From this page you can:
Home |
Author details
Author ธิดารัตน์ ทองหนุน
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesผลของรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติ ต่อความเครียดในการดูแลเด็ก / ธิดารัตน์ ทองหนุน in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 ([05/17/2017])
[article]
Title : ผลของรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติ ต่อความเครียดในการดูแลเด็ก : โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวของผู้ดูแลในครอบครัว Material Type: printed text Authors: ธิดารัตน์ ทองหนุน, Author ; ว๊ณา จีระแพทย์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.86-103 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.86-103Keywords: การฝึกอานาปานสติ.การดูแลเด็ก.มะเร็งเม็ดเลือดขาว.ความเครียดในการดูแลเด็ก.ผู้ดูแลในครอบครัว. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลงองแบบ 2 กลุ่ม คือ วัดก่อน และหวังการทดลอง เพื่อศึกษารูปแบบการให่ข้มูลทางสุขภาพกับการฝึกอานาปานสติต่อความเครียดในการ...กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ดูแลในครอบครัวของเด็กอายุต่ำกว่า 6 ปี ที่แพทย์วินิจฉัยว่าเป็นโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลันที่เข้ารับการรักษาและได้รับเคมีบำบัดระยะเข้มขันในโรงพยาบาลตติยภูมิ จำนวน 50 คน โดยจับคู่ให้มีระดับการศึกษาและรายได้ที่ระดับใกล้เคียงกัน เป็นกลุ่มละ 25 คน วิจัยโดยกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ ตามด้วยกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติ เครื่องมือวิจัย คือ แผนกิจกรรมการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติ แบบบันทึกรายงานตนเองหลังการฝึกอานาปานสติ และแบบสอบถามความเครียด... ผลการวิจัยพบว่า 1) ความเครียดในการดูแลเด็กโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวของผู้ดูแลในครอบครัวได้รับโปรแกรมรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติน้อยกว่าก่อนได้รับโปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 2) ความเครียดในการดูแลเด็กโรค ฯ กลุ่มที่ได้รับโปรแกรมรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติน้อยกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ข้อเสนอแนะ จากการวิจัยในครั้งรี้ คือ พยาบาลผู้ให้การดูแลผู้ป่วยเด็กและผู้ดูแลในครอบครัว ควรมีบทบาทสำคัญในการประเมินปัญหาให้ความช่วยเหลือดูแลอย่างครอบคลุมเป็นองค์รวม โดยเฉพาะจิตใจและอารมณ์ ทั้งนี้ในการนำโปรแกรมไปประยุกต์ใช้ ผู้ใช้ควรมีพื้นฐานในการฝึกสมาธิแบบอานาปานสติ เพื่อให้เกิดทักษะและสามารถให้คำแนะนำแก่ผู้ดูแลในครอบครัวได้Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26732 [article] ผลของรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติ ต่อความเครียดในการดูแลเด็ก : โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวของผู้ดูแลในครอบครัว [printed text] / ธิดารัตน์ ทองหนุน, Author ; ว๊ณา จีระแพทย์, Author . - 2017 . - p.86-103.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.86-103Keywords: การฝึกอานาปานสติ.การดูแลเด็ก.มะเร็งเม็ดเลือดขาว.ความเครียดในการดูแลเด็ก.ผู้ดูแลในครอบครัว. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลงองแบบ 2 กลุ่ม คือ วัดก่อน และหวังการทดลอง เพื่อศึกษารูปแบบการให่ข้มูลทางสุขภาพกับการฝึกอานาปานสติต่อความเครียดในการ...กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ดูแลในครอบครัวของเด็กอายุต่ำกว่า 6 ปี ที่แพทย์วินิจฉัยว่าเป็นโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลันที่เข้ารับการรักษาและได้รับเคมีบำบัดระยะเข้มขันในโรงพยาบาลตติยภูมิ จำนวน 50 คน โดยจับคู่ให้มีระดับการศึกษาและรายได้ที่ระดับใกล้เคียงกัน เป็นกลุ่มละ 25 คน วิจัยโดยกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ ตามด้วยกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติ เครื่องมือวิจัย คือ แผนกิจกรรมการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติ แบบบันทึกรายงานตนเองหลังการฝึกอานาปานสติ และแบบสอบถามความเครียด... ผลการวิจัยพบว่า 1) ความเครียดในการดูแลเด็กโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวของผู้ดูแลในครอบครัวได้รับโปรแกรมรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติน้อยกว่าก่อนได้รับโปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 2) ความเครียดในการดูแลเด็กโรค ฯ กลุ่มที่ได้รับโปรแกรมรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติน้อยกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ข้อเสนอแนะ จากการวิจัยในครั้งรี้ คือ พยาบาลผู้ให้การดูแลผู้ป่วยเด็กและผู้ดูแลในครอบครัว ควรมีบทบาทสำคัญในการประเมินปัญหาให้ความช่วยเหลือดูแลอย่างครอบคลุมเป็นองค์รวม โดยเฉพาะจิตใจและอารมณ์ ทั้งนี้ในการนำโปรแกรมไปประยุกต์ใช้ ผู้ใช้ควรมีพื้นฐานในการฝึกสมาธิแบบอานาปานสติ เพื่อให้เกิดทักษะและสามารถให้คำแนะนำแก่ผู้ดูแลในครอบครัวได้Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26732