From this page you can:
Home |
Author details
Author ทิพยรัตน์ กชมน
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesSIU THE-T. อุปสรรคของสตรีในการได้รับการพัฒนาสู่อาชีพ ทนายความและที่ปรึกษากฎหมาย / กชมน ทิพยรัตน์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU THE-T Title : อุปสรรคของสตรีในการได้รับการพัฒนาสู่อาชีพ ทนายความและที่ปรึกษากฎหมาย Original title : The Barriers of Woman’s Development in Lawyers and Legal Consultants Material Type: printed text Authors: กชมน ทิพยรัตน์, Author ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: ix, 225 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2016-05
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2559Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การทำงาน -- ทัศนคติ
[LCSH]ทนายความ
[LCSH]ที่ปรึกษากฎหมายKeywords: อุปสรรคของสตรี
การพัฒนาสู่อาชีพทนายความ
ที่ปรึกษากฎหมายAbstract: การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคจากภายในและภายนอกของสตรีและ แนวทางการแก้ไขปัญหาในการประกอบอาชีพทนายความและที่ปรึกษากฎหมายของสตรี เป็นการวิจัย เชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่าง เป็นบุรุษและสตรีที่สำเร็จการศึกษาขั้นต่ำปริญญาตรีนิติศาสตรบัณฑิต จำนวน 33 คน แบ่งเป็น 4 กลุ่ม คือ 1) กลุ่มทนายความทำงานในสำนักงานกฎหมาย 15 คน 2) กลุ่มที่ปรึกษากฎหมายทำงานในสำนักงานกฎหมาย 5 คน 3) กลุ่มนักกฎหมายทำงานด้านกฎหมายในองค์กรธุรกิจที่ไม่ได้ให้บริการด้านกฎหมาย 8 คน และ 4) กลุ่มที่ได้ออกจากอาชีพด้านกฎหมายในภาคเอกชนแล้ว 5 คน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งโครงสร้าง แล้วคัดเลือกนิติศาสตรบัณฑิตสตรีรายใหม่จากกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มละ 1 คน แล้วจัดสนทนากลุ่มหรือสัมภาษณ์แบบกลุ่ม และวิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความเห็นว่า นิติศาสตรบัณฑิตสตรีส่วนมาก เลือกที่จะประกอบอาชีพด้านกฎหมายในส่วนราชการหรือองค์กรธุรกิจที่ไม่ได้ให้บริการด้านกฎหมายหรือเลือกทำงานด้านอื่นที่ไม่ได้ใช้ความรู้ด้านกฎหมาย สาเหตุที่ไม่เลือกทำงานเป็นทนายความหรือที่ปรึกษากฎหมายในสำนักงานกฎหมาย เพราะมีอุปสรรคสำคัญ 2 ประการ คือ 1) อุปสรรคภายในด้านบุคลิกภาพในส่วนพฤติกรรมและทัศนคติ และอุปสรรคด้านความสามารถ ได้แก่ พฤติกรรมการไม่ชอบลักษณะงานที่ต้องเดินทาง งานที่มีความเสี่ยง งานหนักกลับบ้านดึก งานที่ไม่มีเวลาดูแลครอบครัว ทัศนคติเกี่ยวกับความไม่มั่นคงในอาชีพ ค่าตอบแทนที่ไม่แน่นอน ความสามารถในการสร้างเครือข่ายงานได้น้อย และความไม่ถนัดในงานว่าความที่เป็นศาสตร์และศิลป์ และ 2) อุปสรรคภายนอกที่เกิดจากทัศนคติและการกระทำของผู้อื่น ได้แก่ ความไม่เชื่อถือในบุคลิกภาพ การสื่อสาร การพูดของทนายความหรือที่ปรึกษากฎหมายสตรี และเพศภาวะ โดยการเหมารวมทางเพศที่ยึดติดว่าเพศหญิงมีคุณค่าต่ำกว่าเพศชาย ทำให้เกิดอคติทางเพศ นำไปสู่การเลือกปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรมทางเพศและเพดานกระจกที่มองไม่เห็นปิดกั้นความก้าวหน้าของสตรี
ข้อค้นพบของการวิจัยนี้ ยังพบว่า แนวทางการพัฒนาเพื่อแก้ไขปัญหาอุปสรรคของสตรีที่มีต่ออาชีพทนายความและที่ปรึกษากฎหมาย มี 2 ระดับ กล่าวคือ 1) ระดับสำนักงานกฎหมาย โดยมีข้อเสนอว่าการปรับสภาพแวดล้อมการทำงานโดยเฉพาะอย่างยิ่งการปรับเวลาในการทำงานให้สอดคล้องกับความจำเป็นเฉพาะตัวของสตรี พร้อมกับนำจุดแข็งในเรื่องของการเตรียมคดีอย่างละเอียด การเจรจาที่ได้ผล มีความรับผิดชอบสูง ความถนัดในคดีการเงิน และคดีครอบครัวมาเสริมสร้างศักยภาพในการทำงานและ 2) ระดับประเทศ โดยมีข้อเสนอว่าควรพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน เพิ่มการฝึกปฏิบัติงานอาชีพทนายความหรือที่ปรึกษากฎหมาย บุคลิกภาพ ภาษาอังกฤษ และการปรับเปลี่ยนทัศนคติเกี่ยวกับปรัชญาของเพศภาวะในระดับมหาวิทยาลัย และจัดตั้งองค์กรพิเศษเพื่อพัฒนานักกฎหมายสตรี เพื่อรองรับการให้บริการด้านกฎหมายแก่ประชาคมอาเซียนได้อย่างยั่งยืน
Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26566 SIU THE-T. อุปสรรคของสตรีในการได้รับการพัฒนาสู่อาชีพ ทนายความและที่ปรึกษากฎหมาย = The Barriers of Woman’s Development in Lawyers and Legal Consultants [printed text] / กชมน ทิพยรัตน์, Author ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - ix, 225 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOM-DBA-2016-05
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2559
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การทำงาน -- ทัศนคติ
[LCSH]ทนายความ
[LCSH]ที่ปรึกษากฎหมายKeywords: อุปสรรคของสตรี
การพัฒนาสู่อาชีพทนายความ
ที่ปรึกษากฎหมายAbstract: การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคจากภายในและภายนอกของสตรีและ แนวทางการแก้ไขปัญหาในการประกอบอาชีพทนายความและที่ปรึกษากฎหมายของสตรี เป็นการวิจัย เชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่าง เป็นบุรุษและสตรีที่สำเร็จการศึกษาขั้นต่ำปริญญาตรีนิติศาสตรบัณฑิต จำนวน 33 คน แบ่งเป็น 4 กลุ่ม คือ 1) กลุ่มทนายความทำงานในสำนักงานกฎหมาย 15 คน 2) กลุ่มที่ปรึกษากฎหมายทำงานในสำนักงานกฎหมาย 5 คน 3) กลุ่มนักกฎหมายทำงานด้านกฎหมายในองค์กรธุรกิจที่ไม่ได้ให้บริการด้านกฎหมาย 8 คน และ 4) กลุ่มที่ได้ออกจากอาชีพด้านกฎหมายในภาคเอกชนแล้ว 5 คน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งโครงสร้าง แล้วคัดเลือกนิติศาสตรบัณฑิตสตรีรายใหม่จากกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มละ 1 คน แล้วจัดสนทนากลุ่มหรือสัมภาษณ์แบบกลุ่ม และวิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความเห็นว่า นิติศาสตรบัณฑิตสตรีส่วนมาก เลือกที่จะประกอบอาชีพด้านกฎหมายในส่วนราชการหรือองค์กรธุรกิจที่ไม่ได้ให้บริการด้านกฎหมายหรือเลือกทำงานด้านอื่นที่ไม่ได้ใช้ความรู้ด้านกฎหมาย สาเหตุที่ไม่เลือกทำงานเป็นทนายความหรือที่ปรึกษากฎหมายในสำนักงานกฎหมาย เพราะมีอุปสรรคสำคัญ 2 ประการ คือ 1) อุปสรรคภายในด้านบุคลิกภาพในส่วนพฤติกรรมและทัศนคติ และอุปสรรคด้านความสามารถ ได้แก่ พฤติกรรมการไม่ชอบลักษณะงานที่ต้องเดินทาง งานที่มีความเสี่ยง งานหนักกลับบ้านดึก งานที่ไม่มีเวลาดูแลครอบครัว ทัศนคติเกี่ยวกับความไม่มั่นคงในอาชีพ ค่าตอบแทนที่ไม่แน่นอน ความสามารถในการสร้างเครือข่ายงานได้น้อย และความไม่ถนัดในงานว่าความที่เป็นศาสตร์และศิลป์ และ 2) อุปสรรคภายนอกที่เกิดจากทัศนคติและการกระทำของผู้อื่น ได้แก่ ความไม่เชื่อถือในบุคลิกภาพ การสื่อสาร การพูดของทนายความหรือที่ปรึกษากฎหมายสตรี และเพศภาวะ โดยการเหมารวมทางเพศที่ยึดติดว่าเพศหญิงมีคุณค่าต่ำกว่าเพศชาย ทำให้เกิดอคติทางเพศ นำไปสู่การเลือกปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรมทางเพศและเพดานกระจกที่มองไม่เห็นปิดกั้นความก้าวหน้าของสตรี
ข้อค้นพบของการวิจัยนี้ ยังพบว่า แนวทางการพัฒนาเพื่อแก้ไขปัญหาอุปสรรคของสตรีที่มีต่ออาชีพทนายความและที่ปรึกษากฎหมาย มี 2 ระดับ กล่าวคือ 1) ระดับสำนักงานกฎหมาย โดยมีข้อเสนอว่าการปรับสภาพแวดล้อมการทำงานโดยเฉพาะอย่างยิ่งการปรับเวลาในการทำงานให้สอดคล้องกับความจำเป็นเฉพาะตัวของสตรี พร้อมกับนำจุดแข็งในเรื่องของการเตรียมคดีอย่างละเอียด การเจรจาที่ได้ผล มีความรับผิดชอบสูง ความถนัดในคดีการเงิน และคดีครอบครัวมาเสริมสร้างศักยภาพในการทำงานและ 2) ระดับประเทศ โดยมีข้อเสนอว่าควรพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน เพิ่มการฝึกปฏิบัติงานอาชีพทนายความหรือที่ปรึกษากฎหมาย บุคลิกภาพ ภาษาอังกฤษ และการปรับเปลี่ยนทัศนคติเกี่ยวกับปรัชญาของเพศภาวะในระดับมหาวิทยาลัย และจัดตั้งองค์กรพิเศษเพื่อพัฒนานักกฎหมายสตรี เพื่อรองรับการให้บริการด้านกฎหมายแก่ประชาคมอาเซียนได้อย่างยั่งยืน
Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26566 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592178 SIU THE-T: SOM-DBA-2016-05 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000592186 SIU THE-T: SOM-DBA-2016-05 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available