[article] Title : | ผลของการใช้แนวคิดแบบลีนในการศึกษาระยะเวลาที่มารับบริการของหน่วยตรวจบริการล้างไต : ทางช่องท้องหอผู้ป่วยโรคไตสง่า นิลวรางกูร โรงพยาบาลศิริราช | Material Type: | printed text | Authors: | ปภัชญา หนูสลุง, Author ; ปิยธิดา ตรีเดช, Author ; วงเดือน ปั้นดี, Author ; สุชาย ศรีทิพยวรรณ, Author | Publication Date: | 2017 | Article on page: | p.104-119 | Languages : | Thai (tha) Original Language : Thai (tha) | in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.104-119Keywords: | แนวคิดแบบลีน.การล้างไตทางช่องท้อง.ความพึงพอใจของผู้ป่วย. | Abstract: | เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของการใช้แนวคิดแบบลีนในการศึกษาระยะเวลาการรับบริการ และเปรียบเทียบเรื่องเวลาและความพึงพอใจก่อนและหลังการนำแนวคิดแบบลีนมาใช้ ฯ
ผลการวิจัย พบว่า พบความสูญเปล่าในระบบจากการรอผลเลือด รอยานาน ความซ้ำซ้อนในระบบทำงาน ขั้นตอนมากเกินความจำเป็น การเดินกลับไปกลับมาเพื่อแก้ไขความผิดพลาด หลังนำแนวคิดแบบลีนมาใช้ ประกอบด้วยคุณค่า สายธารแห่งคุณค่า การไหล การตึง และความสมบูรณ์แบบ โดยการปรับปรุงกระบวนการให้ผู้ป่วยเจาะเลือดล่วงหน้าก่อนตรวจ ตรวจสอบข้อพิดพลาดเรื่องใบสั่งยาโดยอาจารย์แพทย์ หรือแพทย์ มีการปรับระบบการทำงานใหม่ ลดความซ้่ำซ้อน ลดขั้นตอนการทำงาน ผลการศึกษา พบว่า รระยะเวลาการมารับบริการเร้ซขึ้นจากเดิมใช้เวลาทั้งหมด 377.71 นาทีื ลดลงเหลือ 209.8 นาที โดยระยะเวลาที่ลดลง คือ การรอผลเลือด เดิม 92.54 เป็นเวลา 28.29 นาที รอยา เดิม 110.73 นาที เป็นเวลา 66.11 นาที อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ลดขั้นตอนจากเดิม 17 ขั้นตอน เหลือเพียง 14 ขั้นตอน ความพึงพอใจโดยรวมของผู้ป่วยจากเดิม 4.04 มาเป็น 4.74 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05
ข้อเสนอแนะ พบว่า ผู้ป่วยบางรายไม่สามารถมาเจาะเลือดล่วงหน้าได้ เพราะไม่มีญาติผู้ป่วยพามา ผู้วิจัยเสนอแนะโดยนำทฤษฎีแรงจูงใจมาเสริมแรงทางบวก เพื่อให้ผู้ป่วยและญาติผู้ป่วยเห็นความสำคัญของประโยชน์จากการเจาะเลือดล่วงหน้าการตรวจ | Link for e-copy: | http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26734 |
[article] ผลของการใช้แนวคิดแบบลีนในการศึกษาระยะเวลาที่มารับบริการของหน่วยตรวจบริการล้างไต : ทางช่องท้องหอผู้ป่วยโรคไตสง่า นิลวรางกูร โรงพยาบาลศิริราช [printed text] / ปภัชญา หนูสลุง, Author ; ปิยธิดา ตรีเดช, Author ; วงเดือน ปั้นดี, Author ; สุชาย ศรีทิพยวรรณ, Author . - 2017 . - p.104-119. Languages : Thai ( tha) Original Language : Thai ( tha) in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.104-119Keywords: | แนวคิดแบบลีน.การล้างไตทางช่องท้อง.ความพึงพอใจของผู้ป่วย. | Abstract: | เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของการใช้แนวคิดแบบลีนในการศึกษาระยะเวลาการรับบริการ และเปรียบเทียบเรื่องเวลาและความพึงพอใจก่อนและหลังการนำแนวคิดแบบลีนมาใช้ ฯ
ผลการวิจัย พบว่า พบความสูญเปล่าในระบบจากการรอผลเลือด รอยานาน ความซ้ำซ้อนในระบบทำงาน ขั้นตอนมากเกินความจำเป็น การเดินกลับไปกลับมาเพื่อแก้ไขความผิดพลาด หลังนำแนวคิดแบบลีนมาใช้ ประกอบด้วยคุณค่า สายธารแห่งคุณค่า การไหล การตึง และความสมบูรณ์แบบ โดยการปรับปรุงกระบวนการให้ผู้ป่วยเจาะเลือดล่วงหน้าก่อนตรวจ ตรวจสอบข้อพิดพลาดเรื่องใบสั่งยาโดยอาจารย์แพทย์ หรือแพทย์ มีการปรับระบบการทำงานใหม่ ลดความซ้่ำซ้อน ลดขั้นตอนการทำงาน ผลการศึกษา พบว่า รระยะเวลาการมารับบริการเร้ซขึ้นจากเดิมใช้เวลาทั้งหมด 377.71 นาทีื ลดลงเหลือ 209.8 นาที โดยระยะเวลาที่ลดลง คือ การรอผลเลือด เดิม 92.54 เป็นเวลา 28.29 นาที รอยา เดิม 110.73 นาที เป็นเวลา 66.11 นาที อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ลดขั้นตอนจากเดิม 17 ขั้นตอน เหลือเพียง 14 ขั้นตอน ความพึงพอใจโดยรวมของผู้ป่วยจากเดิม 4.04 มาเป็น 4.74 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05
ข้อเสนอแนะ พบว่า ผู้ป่วยบางรายไม่สามารถมาเจาะเลือดล่วงหน้าได้ เพราะไม่มีญาติผู้ป่วยพามา ผู้วิจัยเสนอแนะโดยนำทฤษฎีแรงจูงใจมาเสริมแรงทางบวก เพื่อให้ผู้ป่วยและญาติผู้ป่วยเห็นความสำคัญของประโยชน์จากการเจาะเลือดล่วงหน้าการตรวจ | Link for e-copy: | http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26734 |
| |