[article] Title : | ผลของการนวดกดจุดสะท้อนที่ฝ่าเท้าต่อความรู้สึกปวดและความรู้สึก ทุกข์ทรมานจากความปวดในผู้ป่วยโรคมะเร็ง | Original title : | Reflexology and its impact on cancer patients perception of pain and suffering from the perception of pain | Material Type: | printed text | Authors: | อุไร ยอดแก้ว, Author ; วงจันทร์ เพชรพิเชฐเชียร, Author ; วิมลรัตน์ จงเจริญ, Author | Publication Date: | 2017 | Article on page: | p.5-19 | Languages : | Thai (tha) Original Language : Thai (tha) | in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.5-19Keywords: | ผู้ป่วยโรคมะเร็ง.การนวด.การกดจุด.ฝ่าเท้า. | Abstract: | เพื่อวัดซ้ำถึงประสิทธิผลของกำรนวดกดจุดสะท้อนที่ฝ่าเท้าต่อระดับความรู้สึกปวดและความรู้สึกทุกข์ทรมานจากความปวดในผู้ป่วยโรคมะเร็ง
การออกแบบการวิจัย: เป็นกำรวิจัยเชิงทดลองกลุ่มเดี่ยว แบบวัดก่อนและหลังการทดลอง
การดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่ำงเป็นผู้ป่วยโรคมะเร็งที่มีความปวดและไม่อยู่ในระยะลุกลามที่เข้ารับการรักษาที่ศูนย์มะเร็งสุราษฎร์ธานีจำนวน 30 ราย โดยกลุ่มตัวอย่างจะได้รับการสุ่มเพื่อทำการ
นวดฝ่าเท้า 3 แบบ (three-arm randomized, crossover design) คือ การนวดแบบติดต่อกัน 3 วัน
การนวดแบบวันเว้นวัน และการนวดหลอก โดยเว้นช่วงห่าง 3 วันเพื่อศึกษาเปรียบเทียบระดับ
ความรู้สึกปวดและระดับความรู้สึกทุกข์ทรมานจากความปวดของผู้ป่วยโรคมะเร็งก่อนและหลัง
การนวด 3 แบบ วัดตัวแปรที่ศึกษา 7 ครั้ง คือ ก่อนการนวด หลังนวดทันที หลังการนวด 24, 48, 72, 96 และ 120 ชั่วโมง เก็บข้อมูลโดยวิธีปกปิดทางเดียว (single–blind technique) ใช้สถิติบรรยาย ในการรวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปโดยวิธีแจกแจงความถี่และร้อยละ ใช้คะแนนจำกค่ามัธยฐาน ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ ร่วมกับค่าเฉลี่ยของลำดับในกำรวิเครำะห์ข้อมูลระดับความรู้สึกปวด และข้อมูลระดับความรู้สึกทุกข์ทรมานจากความปวด และใช้สถิติไฟรด์แมน (Friedman’s test) ในการเปรียบเทียบระดับคะแนนความรู้สึกปวด และระดับคะแนนความรู้สึกทุกข์ทรมานจากความปวดก่อน และหลังการนวด ณ เวลาต่าง ๆ
ผลการวิจัย พบว่า ภายหลังได้รับการนวดฝ่าเท้าทั้ง 3 แบบ ระดับคะแนนความรู้สึกปวด และระดับ
คะแนนความรู้สึกทุกข์ทรมานจากความปวดลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) และภายหลังการนวดทันที หลังกำรนวด 24, 48, 72, 96 และ 120 ชั่วโมง การนวดแบบติดต่อกัน 3 วัน มีคะแนนระดับความรู้สึกปวดต่ำกว่าการนวดหลอก และการนวดแบบวันเว้นวัน ตามลำดับอย่ำงมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05)
ข้อเสนอแนะ: ในทำงปฏิบัติควรนวดแบบวันเว้นวันไปเรื่อย ๆ และควรนวดกับผู้เชี่ยวชาญด้านการนวดเพื่อคงไว้ซึ่งประสิทธิผลของการนวด และป้องกันผลข้างเคียงจากการนวด | Link for e-copy: | http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26788 |
[article] ผลของการนวดกดจุดสะท้อนที่ฝ่าเท้าต่อความรู้สึกปวดและความรู้สึก ทุกข์ทรมานจากความปวดในผู้ป่วยโรคมะเร็ง = Reflexology and its impact on cancer patients perception of pain and suffering from the perception of pain [printed text] / อุไร ยอดแก้ว, Author ; วงจันทร์ เพชรพิเชฐเชียร, Author ; วิมลรัตน์ จงเจริญ, Author . - 2017 . - p.5-19. Languages : Thai ( tha) Original Language : Thai ( tha) in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.5-19Keywords: | ผู้ป่วยโรคมะเร็ง.การนวด.การกดจุด.ฝ่าเท้า. | Abstract: | เพื่อวัดซ้ำถึงประสิทธิผลของกำรนวดกดจุดสะท้อนที่ฝ่าเท้าต่อระดับความรู้สึกปวดและความรู้สึกทุกข์ทรมานจากความปวดในผู้ป่วยโรคมะเร็ง
การออกแบบการวิจัย: เป็นกำรวิจัยเชิงทดลองกลุ่มเดี่ยว แบบวัดก่อนและหลังการทดลอง
การดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่ำงเป็นผู้ป่วยโรคมะเร็งที่มีความปวดและไม่อยู่ในระยะลุกลามที่เข้ารับการรักษาที่ศูนย์มะเร็งสุราษฎร์ธานีจำนวน 30 ราย โดยกลุ่มตัวอย่างจะได้รับการสุ่มเพื่อทำการ
นวดฝ่าเท้า 3 แบบ (three-arm randomized, crossover design) คือ การนวดแบบติดต่อกัน 3 วัน
การนวดแบบวันเว้นวัน และการนวดหลอก โดยเว้นช่วงห่าง 3 วันเพื่อศึกษาเปรียบเทียบระดับ
ความรู้สึกปวดและระดับความรู้สึกทุกข์ทรมานจากความปวดของผู้ป่วยโรคมะเร็งก่อนและหลัง
การนวด 3 แบบ วัดตัวแปรที่ศึกษา 7 ครั้ง คือ ก่อนการนวด หลังนวดทันที หลังการนวด 24, 48, 72, 96 และ 120 ชั่วโมง เก็บข้อมูลโดยวิธีปกปิดทางเดียว (single–blind technique) ใช้สถิติบรรยาย ในการรวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปโดยวิธีแจกแจงความถี่และร้อยละ ใช้คะแนนจำกค่ามัธยฐาน ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ ร่วมกับค่าเฉลี่ยของลำดับในกำรวิเครำะห์ข้อมูลระดับความรู้สึกปวด และข้อมูลระดับความรู้สึกทุกข์ทรมานจากความปวด และใช้สถิติไฟรด์แมน (Friedman’s test) ในการเปรียบเทียบระดับคะแนนความรู้สึกปวด และระดับคะแนนความรู้สึกทุกข์ทรมานจากความปวดก่อน และหลังการนวด ณ เวลาต่าง ๆ
ผลการวิจัย พบว่า ภายหลังได้รับการนวดฝ่าเท้าทั้ง 3 แบบ ระดับคะแนนความรู้สึกปวด และระดับ
คะแนนความรู้สึกทุกข์ทรมานจากความปวดลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) และภายหลังการนวดทันที หลังกำรนวด 24, 48, 72, 96 และ 120 ชั่วโมง การนวดแบบติดต่อกัน 3 วัน มีคะแนนระดับความรู้สึกปวดต่ำกว่าการนวดหลอก และการนวดแบบวันเว้นวัน ตามลำดับอย่ำงมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05)
ข้อเสนอแนะ: ในทำงปฏิบัติควรนวดแบบวันเว้นวันไปเรื่อย ๆ และควรนวดกับผู้เชี่ยวชาญด้านการนวดเพื่อคงไว้ซึ่งประสิทธิผลของการนวด และป้องกันผลข้างเคียงจากการนวด | Link for e-copy: | http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26788 |
| |