From this page you can:
Home |
Author details
Author ค้าทวี พงษ์รวี
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesSIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปราม ยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจชุดปราบปรามยาเสพติด สถานีตำรวจภูธรในพื้นที่จังหวัดราชบุรี / พงษ์รวี ค้าทวี / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปราม ยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจชุดปราบปรามยาเสพติด สถานีตำรวจภูธรในพื้นที่จังหวัดราชบุรี Original title : Factors Affecting to Performance in Eliminating Narcotics Consumption by the Police Narcotics Ad Hoc Provincial Police in Ratchaburi Province Material Type: printed text Authors: พงษ์รวี ค้าทวี, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: ix, 89 น. Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-19
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ยาเสพติด -- ราชบุรี -- การป้องกันและควบคุมKeywords: ปัจจัย
ผลกระทบ
การปฏิบัติงาน
การป้องกันและปราบปรามยาเสพติดAbstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด 2) วิเคราะห์ถึงสาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหาการดำเนินงาน 3) ศึกษาหาวิธีการแก้ไขสาเหตุของปัจจัยในการดำเนินงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจชุดปราบปรามยาเสพติด ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ข้าราชการตำรวจที่ปฏิบัติหน้าที่ชุดป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของสถานีตำรวจภูธรในจังหวัดราชบุรี เพศชาย จำนวน 167 นาย การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ดำเนินการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ได้แก่ ค่าความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่ม 2 กลุ่มด้วย t-test การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธี LSD
ผลการวิจัย พบว่า 1. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงานเรียงลำดับจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านการติดต่อสื่อสารและการประสานงาน ด้านการวางแผนจัดทรัพยากรที่ต้องการใช้ในการปฏิบัติงาน ด้านสมรรถนะของบุคลากร และด้านงบประมาณและวัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน ด้านการยอมรับในอำนาจหน้าที่ของผู้ปฏิบัติงาน และด้านเวลาและการจัดสรรทรัพยากร ตามลำดับ 2. สาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหาในการทำงานมากที่สุด พบว่า การติดต่อสื่อสารและการประสานงานและด้านการวางแผนจัดทรัพยากรที่ต้องการใช้ในการปฏิบัติงาน 3. ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา อายุงาน ชั้นยศ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน และการเข้ารับการอบรมที่แตกต่างกัน ส่งผลให้ระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงานแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ข้อเสนอแนะในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ 1. การติดต่อสื่อสารและการประสานงาน ผู้บังคับบัญชาควรอธิบายแผนงานที่สั่งการไปยังเจ้าหน้าที่ตำรวจ ถึงวัตถุประสงค์ วิธีการ ผลลัพธ์ที่ต้องการ ตลอดจนรับฟังความคิดเห็น และให้โอกาสเจ้าหน้าที่ตำรวจได้ซักถาม เพื่อให้เจ้าหน้าที่ตำรวจได้
ทำงานด้วยความเข้าใจ มีการติดต่อ ประสานงาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการป้องกันปราบปรามยาเสพติด ในรูปแบบการทำงานแบบบูรณาการร่วมกัน 2. การฝึกอบรม ผู้บังคับบัญชาควรจัดการอบรมให้กับเจ้าหน้าที่ตำรวจผู้ปฏิบัติงาน เพื่อให้ทราบวัตถุประสงค์กระบวนการการทำงาน เป็นแนวทางให้แก่ผู้ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. ด้านการใช้เทคโนโลยี ผู้บังคับบัญชาควรจัดการอบรมการใช้เทคโนโลยีในการปฏิบัติงานให้กับเจ้าหน้าที่ตำรวจผู้ปฏิบัติงาน เพื่อช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว สามารถดูข้อมูลย้อนหลังได้ และมีความเป็นระบบมากยิ่งขึ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26526 SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปราม ยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจชุดปราบปรามยาเสพติด สถานีตำรวจภูธรในพื้นที่จังหวัดราชบุรี = Factors Affecting to Performance in Eliminating Narcotics Consumption by the Police Narcotics Ad Hoc Provincial Police in Ratchaburi Province [printed text] / พงษ์รวี ค้าทวี, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - ix, 89 น. : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-19
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ยาเสพติด -- ราชบุรี -- การป้องกันและควบคุมKeywords: ปัจจัย
ผลกระทบ
การปฏิบัติงาน
การป้องกันและปราบปรามยาเสพติดAbstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด 2) วิเคราะห์ถึงสาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหาการดำเนินงาน 3) ศึกษาหาวิธีการแก้ไขสาเหตุของปัจจัยในการดำเนินงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจชุดปราบปรามยาเสพติด ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ข้าราชการตำรวจที่ปฏิบัติหน้าที่ชุดป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของสถานีตำรวจภูธรในจังหวัดราชบุรี เพศชาย จำนวน 167 นาย การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ดำเนินการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ได้แก่ ค่าความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่ม 2 กลุ่มด้วย t-test การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธี LSD
ผลการวิจัย พบว่า 1. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงานเรียงลำดับจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านการติดต่อสื่อสารและการประสานงาน ด้านการวางแผนจัดทรัพยากรที่ต้องการใช้ในการปฏิบัติงาน ด้านสมรรถนะของบุคลากร และด้านงบประมาณและวัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน ด้านการยอมรับในอำนาจหน้าที่ของผู้ปฏิบัติงาน และด้านเวลาและการจัดสรรทรัพยากร ตามลำดับ 2. สาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหาในการทำงานมากที่สุด พบว่า การติดต่อสื่อสารและการประสานงานและด้านการวางแผนจัดทรัพยากรที่ต้องการใช้ในการปฏิบัติงาน 3. ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา อายุงาน ชั้นยศ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน และการเข้ารับการอบรมที่แตกต่างกัน ส่งผลให้ระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงานแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ข้อเสนอแนะในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ 1. การติดต่อสื่อสารและการประสานงาน ผู้บังคับบัญชาควรอธิบายแผนงานที่สั่งการไปยังเจ้าหน้าที่ตำรวจ ถึงวัตถุประสงค์ วิธีการ ผลลัพธ์ที่ต้องการ ตลอดจนรับฟังความคิดเห็น และให้โอกาสเจ้าหน้าที่ตำรวจได้ซักถาม เพื่อให้เจ้าหน้าที่ตำรวจได้
ทำงานด้วยความเข้าใจ มีการติดต่อ ประสานงาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการป้องกันปราบปรามยาเสพติด ในรูปแบบการทำงานแบบบูรณาการร่วมกัน 2. การฝึกอบรม ผู้บังคับบัญชาควรจัดการอบรมให้กับเจ้าหน้าที่ตำรวจผู้ปฏิบัติงาน เพื่อให้ทราบวัตถุประสงค์กระบวนการการทำงาน เป็นแนวทางให้แก่ผู้ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. ด้านการใช้เทคโนโลยี ผู้บังคับบัญชาควรจัดการอบรมการใช้เทคโนโลยีในการปฏิบัติงานให้กับเจ้าหน้าที่ตำรวจผู้ปฏิบัติงาน เพื่อช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว สามารถดูข้อมูลย้อนหลังได้ และมีความเป็นระบบมากยิ่งขึ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26526 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591691 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-19 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000591709 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-19 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available