From this page you can:
Home |
Author details
Author พลเทียร อาภากร
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesSIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน / วีณา สำราญรื่น / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน Original title : Factors Affecting the Job Performance Satisfaction of General Support Division, Border Patrol Police Bureau Material Type: printed text Authors: วีณา สำราญรื่น, Author ; อาภากร พลเทียร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: xii, 135 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOM-MBA-2016-03
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน -- ข้าราชการ -- ความพอใจในการทำงาน
[LCSH]ความพอใจ
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานKeywords: ความพึงพอใจ Abstract: การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน จำแนกตามปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ข้าราชการตำรวจกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน จำนวน 156 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งเป็นชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน แบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ แบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล แบบสอบถาม วัดระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน แบบสอบถามความสัมพันธ์ของความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ และความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ค่าสถิติ t-test ชนิดวิเคราะห์ทางเดียว (One – Way Anova) และการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อย่างง่ายแบบ Pearson Product Moment Coefficient
ผลวิจัยพบว่า
1) ข้าราชการตำรวจกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน มีระดับความ พึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก มาจากปัจจัยด้านเกี่ยวกับงานและปัจจัยด้านที่ไม่เกี่ยวข้องกับงานหรือสิ่งแวดล้อม เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านความมั่นคงในงาน อยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ รายด้านที่อยู่ในระดับมาก ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ด้านการได้รับความยอมรับนับถือ ด้านชีวิตส่วนตัว ด้านความสำเร็จของงาน ด้านสภาพการทำงาน ด้านการบังคับบัญชา ด้านนโยบายการบริหาร ด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งงาน ด้านลักษณะงานความรับผิดชอบ ด้านเงินเดือน,รายได้ เรียงตามลำดับ
2) ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านเกี่ยวกับงาน ปัจจัยด้านที่ไม่เกี่ยวข้องกับงาน มีความสัมพันธ์เชิงบวกความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ราชการของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน ต่อด้านบุคคล ด้านงาน และด้านการบริหารจัดการCurricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26487 SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน = Factors Affecting the Job Performance Satisfaction of General Support Division, Border Patrol Police Bureau [printed text] / วีณา สำราญรื่น, Author ; อาภากร พลเทียร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - xii, 135 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOM-MBA-2016-03
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน -- ข้าราชการ -- ความพอใจในการทำงาน
[LCSH]ความพอใจ
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานKeywords: ความพึงพอใจ Abstract: การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน จำแนกตามปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ข้าราชการตำรวจกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน จำนวน 156 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งเป็นชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน แบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ แบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล แบบสอบถาม วัดระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน แบบสอบถามความสัมพันธ์ของความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ และความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ค่าสถิติ t-test ชนิดวิเคราะห์ทางเดียว (One – Way Anova) และการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อย่างง่ายแบบ Pearson Product Moment Coefficient
ผลวิจัยพบว่า
1) ข้าราชการตำรวจกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน มีระดับความ พึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก มาจากปัจจัยด้านเกี่ยวกับงานและปัจจัยด้านที่ไม่เกี่ยวข้องกับงานหรือสิ่งแวดล้อม เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านความมั่นคงในงาน อยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ รายด้านที่อยู่ในระดับมาก ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ด้านการได้รับความยอมรับนับถือ ด้านชีวิตส่วนตัว ด้านความสำเร็จของงาน ด้านสภาพการทำงาน ด้านการบังคับบัญชา ด้านนโยบายการบริหาร ด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งงาน ด้านลักษณะงานความรับผิดชอบ ด้านเงินเดือน,รายได้ เรียงตามลำดับ
2) ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านเกี่ยวกับงาน ปัจจัยด้านที่ไม่เกี่ยวข้องกับงาน มีความสัมพันธ์เชิงบวกความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ราชการของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน ต่อด้านบุคคล ด้านงาน และด้านการบริหารจัดการCurricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26487 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591568 SIU IS-T: SOM-MBA-2016-03 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. รูปแบบความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจ: กรณีศึกษาสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ / นันทวรรณ จันทาเทพ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : รูปแบบความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจ: กรณีศึกษาสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ Original title : Organizational Commitment of Thai Police Officers: Case Studies of the office of the Police Commission Royal Thai Police Material Type: printed text Authors: นันทวรรณ จันทาเทพ, Author ; อาภากร พลเทียร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: viii, 114 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOM-MBA-2016-02
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ข้าราชการ -- การทำงาน
[LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ -- การศึกษาเฉพาะกรณี
[LCSH]ตำรวจ -- ไทยKeywords: ความผูกพัน
องค์กรAbstract: การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อการศึกษารูปแบบความผูกพันต่อองค์กรของข้าราชการตำรวจ กรณีศึกษา สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือข้าราชการตำรวจสำนักงานตำรวจแห่งชาติ จำนวน 143 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม (มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์คือสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ที่นำมาใช้ในการวิเคราะห์คุณลักษณะของประชากร ใช้สถิติวิเคราะห์ t-test เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปร 2 ตัวแปร และใช้สถิติวิเคราะห์ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson’s Correlation Coefficient) เพื่อทดสอบความสัมพันธ์เชิงเส้นระหว่างตัวแปรเชิงปริมาณ 2 ตัวแปร
ผลการศึกษาพบว่า
1) คุณลักษณะของประชากรพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 31 – 40 ปี สถานภาพโสด การศึกษาระดับปริญญาตรี ตำแหน่งส่วนใหญ่เป็น รองสารวัตร – สารวัตร อัตราเงินเดือน อยู่ระหว่าง 15,001 – 25,000 บาท ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน 6 - 15 ปี และสายงานด้านงานอำนวยการ
2) ความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพโดยรวมของปัจจัยแรงจูงใจในการทำงานของข้าราชการตำรวจ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ อยู่ในระดับมาก และมีค่าเฉลี่ยของของปัจจัยแรงจูงใจด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งงานอยู่ในระดับสูงสุด รองลงมาคือด้านลักษณะงานที่ปฏิบัติและด้านการได้รับการยอมรับตามลำดับ และปัจจัยความผูกพันต่อองค์กรของข้าราชการตำรวจ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ อยู่ในระดับมาก และมีค่าเฉลี่ยของของปัจจัยความผูกพันต่อองค์กรด้านจิตใจอยู่ในระดับสูงสุด รองลงมาคือด้านการคงอยู่กับองค์กรและด้านบรรทัดฐานตามลำดับ
3) การทดสอบความสัมพันธ์ของปัจจัยคุณลักษณะประชากรต่อปัจจัยความผูกพันต่อองค์กรของข้าราชการตำรวจ พบว่าปัจจัยคุณลักษณะประชากร ด้านเพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา ตำแหน่ง อัตราเงินเดือน และสายงาน ที่แตกต่างกันแต่มีความผูกพันต่อองค์กรที่ไม่แตกต่างกัน และปัจจัยแรงจูงใจในการทำงานของข้าราชการตำรวจมีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อปัจจัยความผูกพันต่อองค์กรของข้าราชการตำรวจ ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.01 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์เท่ากับ 0.762Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26486 SIU IS-T. รูปแบบความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจ: กรณีศึกษาสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ = Organizational Commitment of Thai Police Officers: Case Studies of the office of the Police Commission Royal Thai Police [printed text] / นันทวรรณ จันทาเทพ, Author ; อาภากร พลเทียร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - viii, 114 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOM-MBA-2016-02
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ข้าราชการ -- การทำงาน
[LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ -- การศึกษาเฉพาะกรณี
[LCSH]ตำรวจ -- ไทยKeywords: ความผูกพัน
องค์กรAbstract: การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อการศึกษารูปแบบความผูกพันต่อองค์กรของข้าราชการตำรวจ กรณีศึกษา สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือข้าราชการตำรวจสำนักงานตำรวจแห่งชาติ จำนวน 143 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม (มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์คือสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ที่นำมาใช้ในการวิเคราะห์คุณลักษณะของประชากร ใช้สถิติวิเคราะห์ t-test เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปร 2 ตัวแปร และใช้สถิติวิเคราะห์ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson’s Correlation Coefficient) เพื่อทดสอบความสัมพันธ์เชิงเส้นระหว่างตัวแปรเชิงปริมาณ 2 ตัวแปร
ผลการศึกษาพบว่า
1) คุณลักษณะของประชากรพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 31 – 40 ปี สถานภาพโสด การศึกษาระดับปริญญาตรี ตำแหน่งส่วนใหญ่เป็น รองสารวัตร – สารวัตร อัตราเงินเดือน อยู่ระหว่าง 15,001 – 25,000 บาท ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน 6 - 15 ปี และสายงานด้านงานอำนวยการ
2) ความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพโดยรวมของปัจจัยแรงจูงใจในการทำงานของข้าราชการตำรวจ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ อยู่ในระดับมาก และมีค่าเฉลี่ยของของปัจจัยแรงจูงใจด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งงานอยู่ในระดับสูงสุด รองลงมาคือด้านลักษณะงานที่ปฏิบัติและด้านการได้รับการยอมรับตามลำดับ และปัจจัยความผูกพันต่อองค์กรของข้าราชการตำรวจ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ อยู่ในระดับมาก และมีค่าเฉลี่ยของของปัจจัยความผูกพันต่อองค์กรด้านจิตใจอยู่ในระดับสูงสุด รองลงมาคือด้านการคงอยู่กับองค์กรและด้านบรรทัดฐานตามลำดับ
3) การทดสอบความสัมพันธ์ของปัจจัยคุณลักษณะประชากรต่อปัจจัยความผูกพันต่อองค์กรของข้าราชการตำรวจ พบว่าปัจจัยคุณลักษณะประชากร ด้านเพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา ตำแหน่ง อัตราเงินเดือน และสายงาน ที่แตกต่างกันแต่มีความผูกพันต่อองค์กรที่ไม่แตกต่างกัน และปัจจัยแรงจูงใจในการทำงานของข้าราชการตำรวจมีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อปัจจัยความผูกพันต่อองค์กรของข้าราชการตำรวจ ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.01 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์เท่ากับ 0.762Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26486 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591535 SIU IS-T: SOM-MBA-2016-02 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อกระบวนการซื้อสินค้าออนไลน์ ของผู้บริโภคสำนักงานตึกช้าง / สินี อินชูพงษ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อกระบวนการซื้อสินค้าออนไลน์ ของผู้บริโภคสำนักงานตึกช้าง Original title : Researching for Factors that Effect to Buying Online Products of Consumers from Elephants Tower Building Material Type: printed text Authors: สินี อินชูพงษ์, Author ; อาภากร พลเทียร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: ix, 82 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOM-MBA-2016-07
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การเลือกซื้อสินค้า
[LCSH]ผู้บริโภค -- พฤติกรรม
[LCSH]สินค้าออนไลน์Keywords: ซื้อสินค้าออนไลน์ Abstract: การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาปัจจัยเกี่ยวกับพฤติกรรมการเลือกสินค้าผ่านสื่อสังคมออนไลน์ของผู้บริโภคสำนักงานตึกช้าง 2. เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (4ps) ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการเลือกซื้อสินค้าผ่านสื่อสังคมออนไลน์ของผู้บริโภคสำนักงานตึกช้าง จำแนกตามปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้บริโภคสำนักงานตึกช้าง(พนักงานบริษัท) จำนวน 150 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งเป็นชั้นภูมิเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลต่อกระบวนการตัดสินใจซื้อสินค้าออนไลน์ของผู้บริโภคสำนักงานตึกช้าง แบ่งออกเป็น 4 ส่วนคือแบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล แบบสอบถามด้านปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด แบบสอบถามด้านปัจจัยภาพลักษณ์และตราสินค้า และข้อเสนอแนะสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ค่าร้อยละ(Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ค่าสถิติ (t-test) ชนิดวิเคราะห์ทางเดียว (One-Way Anova) และการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อย่างง่ายแบบ Pearson Product Moment Coefficient
ผลวิจัยพบว่า
ปัจจัยด้านส่วนประสมทางการตลาดมีระดับการตัดสินใจซื้อสินค้าออนไลน์ของผู้บริโภคสำนักงานตึกช้างด้านช่องทางการจัดจำหน่ายอยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมาคือส่งเสริมการตลาดอยู่ในระดับมาก ด้านผลิตภัณฑ์และด้านราคาเรียงมาตามลำดับ ปัจจัยด้านภาพลักษณ์ตราสินค้ามีระดับการตัดสินใจซื้อสินค้าออนไลน์ของผู้บริโภคสำนักงานตึกช้างอยู่ในระดับมาก
ปัจจัยด้านการตัดสินใจซื้อสินค้าออนไลน์ของผู้บริโภคสำนักงานตึกช้างในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ระดับมากที่สุดคือด้านการประเมินทางเลือกกับด้านการตัดสินใจซื้อ รองลงมาคือด้านการค้นหาข้อมูลCurricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26492 SIU IS-T. ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อกระบวนการซื้อสินค้าออนไลน์ ของผู้บริโภคสำนักงานตึกช้าง = Researching for Factors that Effect to Buying Online Products of Consumers from Elephants Tower Building [printed text] / สินี อินชูพงษ์, Author ; อาภากร พลเทียร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - ix, 82 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOM-MBA-2016-07
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การเลือกซื้อสินค้า
[LCSH]ผู้บริโภค -- พฤติกรรม
[LCSH]สินค้าออนไลน์Keywords: ซื้อสินค้าออนไลน์ Abstract: การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาปัจจัยเกี่ยวกับพฤติกรรมการเลือกสินค้าผ่านสื่อสังคมออนไลน์ของผู้บริโภคสำนักงานตึกช้าง 2. เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (4ps) ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการเลือกซื้อสินค้าผ่านสื่อสังคมออนไลน์ของผู้บริโภคสำนักงานตึกช้าง จำแนกตามปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้บริโภคสำนักงานตึกช้าง(พนักงานบริษัท) จำนวน 150 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งเป็นชั้นภูมิเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลต่อกระบวนการตัดสินใจซื้อสินค้าออนไลน์ของผู้บริโภคสำนักงานตึกช้าง แบ่งออกเป็น 4 ส่วนคือแบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล แบบสอบถามด้านปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด แบบสอบถามด้านปัจจัยภาพลักษณ์และตราสินค้า และข้อเสนอแนะสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ค่าร้อยละ(Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ค่าสถิติ (t-test) ชนิดวิเคราะห์ทางเดียว (One-Way Anova) และการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อย่างง่ายแบบ Pearson Product Moment Coefficient
ผลวิจัยพบว่า
ปัจจัยด้านส่วนประสมทางการตลาดมีระดับการตัดสินใจซื้อสินค้าออนไลน์ของผู้บริโภคสำนักงานตึกช้างด้านช่องทางการจัดจำหน่ายอยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมาคือส่งเสริมการตลาดอยู่ในระดับมาก ด้านผลิตภัณฑ์และด้านราคาเรียงมาตามลำดับ ปัจจัยด้านภาพลักษณ์ตราสินค้ามีระดับการตัดสินใจซื้อสินค้าออนไลน์ของผู้บริโภคสำนักงานตึกช้างอยู่ในระดับมาก
ปัจจัยด้านการตัดสินใจซื้อสินค้าออนไลน์ของผู้บริโภคสำนักงานตึกช้างในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ระดับมากที่สุดคือด้านการประเมินทางเลือกกับด้านการตัดสินใจซื้อ รองลงมาคือด้านการค้นหาข้อมูลCurricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26492 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591600 SIU IS-T: SOM-MBA-2016-07 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available