From this page you can:
Home |
Author details
Author พรทิพย์ สารีโส
Available item(s) by this author



การพยาบาลผู้สูงอายุ / พรทิพย์ สารีโส / กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ - 2565
Title : การพยาบาลผู้สูงอายุ : ระบบหัวใจ และหลอดเลือด Original title : Elderly nursing care: cardiovasculau condition Material Type: printed text Authors: พรทิพย์ สารีโส, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1 Publisher: กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ Publication Date: 2565 Pagination: 9, 146 หน้า Layout: ตารางม ภาพประกอบ Size: 21 ซม. ISBN (or other code): ตึคตึภจ-ภๅ-ตจ Price: 280.00 Languages : Thai (tha) Descriptors: [NLM]การพยาบาลผู้สูงอายุ
[NLM]หลอดเลือดหัวใจ, โรค -- การพยาบาล
[NLM]หัวใจ -- โรค -- การพยาบาลClass number: WYWY152.5 ก492 2565 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28959 การพยาบาลผู้สูงอายุ = Elderly nursing care: cardiovasculau condition : ระบบหัวใจ และหลอดเลือด [printed text] / พรทิพย์ สารีโส, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 1 . - [S.l.] : กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์, 2565 . - 9, 146 หน้า : ตารางม ภาพประกอบ ; 21 ซม.
ISSN : ตึคตึภจ-ภๅ-ตจ : 280.00
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [NLM]การพยาบาลผู้สูงอายุ
[NLM]หลอดเลือดหัวใจ, โรค -- การพยาบาล
[NLM]หัวใจ -- โรค -- การพยาบาลClass number: WYWY152.5 ก492 2565 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28959 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status ่ัี32002000354192 WYWY152.5 ก492 2565 C.1 Book Main Library General Shelf Available 32002000602786 WYWY152.5 ก492 2565 C.10 Book Main Library General Shelf Available 32002000602785 WYWY152.5 ก492 2565 C.11 Book Main Library General Shelf Available 32002000602784 WYWY152.5 ก492 2565 C.12 Book Main Library General Shelf Available 32002000602783 WYWY152.5 ก492 2565 C.13 Book Main Library General Shelf Available 32002000602800 WYWY152.5 ก492 2565 C.14 Book Main Library General Shelf Available 32002000602799 WYWY152.5 ก492 2565 C.15 Book Main Library General Shelf Available 32002000602798 WYWY152.5 ก492 2565 C.16 Book Main Library General Shelf Available 32002000602792 WYWY152.5 ก492 2565 C.17 Book Main Library General Shelf Available 32002000602791 WYWY152.5 ก492 2565 C.18 Book Main Library General Shelf Available 32002000602790 WYWY152.5 ก492 2565 C.19 Book Main Library General Shelf Available 32002000602797 WYWY152.5 ก492 2565 C.2 Book Main Library General Shelf Available 32002000602795 WYWY152.5 ก492 2565 C.3 Book Main Library General Shelf Available 32002000602796 WYWY152.5 ก492 2565 C.4 Book Main Library General Shelf Available 32002000602794 WYWY152.5 ก492 2565 C.5 Book Main Library General Shelf Available 32002000602793 WYWY152.5 ก492 2565 C.6 Book Main Library General Shelf Available 32002000602789 WYWY152.5 ก492 2565 C.7 Book Main Library General Shelf Available 32002000602788 WYWY152.5 ก492 2565 C.8 Book Main Library General Shelf Available 32002000602787 WYWY152.5 ก492 2565 C.9 Book Main Library General Shelf Available ประสิทธิผลการป้องกันการเกิดแผลกดทับของที่นอนชนิดไม่มีการเคลื่อนที่ของลมและ / พรทิพย์ สารีโส in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 ([07/25/2016])
![]()
[article]
Title : ประสิทธิผลการป้องกันการเกิดแผลกดทับของที่นอนชนิดไม่มีการเคลื่อนที่ของลมและ : ชนิดที่มีการเคลื่อนที่ของลม : การศึกษาเบื้องต้น Material Type: printed text Authors: พรทิพย์ สารีโส, Author ; ปิยะภร ไพรสนธิ์, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.83-96 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 [07/25/2016] . - p.83-96Keywords: ที่นอนเสริมแรงกด. แรงกดทับ. ผู้สูงอายุ. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย : พัฒนาและทดสอบประสิทธิผลการป้องกันการเกิดแผลกดทับ
ของที่นอนเสริมลดแรงกดชนิดไม่มีการเคลื่อนที่ของลมในผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับ
การออกแบบการวิจัย : การวิจัยเชิงพัฒนาทดลอง
วิธีดำเนินการวิจัย : กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยศัลยกรรม
กึ่งวิกฤต จำนวน 12 คน จัดเข้ากลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองกลุ่มละ 6 คนโดยวิธีการสุ่ม
ประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับโดยใช้แบบประเมินของบราเดนในวันแรกรับ วันที่ 3,
7 และ 14 และประเมินผิวหนังโดยแบบประเมินสภาพผิวหนังของเบอร์กสตรอมทุกวัน
กลุ่มตัวอย่างทั้ง 2 กลุ่มได้รับการดูแลตามมาตรฐานการป้องกันแผลกดทับของโรงพยาบาล
กลุ่มทดลองนอนบนที่นอนเสริมลดแรงกดและกลุ่มควบคุมนอนบนที่นอนชนิดที่มีการ
เคลื่อนที่ของลม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ สถิติไคสแควร์และ
สถิติการทดสอบของฟิชเชอร์
ผลการวิจัย : กลุ่มตัวอย่าง 12 คน เกิดแผลกดทับ 4 คน เป็นกลุ่มควบคุม 2 คนและ
กลุ่มทดลอง 2 คน กลุ่มควบคุมเริ่มเกิดแผลกดทับในวันที่ 6 และวันที่ 10 ตามลำดับ กลุ่ม
ทดลองเริ่มเกิดแผลกดทับ ในวันที่ 6 และวันที่ 7 ตามลำดับ เมื่อจำแนกช่วงอายุ ระดับความเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับ ระดับอัลบูมินในเลือดและดัชนีมวลกาย พบว่า การเกิดแผลกดทับ
ในกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุมไม่มีความแตกต่างกัน (p < 0.05)
ข้อเสนอแนะ : ควรมีการศึกษาเพิ่มเติม ดังนี้ 1) ขยายเวลาของโปรแกรมในการนอน
บนที่นอนนวัตกรรมให้นานขึ้นเพื่อศึกษาถึงอายุการใช้งานของที่นอนนวัตกรรม 2) เพิ่ม
กลุ่มตัวอย่างให้มีขนาดใหญ่ขึ้นและ ประเมินความพึงพอใจในการใช้นวัตกรรมที่นอนจากผู้ใช้Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27045 [article] ประสิทธิผลการป้องกันการเกิดแผลกดทับของที่นอนชนิดไม่มีการเคลื่อนที่ของลมและ : ชนิดที่มีการเคลื่อนที่ของลม : การศึกษาเบื้องต้น [printed text] / พรทิพย์ สารีโส, Author ; ปิยะภร ไพรสนธิ์, Author . - 2016 . - p.83-96.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 [07/25/2016] . - p.83-96Keywords: ที่นอนเสริมแรงกด. แรงกดทับ. ผู้สูงอายุ. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย : พัฒนาและทดสอบประสิทธิผลการป้องกันการเกิดแผลกดทับ
ของที่นอนเสริมลดแรงกดชนิดไม่มีการเคลื่อนที่ของลมในผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับ
การออกแบบการวิจัย : การวิจัยเชิงพัฒนาทดลอง
วิธีดำเนินการวิจัย : กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยศัลยกรรม
กึ่งวิกฤต จำนวน 12 คน จัดเข้ากลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองกลุ่มละ 6 คนโดยวิธีการสุ่ม
ประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับโดยใช้แบบประเมินของบราเดนในวันแรกรับ วันที่ 3,
7 และ 14 และประเมินผิวหนังโดยแบบประเมินสภาพผิวหนังของเบอร์กสตรอมทุกวัน
กลุ่มตัวอย่างทั้ง 2 กลุ่มได้รับการดูแลตามมาตรฐานการป้องกันแผลกดทับของโรงพยาบาล
กลุ่มทดลองนอนบนที่นอนเสริมลดแรงกดและกลุ่มควบคุมนอนบนที่นอนชนิดที่มีการ
เคลื่อนที่ของลม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ สถิติไคสแควร์และ
สถิติการทดสอบของฟิชเชอร์
ผลการวิจัย : กลุ่มตัวอย่าง 12 คน เกิดแผลกดทับ 4 คน เป็นกลุ่มควบคุม 2 คนและ
กลุ่มทดลอง 2 คน กลุ่มควบคุมเริ่มเกิดแผลกดทับในวันที่ 6 และวันที่ 10 ตามลำดับ กลุ่ม
ทดลองเริ่มเกิดแผลกดทับ ในวันที่ 6 และวันที่ 7 ตามลำดับ เมื่อจำแนกช่วงอายุ ระดับความเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับ ระดับอัลบูมินในเลือดและดัชนีมวลกาย พบว่า การเกิดแผลกดทับ
ในกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุมไม่มีความแตกต่างกัน (p < 0.05)
ข้อเสนอแนะ : ควรมีการศึกษาเพิ่มเติม ดังนี้ 1) ขยายเวลาของโปรแกรมในการนอน
บนที่นอนนวัตกรรมให้นานขึ้นเพื่อศึกษาถึงอายุการใช้งานของที่นอนนวัตกรรม 2) เพิ่ม
กลุ่มตัวอย่างให้มีขนาดใหญ่ขึ้นและ ประเมินความพึงพอใจในการใช้นวัตกรรมที่นอนจากผู้ใช้Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27045 ภาวะโลหิตจางในผู้สูงอายุภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย / ปิยะภร ไพรสนธิ์ in วารสารสภาการพยาบาล, Vol 32. No. 1 (Jan-Mar) 2017/60 ([07/25/2017])
![]()
[article]
Title : ภาวะโลหิตจางในผู้สูงอายุภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย Original title : Anaemia in Elderly People in Upper-Northern Thailand Material Type: printed text Authors: ปิยะภร ไพรสนธิ์, Author ; พรทิพย์ สารีโส, Author ; พัชราภรณ์ อารีย์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.133-145 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol 32. No. 1 (Jan-Mar) 2017/60 [07/25/2017] . - p.133-145Keywords: ภาวะโลหิตจาง. ผู้สูงอายุไทย. ภาวะโภชนการ. อาการที่สัมพันธ์กับภาวะโลหิตจาง.anaemia. Abstract: วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความชุกของภาวะโลหิตจางในผู้สูงอายุภาคเหนือตอนบนของ
ประเทศไทย อาการที่สัมพันธ์กับภาวะโลหิตจาง และภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุที่มีภาวะโลหิตจาง
การออกแบบวิจัย: การวิจัยเชิงพรรณนา
วิธีดำเนินการวิจัย: คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง จากผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปี
ขึ้นไป อาศัยอยู่ในเขตภาคเหนือ 4 จังหวัด ได้แก่ เชียงราย เชียงใหม่ พะเยา และลำพูน
จำนวน 477 คน เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์และเจาะเลือดส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อมูล โดยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ และค่าเฉลี่ย
ผลการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างจำานวน 477 คน มีภาวะโลหิตจางจำนวน 130 คน (ร้อยละ 27.3)ส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 65.4) โดยเพศหญิงมีภาวะโลหิตจาง (Hb < 12 g/dL)85 คน คิดเป็นร้อยละ 28.1 เพศชายมีภาวะโลหิตจาง (Hb < 13 g/dL) 45 คน
คิดเป็นร้อยละ 25.7 มีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก 3 คน คิดเป็นร้อยละ 2.3
มีอาการที่สัมพันธ์กับภาวะซีดภายใน 1 สัปดาห์ที่ผ่านมา 5 อันดับแรก ได้แก่
อาการหลงลืมง่าย คิดช้า คิดไม่ค่อยออก ขาเป็นตะคริว นอนไม่หลับ และรู้สึกไม่คล่องแคล่ว
อาการส่วนใหญ่อยู่ในระดับไม่รุนแรง มีภาวะโภชนาการระดับปกติ ร้อยละ 54.6 และมีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะทุพโภชนาการ ร้อยละ 44.6
ข้อเสนอแนะ: บุคลากรสุขภาพควรตระหนักถึงความสำาคัญของภาวะโลหิตจางในผู้สูงอายุ
มีการประเมินติดตามอย่างต่อเนื่อง รวมถึงเฝ้าระวังอาการที่สัมพันธ์กับภาวะโลหิตจาง
ที่อาจเกิดขึ้นLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26988 [article] ภาวะโลหิตจางในผู้สูงอายุภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย = Anaemia in Elderly People in Upper-Northern Thailand [printed text] / ปิยะภร ไพรสนธิ์, Author ; พรทิพย์ สารีโส, Author ; พัชราภรณ์ อารีย์, Author . - 2017 . - p.133-145.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol 32. No. 1 (Jan-Mar) 2017/60 [07/25/2017] . - p.133-145Keywords: ภาวะโลหิตจาง. ผู้สูงอายุไทย. ภาวะโภชนการ. อาการที่สัมพันธ์กับภาวะโลหิตจาง.anaemia. Abstract: วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความชุกของภาวะโลหิตจางในผู้สูงอายุภาคเหนือตอนบนของ
ประเทศไทย อาการที่สัมพันธ์กับภาวะโลหิตจาง และภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุที่มีภาวะโลหิตจาง
การออกแบบวิจัย: การวิจัยเชิงพรรณนา
วิธีดำเนินการวิจัย: คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง จากผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปี
ขึ้นไป อาศัยอยู่ในเขตภาคเหนือ 4 จังหวัด ได้แก่ เชียงราย เชียงใหม่ พะเยา และลำพูน
จำนวน 477 คน เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์และเจาะเลือดส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อมูล โดยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ และค่าเฉลี่ย
ผลการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างจำานวน 477 คน มีภาวะโลหิตจางจำนวน 130 คน (ร้อยละ 27.3)ส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 65.4) โดยเพศหญิงมีภาวะโลหิตจาง (Hb < 12 g/dL)85 คน คิดเป็นร้อยละ 28.1 เพศชายมีภาวะโลหิตจาง (Hb < 13 g/dL) 45 คน
คิดเป็นร้อยละ 25.7 มีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก 3 คน คิดเป็นร้อยละ 2.3
มีอาการที่สัมพันธ์กับภาวะซีดภายใน 1 สัปดาห์ที่ผ่านมา 5 อันดับแรก ได้แก่
อาการหลงลืมง่าย คิดช้า คิดไม่ค่อยออก ขาเป็นตะคริว นอนไม่หลับ และรู้สึกไม่คล่องแคล่ว
อาการส่วนใหญ่อยู่ในระดับไม่รุนแรง มีภาวะโภชนาการระดับปกติ ร้อยละ 54.6 และมีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะทุพโภชนาการ ร้อยละ 44.6
ข้อเสนอแนะ: บุคลากรสุขภาพควรตระหนักถึงความสำาคัญของภาวะโลหิตจางในผู้สูงอายุ
มีการประเมินติดตามอย่างต่อเนื่อง รวมถึงเฝ้าระวังอาการที่สัมพันธ์กับภาวะโลหิตจาง
ที่อาจเกิดขึ้นLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26988