผุสดี พุฒดี in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.24 No.1 (Jan-Jun) 2017/60 ([07/25/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อการมีกิจกรรมทางกาย ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจภายหลังได้รับการสวนหัวใจขยายหลอดเลือด Original title : The Effect of Perceived Self Efficacy Promoting Program on Physical Activity among Coronary Artery Disease Patient after Percutaneous Coronary Intervention Material Type: printed text Authors: ผุสดี พุฒดี, Author ; ปชาณัฎฐ์ ตันติโกสุม, Author ; นรลักขณ์ เอื้อกิจ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.147-162 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.24 No.1 (Jan-Jun) 2017/60 [07/25/2017] . - p.147-162Keywords: กิจกรรมทงกาย.การรับรู้สมรรถนะแห่งตน.โรคหลอดเลือดหัวใจ.การสวนหัวใจขยายหลอดเลือด Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริม
การรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อการมีกิจกรรมทางกายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจภายหลัง
ได้รับการสวนหัวใจขยายหลอดเลือด กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจภายหลังได้รับการสวนหัวใจขยายหลอดเลือดที่เข้ารับการรักษาในแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์
กรุงเทพมหานคร คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงตามคุณสมบัติ แบ่งเป็น กลุ่มควบคุม 22 คนและกลุ่มทดลอง 22 คน จับคู่ให้กลุ่มตัวอย่างมีความคล้ายคลึงกันในเรื่องอายุและเพศ
โดยกลุ่มทดลองจะได้รับโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนร่วมกับการพยาบาลตามปกติ
เป็นเวลา 8 สัปดาห์ และกลุ่มควบคุมจะได้รับการพยาบาลตามปกติ
เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสัมภาษณ์การเคลื่อนไหวออกแรง แบบประเมินความเชื่อมั่นของตนเองในการเคลื่อนไหวออกแรง ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน โดยมีค่าความเที่ยงสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาคเท่ากับ.81 ค่าความตรงตามเนื้อหาเนื้อหาเท่ากับ 1 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานสถิติทดสอบค่าที
ผลการวิจัย สรุปได้ดังนี้
1. การมีกิจกรรมทางกายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจภายหลังได้รับการสวนหัวใจขยายหลอดเลือดหลังได้รับโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05)
2. การมีกิจกรรมทางกายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจภายหลังได้รับการสวนหัวใจ
ขยายหลอดเลือดกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับ
การพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05)
Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27064 [article] ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อการมีกิจกรรมทางกาย ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจภายหลังได้รับการสวนหัวใจขยายหลอดเลือด = The Effect of Perceived Self Efficacy Promoting Program on Physical Activity among Coronary Artery Disease Patient after Percutaneous Coronary Intervention [printed text] / ผุสดี พุฒดี, Author ; ปชาณัฎฐ์ ตันติโกสุม, Author ; นรลักขณ์ เอื้อกิจ, Author . - 2017 . - p.147-162.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.24 No.1 (Jan-Jun) 2017/60 [07/25/2017] . - p.147-162Keywords: กิจกรรมทงกาย.การรับรู้สมรรถนะแห่งตน.โรคหลอดเลือดหัวใจ.การสวนหัวใจขยายหลอดเลือด Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริม
การรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อการมีกิจกรรมทางกายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจภายหลัง
ได้รับการสวนหัวใจขยายหลอดเลือด กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจภายหลังได้รับการสวนหัวใจขยายหลอดเลือดที่เข้ารับการรักษาในแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์
กรุงเทพมหานคร คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงตามคุณสมบัติ แบ่งเป็น กลุ่มควบคุม 22 คนและกลุ่มทดลอง 22 คน จับคู่ให้กลุ่มตัวอย่างมีความคล้ายคลึงกันในเรื่องอายุและเพศ
โดยกลุ่มทดลองจะได้รับโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนร่วมกับการพยาบาลตามปกติ
เป็นเวลา 8 สัปดาห์ และกลุ่มควบคุมจะได้รับการพยาบาลตามปกติ
เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสัมภาษณ์การเคลื่อนไหวออกแรง แบบประเมินความเชื่อมั่นของตนเองในการเคลื่อนไหวออกแรง ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน โดยมีค่าความเที่ยงสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาคเท่ากับ.81 ค่าความตรงตามเนื้อหาเนื้อหาเท่ากับ 1 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานสถิติทดสอบค่าที
ผลการวิจัย สรุปได้ดังนี้
1. การมีกิจกรรมทางกายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจภายหลังได้รับการสวนหัวใจขยายหลอดเลือดหลังได้รับโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05)
2. การมีกิจกรรมทางกายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจภายหลังได้รับการสวนหัวใจ
ขยายหลอดเลือดกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับ
การพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05)
Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27064