From this page you can:
Home |
Author details
Author ปิยะภร ไพรสนธิ์
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesประสิทธิผลการป้องกันการเกิดแผลกดทับของที่นอนชนิดไม่มีการเคลื่อนที่ของลมและ / พรทิพย์ สารีโส in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 ([07/25/2016])
[article]
Title : ประสิทธิผลการป้องกันการเกิดแผลกดทับของที่นอนชนิดไม่มีการเคลื่อนที่ของลมและ : ชนิดที่มีการเคลื่อนที่ของลม : การศึกษาเบื้องต้น Material Type: printed text Authors: พรทิพย์ สารีโส, Author ; ปิยะภร ไพรสนธิ์, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.83-96 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 [07/25/2016] . - p.83-96Keywords: ที่นอนเสริมแรงกด. แรงกดทับ. ผู้สูงอายุ. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย : พัฒนาและทดสอบประสิทธิผลการป้องกันการเกิดแผลกดทับ
ของที่นอนเสริมลดแรงกดชนิดไม่มีการเคลื่อนที่ของลมในผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับ
การออกแบบการวิจัย : การวิจัยเชิงพัฒนาทดลอง
วิธีดำเนินการวิจัย : กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยศัลยกรรม
กึ่งวิกฤต จำนวน 12 คน จัดเข้ากลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองกลุ่มละ 6 คนโดยวิธีการสุ่ม
ประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับโดยใช้แบบประเมินของบราเดนในวันแรกรับ วันที่ 3,
7 และ 14 และประเมินผิวหนังโดยแบบประเมินสภาพผิวหนังของเบอร์กสตรอมทุกวัน
กลุ่มตัวอย่างทั้ง 2 กลุ่มได้รับการดูแลตามมาตรฐานการป้องกันแผลกดทับของโรงพยาบาล
กลุ่มทดลองนอนบนที่นอนเสริมลดแรงกดและกลุ่มควบคุมนอนบนที่นอนชนิดที่มีการ
เคลื่อนที่ของลม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ สถิติไคสแควร์และ
สถิติการทดสอบของฟิชเชอร์
ผลการวิจัย : กลุ่มตัวอย่าง 12 คน เกิดแผลกดทับ 4 คน เป็นกลุ่มควบคุม 2 คนและ
กลุ่มทดลอง 2 คน กลุ่มควบคุมเริ่มเกิดแผลกดทับในวันที่ 6 และวันที่ 10 ตามลำดับ กลุ่ม
ทดลองเริ่มเกิดแผลกดทับ ในวันที่ 6 และวันที่ 7 ตามลำดับ เมื่อจำแนกช่วงอายุ ระดับความเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับ ระดับอัลบูมินในเลือดและดัชนีมวลกาย พบว่า การเกิดแผลกดทับ
ในกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุมไม่มีความแตกต่างกัน (p < 0.05)
ข้อเสนอแนะ : ควรมีการศึกษาเพิ่มเติม ดังนี้ 1) ขยายเวลาของโปรแกรมในการนอน
บนที่นอนนวัตกรรมให้นานขึ้นเพื่อศึกษาถึงอายุการใช้งานของที่นอนนวัตกรรม 2) เพิ่ม
กลุ่มตัวอย่างให้มีขนาดใหญ่ขึ้นและ ประเมินความพึงพอใจในการใช้นวัตกรรมที่นอนจากผู้ใช้Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27045 [article] ประสิทธิผลการป้องกันการเกิดแผลกดทับของที่นอนชนิดไม่มีการเคลื่อนที่ของลมและ : ชนิดที่มีการเคลื่อนที่ของลม : การศึกษาเบื้องต้น [printed text] / พรทิพย์ สารีโส, Author ; ปิยะภร ไพรสนธิ์, Author . - 2016 . - p.83-96.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 [07/25/2016] . - p.83-96Keywords: ที่นอนเสริมแรงกด. แรงกดทับ. ผู้สูงอายุ. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย : พัฒนาและทดสอบประสิทธิผลการป้องกันการเกิดแผลกดทับ
ของที่นอนเสริมลดแรงกดชนิดไม่มีการเคลื่อนที่ของลมในผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับ
การออกแบบการวิจัย : การวิจัยเชิงพัฒนาทดลอง
วิธีดำเนินการวิจัย : กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยศัลยกรรม
กึ่งวิกฤต จำนวน 12 คน จัดเข้ากลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองกลุ่มละ 6 คนโดยวิธีการสุ่ม
ประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับโดยใช้แบบประเมินของบราเดนในวันแรกรับ วันที่ 3,
7 และ 14 และประเมินผิวหนังโดยแบบประเมินสภาพผิวหนังของเบอร์กสตรอมทุกวัน
กลุ่มตัวอย่างทั้ง 2 กลุ่มได้รับการดูแลตามมาตรฐานการป้องกันแผลกดทับของโรงพยาบาล
กลุ่มทดลองนอนบนที่นอนเสริมลดแรงกดและกลุ่มควบคุมนอนบนที่นอนชนิดที่มีการ
เคลื่อนที่ของลม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ สถิติไคสแควร์และ
สถิติการทดสอบของฟิชเชอร์
ผลการวิจัย : กลุ่มตัวอย่าง 12 คน เกิดแผลกดทับ 4 คน เป็นกลุ่มควบคุม 2 คนและ
กลุ่มทดลอง 2 คน กลุ่มควบคุมเริ่มเกิดแผลกดทับในวันที่ 6 และวันที่ 10 ตามลำดับ กลุ่ม
ทดลองเริ่มเกิดแผลกดทับ ในวันที่ 6 และวันที่ 7 ตามลำดับ เมื่อจำแนกช่วงอายุ ระดับความเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับ ระดับอัลบูมินในเลือดและดัชนีมวลกาย พบว่า การเกิดแผลกดทับ
ในกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุมไม่มีความแตกต่างกัน (p < 0.05)
ข้อเสนอแนะ : ควรมีการศึกษาเพิ่มเติม ดังนี้ 1) ขยายเวลาของโปรแกรมในการนอน
บนที่นอนนวัตกรรมให้นานขึ้นเพื่อศึกษาถึงอายุการใช้งานของที่นอนนวัตกรรม 2) เพิ่ม
กลุ่มตัวอย่างให้มีขนาดใหญ่ขึ้นและ ประเมินความพึงพอใจในการใช้นวัตกรรมที่นอนจากผู้ใช้Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27045 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยในผู้สูงอายุ จังหวัดเชียงราย / ปิยะภร ไพรสนธิ์ in วารสารสภาการพยาบาล, Vol 32. No. 1 (Jan-Mar) 2017/60 ([07/25/2017])
[article]
Title : ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยในผู้สูงอายุ จังหวัดเชียงราย Original title : Factors Related to Mild Cognitive Impairments in Elderly People in Chiang Rai Province Material Type: printed text Authors: ปิยะภร ไพรสนธิ์, Author ; พรสวรรค์ เชื้อเจ็ดตน, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.64-80 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol 32. No. 1 (Jan-Mar) 2017/60 [07/25/2017] . - p.64-80Keywords: ภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อย. ปัจจัยส่วนบุคคล. การปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน. การปฏิบัติกิจวัตรประจำวันขั้นซับซ้อน.ผู้สูงอายุ. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: ศึกษาภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยในผู้สูงอายุจังหวัดเชียงราย การปฏิบัติกิจวัตรประจำวันของผู้สูงอายุที่มีภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อย และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ การดื่มสุรา การสูบบุหรี่ โรคเรื้อรังจำนวนยาที่รับประทาน และการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันกับภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยในผู้สูงอายุจังหวัดเชียงราย
การออกแบบการวิจัย: การวิจัยแบบพรรณนา
การดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุในจังหวัดเชียงราย จำนวน 1,375 คน
เลือกกลุ่มตัวอย่างตามเกณฑ์คัดเข้าที่กำหนดไว้ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูล
ส่วนบุคคล แบบประเมินการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน และแบบประเมินภาวะการรู้คิดบกพร่อง
เล็กน้อย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และการวิเคราะห์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และพอยท์ไบซีเรียล
ผลการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างมีภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อย (MoCA < 25) จำนวน 1,108 คน (ร้อยละ 80.60) ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันขั้นพื้นฐาน (BADL) ได้ด้วยตนเอง (ร้อยละ 98.30) ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันขั้นซับซ้อนโดยมีอุปกรณ์เข้ามาเกี่ยวข้อง (IADL) ได้ด้วยตนเอง(มากกว่าร้อยละ 82) ปัจจัยด้านเพศ อายุ อาชีพ ระดับการศึกษา รายได้ การดื่มแอลกอฮอล์ การปฏิบัติกิจวัตรประจำวันขั้นพื้นฐาน (BADL) และการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันขั้นซับซ้อนโดยมีอุปกรณ์เข้ามาเกี่ยวข้อง (IADL) มีความสัมพันธ์กับการเกิด
ภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01 แต่ปัจจัยด้านการสูบบุหรี่ การเป็นโรคเรื้อรัง และจำนวนยาที่รับประทานเป็นประจำไม่มีความสัมพันธ์กับการเกิดภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อย
ข้อเสนอแนะ: ตรวจคัดกรองภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยในกลุ่มผู้สูงอายุ ศึกษาติดตามระยะยาว และหาวิธีการป้องกันหรือชะลอความเสื่อมของสภาพสมองLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26984 [article] ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยในผู้สูงอายุ จังหวัดเชียงราย = Factors Related to Mild Cognitive Impairments in Elderly People in Chiang Rai Province [printed text] / ปิยะภร ไพรสนธิ์, Author ; พรสวรรค์ เชื้อเจ็ดตน, Author . - 2017 . - p.64-80.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol 32. No. 1 (Jan-Mar) 2017/60 [07/25/2017] . - p.64-80Keywords: ภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อย. ปัจจัยส่วนบุคคล. การปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน. การปฏิบัติกิจวัตรประจำวันขั้นซับซ้อน.ผู้สูงอายุ. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: ศึกษาภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยในผู้สูงอายุจังหวัดเชียงราย การปฏิบัติกิจวัตรประจำวันของผู้สูงอายุที่มีภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อย และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ การดื่มสุรา การสูบบุหรี่ โรคเรื้อรังจำนวนยาที่รับประทาน และการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันกับภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยในผู้สูงอายุจังหวัดเชียงราย
การออกแบบการวิจัย: การวิจัยแบบพรรณนา
การดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุในจังหวัดเชียงราย จำนวน 1,375 คน
เลือกกลุ่มตัวอย่างตามเกณฑ์คัดเข้าที่กำหนดไว้ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูล
ส่วนบุคคล แบบประเมินการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน และแบบประเมินภาวะการรู้คิดบกพร่อง
เล็กน้อย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และการวิเคราะห์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และพอยท์ไบซีเรียล
ผลการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างมีภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อย (MoCA < 25) จำนวน 1,108 คน (ร้อยละ 80.60) ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันขั้นพื้นฐาน (BADL) ได้ด้วยตนเอง (ร้อยละ 98.30) ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันขั้นซับซ้อนโดยมีอุปกรณ์เข้ามาเกี่ยวข้อง (IADL) ได้ด้วยตนเอง(มากกว่าร้อยละ 82) ปัจจัยด้านเพศ อายุ อาชีพ ระดับการศึกษา รายได้ การดื่มแอลกอฮอล์ การปฏิบัติกิจวัตรประจำวันขั้นพื้นฐาน (BADL) และการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันขั้นซับซ้อนโดยมีอุปกรณ์เข้ามาเกี่ยวข้อง (IADL) มีความสัมพันธ์กับการเกิด
ภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01 แต่ปัจจัยด้านการสูบบุหรี่ การเป็นโรคเรื้อรัง และจำนวนยาที่รับประทานเป็นประจำไม่มีความสัมพันธ์กับการเกิดภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อย
ข้อเสนอแนะ: ตรวจคัดกรองภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยในกลุ่มผู้สูงอายุ ศึกษาติดตามระยะยาว และหาวิธีการป้องกันหรือชะลอความเสื่อมของสภาพสมองLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26984 ภาวะโลหิตจางในผู้สูงอายุภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย / ปิยะภร ไพรสนธิ์ in วารสารสภาการพยาบาล, Vol 32. No. 1 (Jan-Mar) 2017/60 ([07/25/2017])
[article]
Title : ภาวะโลหิตจางในผู้สูงอายุภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย Original title : Anaemia in Elderly People in Upper-Northern Thailand Material Type: printed text Authors: ปิยะภร ไพรสนธิ์, Author ; พรทิพย์ สารีโส, Author ; พัชราภรณ์ อารีย์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.133-145 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol 32. No. 1 (Jan-Mar) 2017/60 [07/25/2017] . - p.133-145Keywords: ภาวะโลหิตจาง. ผู้สูงอายุไทย. ภาวะโภชนการ. อาการที่สัมพันธ์กับภาวะโลหิตจาง.anaemia. Abstract: วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความชุกของภาวะโลหิตจางในผู้สูงอายุภาคเหนือตอนบนของ
ประเทศไทย อาการที่สัมพันธ์กับภาวะโลหิตจาง และภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุที่มีภาวะโลหิตจาง
การออกแบบวิจัย: การวิจัยเชิงพรรณนา
วิธีดำเนินการวิจัย: คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง จากผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปี
ขึ้นไป อาศัยอยู่ในเขตภาคเหนือ 4 จังหวัด ได้แก่ เชียงราย เชียงใหม่ พะเยา และลำพูน
จำนวน 477 คน เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์และเจาะเลือดส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อมูล โดยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ และค่าเฉลี่ย
ผลการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างจำานวน 477 คน มีภาวะโลหิตจางจำนวน 130 คน (ร้อยละ 27.3)ส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 65.4) โดยเพศหญิงมีภาวะโลหิตจาง (Hb < 12 g/dL)85 คน คิดเป็นร้อยละ 28.1 เพศชายมีภาวะโลหิตจาง (Hb < 13 g/dL) 45 คน
คิดเป็นร้อยละ 25.7 มีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก 3 คน คิดเป็นร้อยละ 2.3
มีอาการที่สัมพันธ์กับภาวะซีดภายใน 1 สัปดาห์ที่ผ่านมา 5 อันดับแรก ได้แก่
อาการหลงลืมง่าย คิดช้า คิดไม่ค่อยออก ขาเป็นตะคริว นอนไม่หลับ และรู้สึกไม่คล่องแคล่ว
อาการส่วนใหญ่อยู่ในระดับไม่รุนแรง มีภาวะโภชนาการระดับปกติ ร้อยละ 54.6 และมีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะทุพโภชนาการ ร้อยละ 44.6
ข้อเสนอแนะ: บุคลากรสุขภาพควรตระหนักถึงความสำาคัญของภาวะโลหิตจางในผู้สูงอายุ
มีการประเมินติดตามอย่างต่อเนื่อง รวมถึงเฝ้าระวังอาการที่สัมพันธ์กับภาวะโลหิตจาง
ที่อาจเกิดขึ้นLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26988 [article] ภาวะโลหิตจางในผู้สูงอายุภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย = Anaemia in Elderly People in Upper-Northern Thailand [printed text] / ปิยะภร ไพรสนธิ์, Author ; พรทิพย์ สารีโส, Author ; พัชราภรณ์ อารีย์, Author . - 2017 . - p.133-145.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol 32. No. 1 (Jan-Mar) 2017/60 [07/25/2017] . - p.133-145Keywords: ภาวะโลหิตจาง. ผู้สูงอายุไทย. ภาวะโภชนการ. อาการที่สัมพันธ์กับภาวะโลหิตจาง.anaemia. Abstract: วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความชุกของภาวะโลหิตจางในผู้สูงอายุภาคเหนือตอนบนของ
ประเทศไทย อาการที่สัมพันธ์กับภาวะโลหิตจาง และภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุที่มีภาวะโลหิตจาง
การออกแบบวิจัย: การวิจัยเชิงพรรณนา
วิธีดำเนินการวิจัย: คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง จากผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปี
ขึ้นไป อาศัยอยู่ในเขตภาคเหนือ 4 จังหวัด ได้แก่ เชียงราย เชียงใหม่ พะเยา และลำพูน
จำนวน 477 คน เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์และเจาะเลือดส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อมูล โดยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ และค่าเฉลี่ย
ผลการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างจำานวน 477 คน มีภาวะโลหิตจางจำนวน 130 คน (ร้อยละ 27.3)ส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 65.4) โดยเพศหญิงมีภาวะโลหิตจาง (Hb < 12 g/dL)85 คน คิดเป็นร้อยละ 28.1 เพศชายมีภาวะโลหิตจาง (Hb < 13 g/dL) 45 คน
คิดเป็นร้อยละ 25.7 มีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก 3 คน คิดเป็นร้อยละ 2.3
มีอาการที่สัมพันธ์กับภาวะซีดภายใน 1 สัปดาห์ที่ผ่านมา 5 อันดับแรก ได้แก่
อาการหลงลืมง่าย คิดช้า คิดไม่ค่อยออก ขาเป็นตะคริว นอนไม่หลับ และรู้สึกไม่คล่องแคล่ว
อาการส่วนใหญ่อยู่ในระดับไม่รุนแรง มีภาวะโภชนาการระดับปกติ ร้อยละ 54.6 และมีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะทุพโภชนาการ ร้อยละ 44.6
ข้อเสนอแนะ: บุคลากรสุขภาพควรตระหนักถึงความสำาคัญของภาวะโลหิตจางในผู้สูงอายุ
มีการประเมินติดตามอย่างต่อเนื่อง รวมถึงเฝ้าระวังอาการที่สัมพันธ์กับภาวะโลหิตจาง
ที่อาจเกิดขึ้นLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26988