Collection Title: | SIU IS-T | Title : | รูปแบบความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจ: กรณีศึกษาสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ | Original title : | Organizational Commitment of Thai Police Officers: Case Studies of the office of the Police Commission Royal Thai Police | Material Type: | printed text | Authors: | นันทวรรณ จันทาเทพ, Author ; อาภากร พลเทียร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name | Publisher: | กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร | Publication Date: | 2016 | Pagination: | viii, 114 น. | Layout: | ภาพประกอบ, ตาราง | Size: | 30 ซม. | Price: | 500.00 | General note: | SIU IS-T: SOM-MBA-2016-02
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016. | Languages : | Thai (tha) | Descriptors: | [LCSH]ข้าราชการ -- การทำงาน [LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ -- การศึกษาเฉพาะกรณี [LCSH]ตำรวจ -- ไทย
| Keywords: | ความผูกพัน
องค์กร | Abstract: | การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อการศึกษารูปแบบความผูกพันต่อองค์กรของข้าราชการตำรวจ กรณีศึกษา สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือข้าราชการตำรวจสำนักงานตำรวจแห่งชาติ จำนวน 143 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม (มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์คือสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ที่นำมาใช้ในการวิเคราะห์คุณลักษณะของประชากร ใช้สถิติวิเคราะห์ t-test เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปร 2 ตัวแปร และใช้สถิติวิเคราะห์ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson’s Correlation Coefficient) เพื่อทดสอบความสัมพันธ์เชิงเส้นระหว่างตัวแปรเชิงปริมาณ 2 ตัวแปร
ผลการศึกษาพบว่า
1) คุณลักษณะของประชากรพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 31 – 40 ปี สถานภาพโสด การศึกษาระดับปริญญาตรี ตำแหน่งส่วนใหญ่เป็น รองสารวัตร – สารวัตร อัตราเงินเดือน อยู่ระหว่าง 15,001 – 25,000 บาท ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน 6 - 15 ปี และสายงานด้านงานอำนวยการ
2) ความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพโดยรวมของปัจจัยแรงจูงใจในการทำงานของข้าราชการตำรวจ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ อยู่ในระดับมาก และมีค่าเฉลี่ยของของปัจจัยแรงจูงใจด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งงานอยู่ในระดับสูงสุด รองลงมาคือด้านลักษณะงานที่ปฏิบัติและด้านการได้รับการยอมรับตามลำดับ และปัจจัยความผูกพันต่อองค์กรของข้าราชการตำรวจ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ อยู่ในระดับมาก และมีค่าเฉลี่ยของของปัจจัยความผูกพันต่อองค์กรด้านจิตใจอยู่ในระดับสูงสุด รองลงมาคือด้านการคงอยู่กับองค์กรและด้านบรรทัดฐานตามลำดับ
3) การทดสอบความสัมพันธ์ของปัจจัยคุณลักษณะประชากรต่อปัจจัยความผูกพันต่อองค์กรของข้าราชการตำรวจ พบว่าปัจจัยคุณลักษณะประชากร ด้านเพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา ตำแหน่ง อัตราเงินเดือน และสายงาน ที่แตกต่างกันแต่มีความผูกพันต่อองค์กรที่ไม่แตกต่างกัน และปัจจัยแรงจูงใจในการทำงานของข้าราชการตำรวจมีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อปัจจัยความผูกพันต่อองค์กรของข้าราชการตำรวจ ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.01 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์เท่ากับ 0.762 | Curricular : | BBA/GE/MBA | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26486 |
SIU IS-T. รูปแบบความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจ: กรณีศึกษาสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ = Organizational Commitment of Thai Police Officers: Case Studies of the office of the Police Commission Royal Thai Police [printed text] / นันทวรรณ จันทาเทพ, Author ; อาภากร พลเทียร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - viii, 114 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม. 500.00 SIU IS-T: SOM-MBA-2016-02
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016. Languages : Thai ( tha) Descriptors: | [LCSH]ข้าราชการ -- การทำงาน [LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ -- การศึกษาเฉพาะกรณี [LCSH]ตำรวจ -- ไทย
| Keywords: | ความผูกพัน
องค์กร | Abstract: | การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อการศึกษารูปแบบความผูกพันต่อองค์กรของข้าราชการตำรวจ กรณีศึกษา สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือข้าราชการตำรวจสำนักงานตำรวจแห่งชาติ จำนวน 143 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม (มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์คือสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ที่นำมาใช้ในการวิเคราะห์คุณลักษณะของประชากร ใช้สถิติวิเคราะห์ t-test เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปร 2 ตัวแปร และใช้สถิติวิเคราะห์ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson’s Correlation Coefficient) เพื่อทดสอบความสัมพันธ์เชิงเส้นระหว่างตัวแปรเชิงปริมาณ 2 ตัวแปร
ผลการศึกษาพบว่า
1) คุณลักษณะของประชากรพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 31 – 40 ปี สถานภาพโสด การศึกษาระดับปริญญาตรี ตำแหน่งส่วนใหญ่เป็น รองสารวัตร – สารวัตร อัตราเงินเดือน อยู่ระหว่าง 15,001 – 25,000 บาท ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน 6 - 15 ปี และสายงานด้านงานอำนวยการ
2) ความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพโดยรวมของปัจจัยแรงจูงใจในการทำงานของข้าราชการตำรวจ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ อยู่ในระดับมาก และมีค่าเฉลี่ยของของปัจจัยแรงจูงใจด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งงานอยู่ในระดับสูงสุด รองลงมาคือด้านลักษณะงานที่ปฏิบัติและด้านการได้รับการยอมรับตามลำดับ และปัจจัยความผูกพันต่อองค์กรของข้าราชการตำรวจ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ อยู่ในระดับมาก และมีค่าเฉลี่ยของของปัจจัยความผูกพันต่อองค์กรด้านจิตใจอยู่ในระดับสูงสุด รองลงมาคือด้านการคงอยู่กับองค์กรและด้านบรรทัดฐานตามลำดับ
3) การทดสอบความสัมพันธ์ของปัจจัยคุณลักษณะประชากรต่อปัจจัยความผูกพันต่อองค์กรของข้าราชการตำรวจ พบว่าปัจจัยคุณลักษณะประชากร ด้านเพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา ตำแหน่ง อัตราเงินเดือน และสายงาน ที่แตกต่างกันแต่มีความผูกพันต่อองค์กรที่ไม่แตกต่างกัน และปัจจัยแรงจูงใจในการทำงานของข้าราชการตำรวจมีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อปัจจัยความผูกพันต่อองค์กรของข้าราชการตำรวจ ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.01 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์เท่ากับ 0.762 | Curricular : | BBA/GE/MBA | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26486 |
|