From this page you can:
Home |
Author details
Author ขุมมงคล ดำรง
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesSIU RS-T. การทดสอบวงจรเพียโซอิเล็กทริก / รัชชานนท์ อรรถศิริปัญญา / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU RS-T Title : การทดสอบวงจรเพียโซอิเล็กทริก Original title : The Test of Piezoelectric Circuits Operation Material Type: printed text Authors: รัชชานนท์ อรรถศิริปัญญา, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 25 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-04
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]เพียโซอิเล็กทริก Keywords: ทฤษฎีเพียโซอิเล็กทริกโดยตรง,
ทฤษฎีเพียโซอิเล็กทริกโดยทางอ้อม,
พลังงานจากแรงสั่นสะเทือนAbstract: เนื่องจากในปัจจุบัน ประชากรโลกมีจำนวนมากขึ้นทุกวัน มนุษย์มีการใช้พลังงานทั้ง ไฟฟ้า น้ำมัน ก๊าซ และอื่น ๆ กันเป็นจำนวนมากอยู่ทุกวัน พลังงานเหล่านี้มีการเผาไหม้และทำให้เกิดมลพิษ อีกทั้ง มนุษย์ยังจะมีจำนวนเพิ่ม ซึ่งการที่มนุษย์เพิ่มจำนวนขึ้น การใช้พลังงานก็จะต้องเพิ่มขึ้น ตามหลักการโดยทั่วไป จนกระทั่งนักวิทยาศาตร์ได้มีการคาดคะเนถึงวันที่พลังงานข้างต้นเหล่านั้นจะหมดลง เป็นสาเหตุที่ทำให้มนุษย์มีการตื่นตัวในเรื่องการหาพลังงานทดแทนต่าง ๆ มากมาย อาทิเช่น พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานความร้อนใต้พื้นโลก และพลังงานจากแรงสั่นสะเทือนหรือทฤษฎีเพียโซ
อิเล็กทริก ซึ่งนับว่าพลังงานเหล่านี้เป็นพลังสะอาดที่ช่วยให้โลกปลอดมลภาวะได้เป็นอย่างดี ในทฤษฎีของเพียโซอิเล็กทริกจะมีทั้งทางตรงและทางอ้อม ในงานวิจัยครั้งนี้จะหยิบเอาหลักการเพียโซอิเล็กทริกทางตรงมาศึกษาเพื่อแปลงพลังงานกลให้เป็นพลังงานไฟฟ้าโดยการที่มนุษย์เราขยับเขยื้อ ร่างกายจะสามารถสร้างพลังงานไฟฟ้าได้จริง ในการศึกษาครั้งนี้ผมจะหาข้อมูลวัสดุเพียโซอิเล็กทริกเพื่อหาวัสดุที่สร้างกระแสไฟฟ้าได้ดีที่สุด เพื่อที่วันข้างหน้าจะได้เอาไปประยุกต์กับสินค้าของผู้ประกอบการไทยCurricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27180 SIU RS-T. การทดสอบวงจรเพียโซอิเล็กทริก = The Test of Piezoelectric Circuits Operation [printed text] / รัชชานนท์ อรรถศิริปัญญา, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 25 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-04
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]เพียโซอิเล็กทริก Keywords: ทฤษฎีเพียโซอิเล็กทริกโดยตรง,
ทฤษฎีเพียโซอิเล็กทริกโดยทางอ้อม,
พลังงานจากแรงสั่นสะเทือนAbstract: เนื่องจากในปัจจุบัน ประชากรโลกมีจำนวนมากขึ้นทุกวัน มนุษย์มีการใช้พลังงานทั้ง ไฟฟ้า น้ำมัน ก๊าซ และอื่น ๆ กันเป็นจำนวนมากอยู่ทุกวัน พลังงานเหล่านี้มีการเผาไหม้และทำให้เกิดมลพิษ อีกทั้ง มนุษย์ยังจะมีจำนวนเพิ่ม ซึ่งการที่มนุษย์เพิ่มจำนวนขึ้น การใช้พลังงานก็จะต้องเพิ่มขึ้น ตามหลักการโดยทั่วไป จนกระทั่งนักวิทยาศาตร์ได้มีการคาดคะเนถึงวันที่พลังงานข้างต้นเหล่านั้นจะหมดลง เป็นสาเหตุที่ทำให้มนุษย์มีการตื่นตัวในเรื่องการหาพลังงานทดแทนต่าง ๆ มากมาย อาทิเช่น พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานความร้อนใต้พื้นโลก และพลังงานจากแรงสั่นสะเทือนหรือทฤษฎีเพียโซ
อิเล็กทริก ซึ่งนับว่าพลังงานเหล่านี้เป็นพลังสะอาดที่ช่วยให้โลกปลอดมลภาวะได้เป็นอย่างดี ในทฤษฎีของเพียโซอิเล็กทริกจะมีทั้งทางตรงและทางอ้อม ในงานวิจัยครั้งนี้จะหยิบเอาหลักการเพียโซอิเล็กทริกทางตรงมาศึกษาเพื่อแปลงพลังงานกลให้เป็นพลังงานไฟฟ้าโดยการที่มนุษย์เราขยับเขยื้อ ร่างกายจะสามารถสร้างพลังงานไฟฟ้าได้จริง ในการศึกษาครั้งนี้ผมจะหาข้อมูลวัสดุเพียโซอิเล็กทริกเพื่อหาวัสดุที่สร้างกระแสไฟฟ้าได้ดีที่สุด เพื่อที่วันข้างหน้าจะได้เอาไปประยุกต์กับสินค้าของผู้ประกอบการไทยCurricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27180 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594703 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-04 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000594711 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-04 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU RS-T. การปรับปรุงประสิทธิภาพพลังงาน บริษัทโตชิบา คอนซูมเมอร์โปรดัคส์ (ประเทศไทย) จำกัด / มนูญ คเณราช / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU RS-T Title : การปรับปรุงประสิทธิภาพพลังงาน บริษัทโตชิบา คอนซูมเมอร์โปรดัคส์ (ประเทศไทย) จำกัด Original title : Energy Efficiency Improvement for Toshiba Consumer Products (Thailand) Co., Ltd. Material Type: printed text Authors: มนูญ คเณราช, Author ; อภิชาต ประดิษฐสมานนท์, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: x, 105 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-03
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การอนุรักษ์พลังงาน
[LCSH]พลังงานไฟฟ้าKeywords: ประสิทธิภาพ,
พลังงานไฟฟ้า,
พลังงานความร้อน,
การอนุรักษ์พลังงาน,
ดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพพลังงานเฉพาะAbstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางในการประหยัดพลังงานไฟฟ้าภายในบริษัทโตชิบาคอนซูมเมอรโปรดัคส์ (ประเทศไทย) จำกัด เพื่อหาประสิทธิภาพการใช้พลังงานโดยเก็บข้อมูลการใช้พลังงานต่างๆ ภายในโรงงาน สำรวจพฤติกรรมการทำงานของกระบวนการต่างๆ รวมถึงการหามาตรการการประหยัดพลังงาน
ผลการวิจัยพบว่า ในปี 2558 ดัชนีการใช้พลังงานไฟฟ้าต่อการผลิตตู้เย็นมีค่า 42.45 kWh/ตู้ และดัชนีการใช้พลังงานไฟฟ้าต่อการผลิตเครื่องซักผ้ามีค่า 25.05 kWh/เครื่อง ซึ่งหากจะเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานภายในโรงงานจะต้องทำการลดการใช้พลังงานไฟฟ้าลง จึงได้เสนอ 9 มาตรการประหยัดพลังงานคือ (1) มาตรการลดการทำงานของเครื่องจักรในช่วงพักกลางวัน (2) มาตรการลดระยะเวลาการอุ่นเครื่องฉีดพลาสติกช่วงเช้าวันจันทร์ (3) มาตรการลดการทำงานของเครื่องปั๊มขึ้นรูป (Press M/C) ที่โรงงานตู้เย็น (4) มาตรการรวมโหลดหม้อแปลงไฟฟ้าของอาคารเครื่องซักผ้า (5) มาตรการลดการใช้พลังงานไฟฟ้าในเครื่องทำน้ำเย็น (Chiller) ที่โรงฉีดพลาสติก (6) มาตรการปรับปรุงการระบายความร้อนของเครื่องปรับอากาศที่สำนักงานส่วนกลาง (7) มาตรการการปรับความเร็วรอบมอเตอร์ปั๊มน้ำหล่อเย็นโดยใช้ Inverter ที่ Cooling tower สำหรับกระบวนการฉีดพลาสติก (8) มาตรการปรับปรุงระบบแสงสว่างโดยใช้หลอดประหยัดพลังงานชนิดหลอด LED 183 วัตต์ และ (9) มาตรการปรับปรุงชุดความร้อนของเครื่องฉีดพลาสติกโดยใช้ Infrared Heater ซึ่งจากมาตรการดังกล่าวนี้หากนำไปปฏิบัติ จะสามารถลดการใช้พลังงานไฟฟ้าลงได้ 3,700,781 kWh/ปี และจะทำให้ค่าดัชนีการใช้พลังงานไฟฟ้าต่อการผลิตของตู้เย็นและเครื่องซักผ้าลดลง โดยค่าดัชนีการใช้พลังงานไฟฟ้าต่อการผลิตของตู้เย็นจะมีค่า 39.26 kWh/ตู้ และดัชนีการใช้พลังงานไฟฟ้าต่อการผลิตเครื่องซักผ้าจะมีค่า 23.17 kWh/เครื่อง ซึ่งถือว่าประสิทธิภาพการใช้พลังงานในโรงงานแห่งนี้จะมีประสิทธิภาพดีขึ้นCurricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26897 SIU RS-T. การปรับปรุงประสิทธิภาพพลังงาน บริษัทโตชิบา คอนซูมเมอร์โปรดัคส์ (ประเทศไทย) จำกัด = Energy Efficiency Improvement for Toshiba Consumer Products (Thailand) Co., Ltd. [printed text] / มนูญ คเณราช, Author ; อภิชาต ประดิษฐสมานนท์, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - x, 105 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-03
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การอนุรักษ์พลังงาน
[LCSH]พลังงานไฟฟ้าKeywords: ประสิทธิภาพ,
พลังงานไฟฟ้า,
พลังงานความร้อน,
การอนุรักษ์พลังงาน,
ดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพพลังงานเฉพาะAbstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางในการประหยัดพลังงานไฟฟ้าภายในบริษัทโตชิบาคอนซูมเมอรโปรดัคส์ (ประเทศไทย) จำกัด เพื่อหาประสิทธิภาพการใช้พลังงานโดยเก็บข้อมูลการใช้พลังงานต่างๆ ภายในโรงงาน สำรวจพฤติกรรมการทำงานของกระบวนการต่างๆ รวมถึงการหามาตรการการประหยัดพลังงาน
ผลการวิจัยพบว่า ในปี 2558 ดัชนีการใช้พลังงานไฟฟ้าต่อการผลิตตู้เย็นมีค่า 42.45 kWh/ตู้ และดัชนีการใช้พลังงานไฟฟ้าต่อการผลิตเครื่องซักผ้ามีค่า 25.05 kWh/เครื่อง ซึ่งหากจะเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานภายในโรงงานจะต้องทำการลดการใช้พลังงานไฟฟ้าลง จึงได้เสนอ 9 มาตรการประหยัดพลังงานคือ (1) มาตรการลดการทำงานของเครื่องจักรในช่วงพักกลางวัน (2) มาตรการลดระยะเวลาการอุ่นเครื่องฉีดพลาสติกช่วงเช้าวันจันทร์ (3) มาตรการลดการทำงานของเครื่องปั๊มขึ้นรูป (Press M/C) ที่โรงงานตู้เย็น (4) มาตรการรวมโหลดหม้อแปลงไฟฟ้าของอาคารเครื่องซักผ้า (5) มาตรการลดการใช้พลังงานไฟฟ้าในเครื่องทำน้ำเย็น (Chiller) ที่โรงฉีดพลาสติก (6) มาตรการปรับปรุงการระบายความร้อนของเครื่องปรับอากาศที่สำนักงานส่วนกลาง (7) มาตรการการปรับความเร็วรอบมอเตอร์ปั๊มน้ำหล่อเย็นโดยใช้ Inverter ที่ Cooling tower สำหรับกระบวนการฉีดพลาสติก (8) มาตรการปรับปรุงระบบแสงสว่างโดยใช้หลอดประหยัดพลังงานชนิดหลอด LED 183 วัตต์ และ (9) มาตรการปรับปรุงชุดความร้อนของเครื่องฉีดพลาสติกโดยใช้ Infrared Heater ซึ่งจากมาตรการดังกล่าวนี้หากนำไปปฏิบัติ จะสามารถลดการใช้พลังงานไฟฟ้าลงได้ 3,700,781 kWh/ปี และจะทำให้ค่าดัชนีการใช้พลังงานไฟฟ้าต่อการผลิตของตู้เย็นและเครื่องซักผ้าลดลง โดยค่าดัชนีการใช้พลังงานไฟฟ้าต่อการผลิตของตู้เย็นจะมีค่า 39.26 kWh/ตู้ และดัชนีการใช้พลังงานไฟฟ้าต่อการผลิตเครื่องซักผ้าจะมีค่า 23.17 kWh/เครื่อง ซึ่งถือว่าประสิทธิภาพการใช้พลังงานในโรงงานแห่งนี้จะมีประสิทธิภาพดีขึ้นCurricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26897 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593770 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-03 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000593796 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-03 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU RS-T. การวิเคราะห์ประสิทธิภาพและแนวทางการปรับปรุงโรงไฟฟ้าชีวมวล อำเภอเนินขาม จังหวัดชัยนาท / สมบัติ ช้างฉาว / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU RS-T Title : การวิเคราะห์ประสิทธิภาพและแนวทางการปรับปรุงโรงไฟฟ้าชีวมวล อำเภอเนินขาม จังหวัดชัยนาท Original title : Performance Analysis and Solutions to Improve the Power plant in Noen Kham District, Chainat Province Material Type: printed text Authors: สมบัติ ช้างฉาว, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: vii, 34 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-02
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พลังงานชีวมวล -- การผลิต
[LCSH]โรงไฟฟ้าชีวมวล
[LCSH]โรงไฟฟ้าชีวมวล -- ชัยนาท -- การพัฒนาKeywords: เตาชีวมวล
ก๊าซซิฟิเคชั่น
พลังงานทดแทน
พลังงานทางเลือกCurricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26572 SIU RS-T. การวิเคราะห์ประสิทธิภาพและแนวทางการปรับปรุงโรงไฟฟ้าชีวมวล อำเภอเนินขาม จังหวัดชัยนาท = Performance Analysis and Solutions to Improve the Power plant in Noen Kham District, Chainat Province [printed text] / สมบัติ ช้างฉาว, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - vii, 34 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-02
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พลังงานชีวมวล -- การผลิต
[LCSH]โรงไฟฟ้าชีวมวล
[LCSH]โรงไฟฟ้าชีวมวล -- ชัยนาท -- การพัฒนาKeywords: เตาชีวมวล
ก๊าซซิฟิเคชั่น
พลังงานทดแทน
พลังงานทางเลือกCurricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26572 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592228 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-02 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000592210 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-02 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU RS-T. การศึกษาการขจัดสีในน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอ ด้วยขบวนการทางเคมีชีวภาพและกายภาพ / พีรวัฒน์ ดวงอาจ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU RS-T Title : การศึกษาการขจัดสีในน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอ ด้วยขบวนการทางเคมีชีวภาพและกายภาพ Original title : A Study of Decolorization of Dye Waste Water from the Textiles Industry by Chemical Biological and Physical Method Material Type: printed text Authors: พีรวัฒน์ ดวงอาจ, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: ix, 47 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-14
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]น้ำเสีย -- การบำบัด
[LCSH]เส้นใยสังเคราะห์ -- การผลิตKeywords: การขจัดสีในน้ำเสีย,
การผลิตเส้นใยสังเคราะห์,
น้ำเสียปนเปื้อนสีย้อม,
การบำบัดน้ำเสียAbstract: อุตสาหกรรมการผลิตเส้นใยสังเคราะห์เป็นอุตสาหกรรมที่เกิดน้ำเสียขึ้นเกือบทุกขั้นตอนในกระบวนการผลิต มีการฉีดสารเคมีต่างๆ หรือ สีย้อมลงไปในผลิตภัณฑ์จนก่อให้เกิดน้ำเสียความเข้มข้นสูงที่มีสีย้อมผสมอยู่ในน้ำที่เมื่อบำบัดน้ำเสียด้วยวิธีการโรงงานไม่สามารถขจัดสีย้อมปนเปื้อนที่อยู่ในน้ำเสียออกไปได้หมด ทำให้เกิดปัญหาคือไม่สามารถปล่อยทิ้งลงสู่ธรรมชาติได้เพราะจะส่งผลกระทบต่อแหล่งน้ำ จึงได้เริ่มทำการวิจัยที่จะแก้ไขปัญหาน้ำเสียที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตเส้นใยสังเคราะห์ฟอกย้อม ด้วยการศึกษาหาวิธีที่จะนำมาเพิ่มประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียให้เพียงพอและเหมาะสมสำหรับที่จะใช้นำมาบำบัดน้ำเสียที่มีความเข้มข้นของสารเคมีที่สูงและมีสีย้อมปนเปื้อนในปริมาณมาก
โดยจากการรวบรวมข้อมูลพบว่า บริเวณที่เกิดน้ำเสียปนเปื้อนสีมากที่สุดคือ บริเวณที่มีการล้างทำความสะอาดในจุดฉีดสีคือ 938 ลิตร รองลงมาคือ บริเวณที่มีการล้างทำความสะอาดในจุดปั่นบดสี พบเท่ากับ 423 ลิตร ต่อมาคือ จากเครื่องย้อมสีพบในปริมาณ 260 ลิตร ส่วนบริเวณ บ่อทิ้งน้ำสี และจากแหล่งอื่นๆ พบในปริมาณ 87 ลิตร และ 47 ลิตร ตามลำดับ จากการศึกษาการขจัดสีด้วยวิธีทางกายภาพ ชีวภาพ และเคมีพบว่าวิธีที่มีประสิทธิภาพในการขจัดสีออกไปได้สูงที่สุดคือวิธีทางกายภาพ ที่สามารถกำจัดสีจริงและสีปรากฏออกไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ การใช้วิธีทางกายภาพช่วยขจัดสีมีผลดีทางอ้อมคือ ทำให้สามารถนำน้ำเสียมาแปรรูปเพื่อนำ PRS กลับมาใช้ได้อีกครั้ง วิธีการนี้ช่วยให้กระบวนการบำบัดน้ำเสียก่อนปล่อยออกสู่โรงงานเร็วขึ้นเนื่องจากค่า COD ในน้ำต่ำลงเล็กน้อย วิธีทางชีวภาพ ยังเป็นวิธีที่ไม่เหมาะสมต่อการนำมาขจัดสีในระดับโรงงานขนาดใหญ่ที่มีน้ำเสียความเข้มข้นสูง เพราะเชื้อจุลินทรีย์ในบ่อเติมอากาศที่นำทดลองเมื่ออยู่ในสภาวะของความเข้มข้นสูงก็เกิดการตายลง อีกทั้งหากจะใช้จุลินทรีย์มาขจัดสียังต้องใช้ปริมาณจุลินทรีย์ต่อน้ำเสียในอัตราที่สูงมากอีกทั้งยังใช้เวลานานที่สุด การขจัดสีด้วยวิธีทางเคมี สามารถกำจัดสีจริงและสีปรากฏออกไปได้อย่างมีประสิทธิภาพเช่นเดียวกับการขจัดโดยวิธีการทางกายภาพ เป็นวิธีที่ง่ายและมีความสะดวก แต่ในกระบวนการจะเกิดตะกอนขึ้นมา ปริมาณค่า COD สูงขึ้นอย่างมากอีกทั้งยังไม่สามารถนำน้ำเสียมาแปรรูปเพื่อนำ PRS กลับมาใช้ได้อีกครั้งเนื่องจากมีสารเคมีที่ใช้ในการขจัดสีผสมอยู่ในน้ำ หลังจากขจัดสีออกแล้วนำไปสู่กระบวนการกำจัดจะใช้เวลานานกว่าวิธีทางกายภาพเพราะปริมาณ COD สูงขึ้น เพราะสารเคมีที่ใช้ในการขจัดสีCurricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27177 SIU RS-T. การศึกษาการขจัดสีในน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอ ด้วยขบวนการทางเคมีชีวภาพและกายภาพ = A Study of Decolorization of Dye Waste Water from the Textiles Industry by Chemical Biological and Physical Method [printed text] / พีรวัฒน์ ดวงอาจ, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - ix, 47 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-14
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]น้ำเสีย -- การบำบัด
[LCSH]เส้นใยสังเคราะห์ -- การผลิตKeywords: การขจัดสีในน้ำเสีย,
การผลิตเส้นใยสังเคราะห์,
น้ำเสียปนเปื้อนสีย้อม,
การบำบัดน้ำเสียAbstract: อุตสาหกรรมการผลิตเส้นใยสังเคราะห์เป็นอุตสาหกรรมที่เกิดน้ำเสียขึ้นเกือบทุกขั้นตอนในกระบวนการผลิต มีการฉีดสารเคมีต่างๆ หรือ สีย้อมลงไปในผลิตภัณฑ์จนก่อให้เกิดน้ำเสียความเข้มข้นสูงที่มีสีย้อมผสมอยู่ในน้ำที่เมื่อบำบัดน้ำเสียด้วยวิธีการโรงงานไม่สามารถขจัดสีย้อมปนเปื้อนที่อยู่ในน้ำเสียออกไปได้หมด ทำให้เกิดปัญหาคือไม่สามารถปล่อยทิ้งลงสู่ธรรมชาติได้เพราะจะส่งผลกระทบต่อแหล่งน้ำ จึงได้เริ่มทำการวิจัยที่จะแก้ไขปัญหาน้ำเสียที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตเส้นใยสังเคราะห์ฟอกย้อม ด้วยการศึกษาหาวิธีที่จะนำมาเพิ่มประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียให้เพียงพอและเหมาะสมสำหรับที่จะใช้นำมาบำบัดน้ำเสียที่มีความเข้มข้นของสารเคมีที่สูงและมีสีย้อมปนเปื้อนในปริมาณมาก
โดยจากการรวบรวมข้อมูลพบว่า บริเวณที่เกิดน้ำเสียปนเปื้อนสีมากที่สุดคือ บริเวณที่มีการล้างทำความสะอาดในจุดฉีดสีคือ 938 ลิตร รองลงมาคือ บริเวณที่มีการล้างทำความสะอาดในจุดปั่นบดสี พบเท่ากับ 423 ลิตร ต่อมาคือ จากเครื่องย้อมสีพบในปริมาณ 260 ลิตร ส่วนบริเวณ บ่อทิ้งน้ำสี และจากแหล่งอื่นๆ พบในปริมาณ 87 ลิตร และ 47 ลิตร ตามลำดับ จากการศึกษาการขจัดสีด้วยวิธีทางกายภาพ ชีวภาพ และเคมีพบว่าวิธีที่มีประสิทธิภาพในการขจัดสีออกไปได้สูงที่สุดคือวิธีทางกายภาพ ที่สามารถกำจัดสีจริงและสีปรากฏออกไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ การใช้วิธีทางกายภาพช่วยขจัดสีมีผลดีทางอ้อมคือ ทำให้สามารถนำน้ำเสียมาแปรรูปเพื่อนำ PRS กลับมาใช้ได้อีกครั้ง วิธีการนี้ช่วยให้กระบวนการบำบัดน้ำเสียก่อนปล่อยออกสู่โรงงานเร็วขึ้นเนื่องจากค่า COD ในน้ำต่ำลงเล็กน้อย วิธีทางชีวภาพ ยังเป็นวิธีที่ไม่เหมาะสมต่อการนำมาขจัดสีในระดับโรงงานขนาดใหญ่ที่มีน้ำเสียความเข้มข้นสูง เพราะเชื้อจุลินทรีย์ในบ่อเติมอากาศที่นำทดลองเมื่ออยู่ในสภาวะของความเข้มข้นสูงก็เกิดการตายลง อีกทั้งหากจะใช้จุลินทรีย์มาขจัดสียังต้องใช้ปริมาณจุลินทรีย์ต่อน้ำเสียในอัตราที่สูงมากอีกทั้งยังใช้เวลานานที่สุด การขจัดสีด้วยวิธีทางเคมี สามารถกำจัดสีจริงและสีปรากฏออกไปได้อย่างมีประสิทธิภาพเช่นเดียวกับการขจัดโดยวิธีการทางกายภาพ เป็นวิธีที่ง่ายและมีความสะดวก แต่ในกระบวนการจะเกิดตะกอนขึ้นมา ปริมาณค่า COD สูงขึ้นอย่างมากอีกทั้งยังไม่สามารถนำน้ำเสียมาแปรรูปเพื่อนำ PRS กลับมาใช้ได้อีกครั้งเนื่องจากมีสารเคมีที่ใช้ในการขจัดสีผสมอยู่ในน้ำ หลังจากขจัดสีออกแล้วนำไปสู่กระบวนการกำจัดจะใช้เวลานานกว่าวิธีทางกายภาพเพราะปริมาณ COD สูงขึ้น เพราะสารเคมีที่ใช้ในการขจัดสีCurricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27177 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594570 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-14 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000594554 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-14 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU RS-T. การศึกษาการบำบัดสารมลพิษตกค้างจากสารกำจัดศัตรูพืช โดยการใช้พืชในการบำบัดสารมลพิษ ในบริเวณที่ปนเปื้อน / นิพิฐพนธ์ พันธ์ยัง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU RS-T Title : การศึกษาการบำบัดสารมลพิษตกค้างจากสารกำจัดศัตรูพืช โดยการใช้พืชในการบำบัดสารมลพิษ ในบริเวณที่ปนเปื้อน Original title : A Study of the Treatment of Residual Pollutions from Pesticides by Phytoremediation of Pollutions in Contaminated Areas Material Type: printed text Authors: นิพิฐพนธ์ พันธ์ยัง, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vi, 31 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-13
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]สารกำจัดศัตรูพืช
[LCSH]สารมลพิษ -- การบำบัดKeywords: สารกำจัดศัตรูพืช,
การบำบัดสารมลพิษตกค้าง โดยการใช้พืชในการบำบัดAbstract: ปัจจุบันพบว่า เกษตรกรมีการใช้ยาฆ่าหญ้า ยากำจัดหนู ปูนา หอยเชอรี่ ยาป้องกันและกำจัดโรคพืช จนทำให้ท้องไร่นาของไทยกลายเป็นไร่นาเกษตรเคมี (สถาบันวิจัยประชากรและสังคม, 2555) อีกทั้งรายงานของกรมวิชาการเกษตรที่รายงานว่า สารเคมีด้านเกษตรจะตกค้างสะสมอยู่ในสิ่งแวดล้อมและห่วงโซ่อาหารได้เป็นเวลานานหลายปีทำให้สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศตายไปจำนวนมากขาดความสมดุลตามธรรมชาติส่งผลกระทบสืบเนื่องไปถึงสุขภาพของเกษตรกร ผู้บริโภคและปัญหาทางด้านการค้าและการส่งออกเพราะมีสารเคมีตกค้างในอาหาร
ผลกระทบจากมลพิษทางดิน ที่มีผลต่อมนุษย์ในทางอ้อม คือการได้รับจากการดื่มน้ำที่มีสารพิษปะปนหรือรับประทานอาหาร จากพืชผักปลูกในดินที่มีการสะสมตัวของสารที่มีพิษ จึงจำเป็นต้องหาวิธีการบำบัดสารมลพิษตกค้างจากสารกำจัดศัตรูพืช ให้สู่ภาวะที่สมดุลไม่ทำร้ายสิ่งแวดล้อมCurricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27184 SIU RS-T. การศึกษาการบำบัดสารมลพิษตกค้างจากสารกำจัดศัตรูพืช โดยการใช้พืชในการบำบัดสารมลพิษ ในบริเวณที่ปนเปื้อน = A Study of the Treatment of Residual Pollutions from Pesticides by Phytoremediation of Pollutions in Contaminated Areas [printed text] / นิพิฐพนธ์ พันธ์ยัง, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vi, 31 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-13
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]สารกำจัดศัตรูพืช
[LCSH]สารมลพิษ -- การบำบัดKeywords: สารกำจัดศัตรูพืช,
การบำบัดสารมลพิษตกค้าง โดยการใช้พืชในการบำบัดAbstract: ปัจจุบันพบว่า เกษตรกรมีการใช้ยาฆ่าหญ้า ยากำจัดหนู ปูนา หอยเชอรี่ ยาป้องกันและกำจัดโรคพืช จนทำให้ท้องไร่นาของไทยกลายเป็นไร่นาเกษตรเคมี (สถาบันวิจัยประชากรและสังคม, 2555) อีกทั้งรายงานของกรมวิชาการเกษตรที่รายงานว่า สารเคมีด้านเกษตรจะตกค้างสะสมอยู่ในสิ่งแวดล้อมและห่วงโซ่อาหารได้เป็นเวลานานหลายปีทำให้สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศตายไปจำนวนมากขาดความสมดุลตามธรรมชาติส่งผลกระทบสืบเนื่องไปถึงสุขภาพของเกษตรกร ผู้บริโภคและปัญหาทางด้านการค้าและการส่งออกเพราะมีสารเคมีตกค้างในอาหาร
ผลกระทบจากมลพิษทางดิน ที่มีผลต่อมนุษย์ในทางอ้อม คือการได้รับจากการดื่มน้ำที่มีสารพิษปะปนหรือรับประทานอาหาร จากพืชผักปลูกในดินที่มีการสะสมตัวของสารที่มีพิษ จึงจำเป็นต้องหาวิธีการบำบัดสารมลพิษตกค้างจากสารกำจัดศัตรูพืช ให้สู่ภาวะที่สมดุลไม่ทำร้ายสิ่งแวดล้อมCurricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27184 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594620 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-13 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000594638 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-13 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU RS-T. การศึกษาความเหมาะสมของดินที่มีผลต่อการปลูกไม้ยูคาลิปตัส ระหว่างตำบลสุขเดือนห้า อำเภอเนินขาม กับตำบลหนองแซง อำเภอหันคา จังหวัดชัยนาท / รุ่งนภา ศิรินอก / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU RS-T Title : การศึกษาความเหมาะสมของดินที่มีผลต่อการปลูกไม้ยูคาลิปตัส ระหว่างตำบลสุขเดือนห้า อำเภอเนินขาม กับตำบลหนองแซง อำเภอหันคา จังหวัดชัยนาท Original title : A Study of the Characteristics of the Soil Affecting to the Eucalyptus Grown in the Forest Plantation between Noenkham District and Hunkha District of the Chainat Province Material Type: printed text Authors: รุ่งนภา ศิรินอก, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: vii, 66 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-04
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ดิน -- การวิเคราะห์
[LCSH]ยูคาลิปตัส -- การปลูก -- ชัยนาท
[LCSH]ยูคาลิปตัส -- การเจริญเติบโตKeywords: ป่ายูคาลิปตัส Curricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26576 SIU RS-T. การศึกษาความเหมาะสมของดินที่มีผลต่อการปลูกไม้ยูคาลิปตัส ระหว่างตำบลสุขเดือนห้า อำเภอเนินขาม กับตำบลหนองแซง อำเภอหันคา จังหวัดชัยนาท = A Study of the Characteristics of the Soil Affecting to the Eucalyptus Grown in the Forest Plantation between Noenkham District and Hunkha District of the Chainat Province [printed text] / รุ่งนภา ศิรินอก, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - vii, 66 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-04
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ดิน -- การวิเคราะห์
[LCSH]ยูคาลิปตัส -- การปลูก -- ชัยนาท
[LCSH]ยูคาลิปตัส -- การเจริญเติบโตKeywords: ป่ายูคาลิปตัส Curricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26576 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592236 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-04 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000592251 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-04 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU RS-T. การศึกษาทดสอบการฉีดน้ำเข้าไปในห้องเผาไหม้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของแก๊สเชื้อเพลิง / สุพรัตน์ มาลาม / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU RS-T Title : การศึกษาทดสอบการฉีดน้ำเข้าไปในห้องเผาไหม้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของแก๊สเชื้อเพลิง Original title : Effect of Water Injection in the Combustion Chamber on the Performance of Gasifier Material Type: printed text Authors: สุพรัตน์ มาลาม, Author ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 34 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-01
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กระแสไฟฟ้า -- การผลิต
[LCSH]ก๊าซชีวมวล -- การผลิตKeywords: แก๊สซิฟิเคชั่นแบบไหลลง,
ชีวมวลเพื่อการผลิตกระแสไฟฟ้า,
โปรดิวแก๊ส,
การศึกษาความเป็นไปได้ในการฉีดน้ำในห้องเผาไหม้ของเตาAbstract: รายงานฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาความเป็นไปได้ในการฉีดน้ำเข้าไปในห้องเผาไหม้ของเครื่องผลิตก๊าซชีวมวล (Gasifier) จากเศษไม้ยูคาลิปตัส ก๊าซชีวมวล (Producer Gas) ที่ได้จะเป็นเชื้อเพลิงแก่เครื่องยนต์สันดาปภายในเพื่อผลิตไฟฟ้าอีกต่อหนึ่ง โรงไฟฟ้าชีวมวลนี้ใช้ระบบแก๊สซิฟิเคชั่นแบบไหลลง (Downdraft Gasification) ขนาด 850 kWh ในอำเภอหันคา จังหวัดชัยนาท
การประเมินความเป็นไปได้ของโครงการศึกษาเกี่ยวกับ
1)สภาพและศักยภาพของการได้มาของแกสไฮโดรเจนจากการแตกตัวของน้ำ
2)ศึกษาความเป็นไปได้ด้านเทคนิคของโครงการ
3)ศึกษาอัตราส่วนที่สามารถฉีดปริมาณน้ำเข้าไปในห้องเผาไหม้ของเตา พบว่าปริมาณของน้ำที่ฉีดเข้าไปไม่มีผลต่อปริมาณกำลังไฟฟ้าที่ผลิตได้สามารถสรุปผลการดำเนินงานคืออาจต้องเพิ่มปริมาณน้ำที่ฉีดมากขึ้น ให้ถึงประมาณ10%
สำหรับการดำเนินโครงการโรงไฟฟ้าชีวมวลทั่วไป สิ่งหนึ่งที่สำคัญคือต้องได้รับการบริหารจัดการเรื่องเชื้อเพลิงชีวมวลที่ดี ทั้งในแง่ของปริมาณชีวมวลที่ต้องมีอยู่อย่างต่อเนื่อง ราคาชีวมวลและแหล่งรับซื้อที่สามารถบริหารจัดการได้ รวมไปถึงคุณภาพของชีวมวลที่จะนำมาใช้ในการดำเนินการ จะต้องควบคุมขนาดของชีวมวลและความชื้นที่เหมาะสมกับคุณลักษณะของเตาปฏิกรณ์ของโครงการ เพื่อให้โครงการสามารถควบคุมประสิทธิภาพของโปรดิวแก๊สอย่างเป็นระบบมากขึ้น ซึ่งจะมีผลต่อผลประกอบการของโครงการตลอดไปCurricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26641 SIU RS-T. การศึกษาทดสอบการฉีดน้ำเข้าไปในห้องเผาไหม้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของแก๊สเชื้อเพลิง = Effect of Water Injection in the Combustion Chamber on the Performance of Gasifier [printed text] / สุพรัตน์ มาลาม, Author ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 34 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-01
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กระแสไฟฟ้า -- การผลิต
[LCSH]ก๊าซชีวมวล -- การผลิตKeywords: แก๊สซิฟิเคชั่นแบบไหลลง,
ชีวมวลเพื่อการผลิตกระแสไฟฟ้า,
โปรดิวแก๊ส,
การศึกษาความเป็นไปได้ในการฉีดน้ำในห้องเผาไหม้ของเตาAbstract: รายงานฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาความเป็นไปได้ในการฉีดน้ำเข้าไปในห้องเผาไหม้ของเครื่องผลิตก๊าซชีวมวล (Gasifier) จากเศษไม้ยูคาลิปตัส ก๊าซชีวมวล (Producer Gas) ที่ได้จะเป็นเชื้อเพลิงแก่เครื่องยนต์สันดาปภายในเพื่อผลิตไฟฟ้าอีกต่อหนึ่ง โรงไฟฟ้าชีวมวลนี้ใช้ระบบแก๊สซิฟิเคชั่นแบบไหลลง (Downdraft Gasification) ขนาด 850 kWh ในอำเภอหันคา จังหวัดชัยนาท
การประเมินความเป็นไปได้ของโครงการศึกษาเกี่ยวกับ
1)สภาพและศักยภาพของการได้มาของแกสไฮโดรเจนจากการแตกตัวของน้ำ
2)ศึกษาความเป็นไปได้ด้านเทคนิคของโครงการ
3)ศึกษาอัตราส่วนที่สามารถฉีดปริมาณน้ำเข้าไปในห้องเผาไหม้ของเตา พบว่าปริมาณของน้ำที่ฉีดเข้าไปไม่มีผลต่อปริมาณกำลังไฟฟ้าที่ผลิตได้สามารถสรุปผลการดำเนินงานคืออาจต้องเพิ่มปริมาณน้ำที่ฉีดมากขึ้น ให้ถึงประมาณ10%
สำหรับการดำเนินโครงการโรงไฟฟ้าชีวมวลทั่วไป สิ่งหนึ่งที่สำคัญคือต้องได้รับการบริหารจัดการเรื่องเชื้อเพลิงชีวมวลที่ดี ทั้งในแง่ของปริมาณชีวมวลที่ต้องมีอยู่อย่างต่อเนื่อง ราคาชีวมวลและแหล่งรับซื้อที่สามารถบริหารจัดการได้ รวมไปถึงคุณภาพของชีวมวลที่จะนำมาใช้ในการดำเนินการ จะต้องควบคุมขนาดของชีวมวลและความชื้นที่เหมาะสมกับคุณลักษณะของเตาปฏิกรณ์ของโครงการ เพื่อให้โครงการสามารถควบคุมประสิทธิภาพของโปรดิวแก๊สอย่างเป็นระบบมากขึ้น ซึ่งจะมีผลต่อผลประกอบการของโครงการตลอดไปCurricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26641 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592962 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-01 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000592954 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-01 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU RS-T. การศึกษาผลตอบแทนการลงทุนโรงไฟฟ้าชีวมวลแก๊ซซิฟิเคชั่นแบบไหลลงขนาด 50 850 kW โดยใช้ไม้ยูคาลิปตัสเพื่อนำไปผลิตกระแสไฟฟ้า / จิราภรณ์ ขจรวงศ์ไพศาล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU RS-T Title : การศึกษาผลตอบแทนการลงทุนโรงไฟฟ้าชีวมวลแก๊ซซิฟิเคชั่นแบบไหลลงขนาด 50 850 kW โดยใช้ไม้ยูคาลิปตัสเพื่อนำไปผลิตกระแสไฟฟ้า Original title : The Investment Evaluation Study of Biomass Power Plant with Downdraft Gasification 850 kW from Eucalyptus Wood Chip Material Type: printed text Authors: จิราภรณ์ ขจรวงศ์ไพศาล, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: xii, 139 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-01
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กระแสไฟฟ้า -- การผลิต
[LCSH]กระแสไฟฟ้า -- การผลิต -- แง่เศรษฐกิจ
[LCSH]โรงไฟฟ้าชีวมวล -- ชัยนาท -- การพัฒนาKeywords: เทคโนโลยีแก๊ซซิฟิเคชั่น
แก๊ซซิฟายเออร์แบบไหลลง
ชีวมวล
โปรดิวเซอร์แก๊ซ
การประเมินโครงการ
การประเมินระหว่างดำเนินโครงการ
ผู้ผลิตไฟฟ้าขนาดเล็กมาก (VSPP)Curricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26569 SIU RS-T. การศึกษาผลตอบแทนการลงทุนโรงไฟฟ้าชีวมวลแก๊ซซิฟิเคชั่นแบบไหลลงขนาด 50 850 kW โดยใช้ไม้ยูคาลิปตัสเพื่อนำไปผลิตกระแสไฟฟ้า = The Investment Evaluation Study of Biomass Power Plant with Downdraft Gasification 850 kW from Eucalyptus Wood Chip [printed text] / จิราภรณ์ ขจรวงศ์ไพศาล, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - xii, 139 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-01
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2016.
Languages : Thai (tha)Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592202 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-01 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000592194 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-01 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU RS-T. การศึกษาลักษณะทางกายภาพและทางเคมี เพื่อหาแนวทางจัดการขยะที่เหมาะสม กรณีศึกษา : สถานีขนถ่ายขยะมูลฝอยหายยา จังหวัดเชียงใหม่ / กมลลักษณ์ อมรสวาทศิลป์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU RS-T Title : การศึกษาลักษณะทางกายภาพและทางเคมี เพื่อหาแนวทางจัดการขยะที่เหมาะสม กรณีศึกษา : สถานีขนถ่ายขยะมูลฝอยหายยา จังหวัดเชียงใหม่ Original title : A study of physical and chemical characteristics of municipal solid waste : Case study of Hai Ya Transfer Station,Chiangmai Province Material Type: printed text Authors: กมลลักษณ์ อมรสวาทศิลป์, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: vi, 39 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-06
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ขยะ -- การจัดการ -- เชียงใหม่
[LCSH]ขยะมูลฝอย -- การจัดการ -- กรณีศึกษาCurricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26583 SIU RS-T. การศึกษาลักษณะทางกายภาพและทางเคมี เพื่อหาแนวทางจัดการขยะที่เหมาะสม กรณีศึกษา : สถานีขนถ่ายขยะมูลฝอยหายยา จังหวัดเชียงใหม่ = A study of physical and chemical characteristics of municipal solid waste : Case study of Hai Ya Transfer Station,Chiangmai Province [printed text] / กมลลักษณ์ อมรสวาทศิลป์, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - vi, 39 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-06
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ขยะ -- การจัดการ -- เชียงใหม่
[LCSH]ขยะมูลฝอย -- การจัดการ -- กรณีศึกษาCurricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26583 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592293 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-06 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000592301 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-06 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU RS-T. การศึกษาสัมประสิทธิ์สมรรถนะพลังงานของปั๊มความร้อน แบบใช้แหล่งความร้อนหลายแหล่ง / วีระชัย จีระนันตสิน / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU RS-T Title : การศึกษาสัมประสิทธิ์สมรรถนะพลังงานของปั๊มความร้อน แบบใช้แหล่งความร้อนหลายแหล่ง Original title : Study Coefficient of Performance of Multisource Heat Pump Material Type: printed text Authors: วีระชัย จีระนันตสิน, Author ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 44 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-02
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ปั๊มความร้อน
[LCSH]วิทยาศาสตร์ -- การทดลองKeywords: ปั๊มความร้อนแบบดึงพลังงานความร้อนจากหลายแหล่ง,
ปั๊มความร้อนแบบแหล่งความร้อนจากอากาศ,
ปั๊มความร้อนแบบแหล่งความร้อนจากน้ำ,
สัมประสิทธิ์สมรรถนะAbstract: การศึกษาวิจัยฉบับนี้ เป็นการศึกษาหาสัมประสิทธิ์สมรรถนะของปั๊มความร้อนแบบประเภทที่สามารถดึงพลังงานความร้อนหลายแหล่งจากแหล่งความร้อน ทั้งแหล่งความร้อนจากอากาศที่ 35 องศาเซลเซียส และแหล่งความร้อนจาก น้ำเย็น 12 องศาเซลเซียสออก 7 องศาเซลเซียส ในขณะที่เครื่องปั๊มความร้อนสามารถผลิตน้ำร้อนได้สูง 60 องศาเซลเซียส โดย การออกแบบสร้างเครื่องปั๊มความร้อนแบบดึงพลังงานจากแหล่งความร้อนจากอากาศหรือจากน้ำ ถ่ายเทให้แก่น้ำ หรืออากาศ สลับเลือกตามการทดสอบวิจัยนี้ ประกอบด้วยอุปกรณ์หลัก
1) คอมเพรสเซอร์ ขนาด กำลังไฟฟ้า 1.52 kW ใช้สารทำความเย็น R134a
2) เครื่องควบแน่น ภาระทำความร้อน 3.16 kW
3) เครื่องระเหย ภาระการทำความเย็น 1.95 kW
4) คอล์ยแลกเปลี่ยนความร้อนด้วยอากาศ ทำหน้าที่ทั้งเป็นเครื่องระเหยหรือเครื่องควบแน่น
ผลการทดลองนำมาหาค่าสัมประสิทธิ์สมรรถนะของเครื่องในแต่ละระบบ ได้ดังนี้
1) ระบบปั๊มความร้อนแบบใช้แหล่งความร้อนจากน้ำเย็น ได้ค่า COP = 2.52
2) ระบบน้ำเย็นระบายความร้อนด้วยอากาศ ได้ค่า COP = 2.42
3) ระบบปั๊มความร้อนแบบใช้แหล่งความร้อนจากน้ำเย็น ได้ค่า COP = 3.5
จากผลการทดลอง ปั๊มความร้อนแบบใช้แหล่งความร้อนหลายแหล่ง สามารถทำงานผลิตน้ำร้อนและน้ำเย็นในขณะเดียวกัน ตามวัตถุประสงค์ของงานวิจัยCurricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26642 SIU RS-T. การศึกษาสัมประสิทธิ์สมรรถนะพลังงานของปั๊มความร้อน แบบใช้แหล่งความร้อนหลายแหล่ง = Study Coefficient of Performance of Multisource Heat Pump [printed text] / วีระชัย จีระนันตสิน, Author ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 44 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-02
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ปั๊มความร้อน
[LCSH]วิทยาศาสตร์ -- การทดลองKeywords: ปั๊มความร้อนแบบดึงพลังงานความร้อนจากหลายแหล่ง,
ปั๊มความร้อนแบบแหล่งความร้อนจากอากาศ,
ปั๊มความร้อนแบบแหล่งความร้อนจากน้ำ,
สัมประสิทธิ์สมรรถนะAbstract: การศึกษาวิจัยฉบับนี้ เป็นการศึกษาหาสัมประสิทธิ์สมรรถนะของปั๊มความร้อนแบบประเภทที่สามารถดึงพลังงานความร้อนหลายแหล่งจากแหล่งความร้อน ทั้งแหล่งความร้อนจากอากาศที่ 35 องศาเซลเซียส และแหล่งความร้อนจาก น้ำเย็น 12 องศาเซลเซียสออก 7 องศาเซลเซียส ในขณะที่เครื่องปั๊มความร้อนสามารถผลิตน้ำร้อนได้สูง 60 องศาเซลเซียส โดย การออกแบบสร้างเครื่องปั๊มความร้อนแบบดึงพลังงานจากแหล่งความร้อนจากอากาศหรือจากน้ำ ถ่ายเทให้แก่น้ำ หรืออากาศ สลับเลือกตามการทดสอบวิจัยนี้ ประกอบด้วยอุปกรณ์หลัก
1) คอมเพรสเซอร์ ขนาด กำลังไฟฟ้า 1.52 kW ใช้สารทำความเย็น R134a
2) เครื่องควบแน่น ภาระทำความร้อน 3.16 kW
3) เครื่องระเหย ภาระการทำความเย็น 1.95 kW
4) คอล์ยแลกเปลี่ยนความร้อนด้วยอากาศ ทำหน้าที่ทั้งเป็นเครื่องระเหยหรือเครื่องควบแน่น
ผลการทดลองนำมาหาค่าสัมประสิทธิ์สมรรถนะของเครื่องในแต่ละระบบ ได้ดังนี้
1) ระบบปั๊มความร้อนแบบใช้แหล่งความร้อนจากน้ำเย็น ได้ค่า COP = 2.52
2) ระบบน้ำเย็นระบายความร้อนด้วยอากาศ ได้ค่า COP = 2.42
3) ระบบปั๊มความร้อนแบบใช้แหล่งความร้อนจากน้ำเย็น ได้ค่า COP = 3.5
จากผลการทดลอง ปั๊มความร้อนแบบใช้แหล่งความร้อนหลายแหล่ง สามารถทำงานผลิตน้ำร้อนและน้ำเย็นในขณะเดียวกัน ตามวัตถุประสงค์ของงานวิจัยCurricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26642 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592988 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-02 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000593002 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-02 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU RS-T. การใช้ผักตบชวาเป็นเส้นใยในคอมโพสิทยางธรรมชาติ / เอกพจน์ วนโกสุม / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU RS-T Title : การใช้ผักตบชวาเป็นเส้นใยในคอมโพสิทยางธรรมชาติ Original title : Using Water Hyacinth as Fiber in Composite Natural Rubber Material Type: printed text Authors: เอกพจน์ วนโกสุม, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: ix, 56 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-08
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผักตบชวา -- การแปรรูป Keywords: ดัชนีน้ำหนักของผักตบชวา,
ผงผักตบชวา,
คอมโพสิทด้วยยางธรรมชาติAbstract: การศึกษาวิจัยการนำเสันใยจากผักตบชวามาทำคอมโพสิทด้วยยางธรรมชาติเพื่อเป็นการแก้ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและยังเป็นการเพิ่มมูลค่าของเส้นใยผักตบชวาและของยางธรรมชาติเนื่องจากผักตบชวาเป็นพืชที่แพร่พันธุ์เร็วมาก โดยมีอัตราการเจริญเติบโตเป็น 8 เท่าต่อเดือนหรือมีการสะสมมวลชีวภาพได้สูงถึง 20 กรัมน้ำหนักแห้งต่อตารางเมตรต่อวัน ดังนั้นหากสร้างปัญหาก็จะรุนแรงมาก หากเป็นผลผลิตก็จะเป็นผลผลิตที่มีอุปทาน(supply)สูงมาก หากสามารถเปลี่ยนผักตบชวาเป็นวัตถุดิบอุตสาหกรรมได้ก็จะมีแหล่งวัตถุดิบขนาดมหึมาทั่วประเทศผงผักตบชวาตากแห้งนำมาผสมกับยางพารา (ยางธรรมชาติ)โดยสร้างสรรค์ให้เป็นวัสดุต้นทางในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้ ก็จะเป็นประโยชน์อย่างมหาศาลทั้งในทางเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
การศึกษาวิจัยนี้จะเป็นการนำเอาผักตบชวาทุกส่วนมาใช้ทำให้เป็นผง (zero waste) โดยจะได้ผงผักตบชวา 8 % โดยน้ำหนักเมื่อเทียบกับผักตบชวาสด ค่าดัชนีน้ำหนักของผักตบชวาสดที่ได้คือ 9945 กรัมต่อตารางเมตร ดังนั้นจะสามารถทำเป็นผงได้ 795.6 กรัมต่อตารางเมตร จากการสำรวจในส่วนของพื้นที่ที่รับผิดชอบในเขตชลประทานมีทั้งหมด 2.77 ล้านตัน ถ้าคิดเป็นพื้นที่ประมาณ 279 ตารางกิโลเมตร และจะผลิตผงผักตบชวาได้ 220,000 ตัน โดยมีต้นทุนประมาณ 14.38บาทต่อกิโลกรัม หรือ 14,380บาทต่อตัน
ส่วนการนำไปผสมกับยางธรรมชาติกลายเป็นคอมโพสิทเพื่อเป็นการเพิ่มความแข็งแรงให้กับวัสดุคอมโพสิทเมื่อเทียบกับยางที่ไม่ใส่ผงผักตบชวาและยางที่ผสมคาร์บอนในท้องตลาดซึ่งเป็นการศึกษาความเป็นไปได้ที่จะนำไปใช้เป็นวัตถุดิบของผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้อย่างกว้างขวางCurricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27189 SIU RS-T. การใช้ผักตบชวาเป็นเส้นใยในคอมโพสิทยางธรรมชาติ = Using Water Hyacinth as Fiber in Composite Natural Rubber [printed text] / เอกพจน์ วนโกสุม, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - ix, 56 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-08
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผักตบชวา -- การแปรรูป Keywords: ดัชนีน้ำหนักของผักตบชวา,
ผงผักตบชวา,
คอมโพสิทด้วยยางธรรมชาติAbstract: การศึกษาวิจัยการนำเสันใยจากผักตบชวามาทำคอมโพสิทด้วยยางธรรมชาติเพื่อเป็นการแก้ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและยังเป็นการเพิ่มมูลค่าของเส้นใยผักตบชวาและของยางธรรมชาติเนื่องจากผักตบชวาเป็นพืชที่แพร่พันธุ์เร็วมาก โดยมีอัตราการเจริญเติบโตเป็น 8 เท่าต่อเดือนหรือมีการสะสมมวลชีวภาพได้สูงถึง 20 กรัมน้ำหนักแห้งต่อตารางเมตรต่อวัน ดังนั้นหากสร้างปัญหาก็จะรุนแรงมาก หากเป็นผลผลิตก็จะเป็นผลผลิตที่มีอุปทาน(supply)สูงมาก หากสามารถเปลี่ยนผักตบชวาเป็นวัตถุดิบอุตสาหกรรมได้ก็จะมีแหล่งวัตถุดิบขนาดมหึมาทั่วประเทศผงผักตบชวาตากแห้งนำมาผสมกับยางพารา (ยางธรรมชาติ)โดยสร้างสรรค์ให้เป็นวัสดุต้นทางในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้ ก็จะเป็นประโยชน์อย่างมหาศาลทั้งในทางเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
การศึกษาวิจัยนี้จะเป็นการนำเอาผักตบชวาทุกส่วนมาใช้ทำให้เป็นผง (zero waste) โดยจะได้ผงผักตบชวา 8 % โดยน้ำหนักเมื่อเทียบกับผักตบชวาสด ค่าดัชนีน้ำหนักของผักตบชวาสดที่ได้คือ 9945 กรัมต่อตารางเมตร ดังนั้นจะสามารถทำเป็นผงได้ 795.6 กรัมต่อตารางเมตร จากการสำรวจในส่วนของพื้นที่ที่รับผิดชอบในเขตชลประทานมีทั้งหมด 2.77 ล้านตัน ถ้าคิดเป็นพื้นที่ประมาณ 279 ตารางกิโลเมตร และจะผลิตผงผักตบชวาได้ 220,000 ตัน โดยมีต้นทุนประมาณ 14.38บาทต่อกิโลกรัม หรือ 14,380บาทต่อตัน
ส่วนการนำไปผสมกับยางธรรมชาติกลายเป็นคอมโพสิทเพื่อเป็นการเพิ่มความแข็งแรงให้กับวัสดุคอมโพสิทเมื่อเทียบกับยางที่ไม่ใส่ผงผักตบชวาและยางที่ผสมคาร์บอนในท้องตลาดซึ่งเป็นการศึกษาความเป็นไปได้ที่จะนำไปใช้เป็นวัตถุดิบของผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้อย่างกว้างขวางCurricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27189 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594752 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-08 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000594745 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-08 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU RS-T. นโยบายจัดการพลังงาน การรับซื้อไฟฟ้าจากระบบพลังงานแสงอาทิตย์ จากชาวนาโดยภาครัฐ / ชัยพันธุ์ ไวยพันธุ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU RS-T Title : นโยบายจัดการพลังงาน การรับซื้อไฟฟ้าจากระบบพลังงานแสงอาทิตย์ จากชาวนาโดยภาครัฐ Original title : Energy Policy: Buying Solar Electricity from Farmers by the Public Sector Material Type: printed text Authors: ชัยพันธุ์ ไวยพันธุ์, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: viii, 50 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-06
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พลังงาน -- การจัดการ
[LCSH]พลังงานแสงอาทิตย์Keywords: ระบบโซล่าเซลล์ Abstract: แนวทางนโยบายโครงการนำร่อง สร้างเศรษฐกิจพอเพียงอย่างยั่งยืนแก่ชาวนา ด้วยนโยบายรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ (10 กิโลวัตต์ 100 ครัวเรือน) เนื่องจากปัญหาชาวนาด้านความเป็นอยู่และรายได้จากการประกอบอาชีพ เป็นหนึ่งในปัญหาที่สะสมมานานในประเทศไทย ไม่ว่าในเรื่องปัญหาหนี้สินนอกระบบของผู้ประกอบอาชีพชาวนา ปัญหานโยบายที่เข้ามาช่วยสนับสนุนชาวนา เช่นโครงการรับจำนำข้าว ปัญหาการที่ชาวนากู้เงินจากธนาคารภาครัฐมาเพื่อซื้อวัตถุดิบในการปลูกข้าวแต่เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ ราคาขายกลับไม่เพียงพอที่จะปลดหนี้ งานวิจัยนี้ จึงมุ่งเน้นเพื่อเสนอโครงการนำร่อง เป็นแนวทางในการสร้างรายได้อย่างยั่งยืนควบคู่กับการทำนา โดยเน้นแก้ไขและหาแนวทางที่สร้างรายได้ที่ยั่งยืนและช่วยลดภาระหนี้สินในครัวเรือนแก่ชาวนา
โดยผลการศึกษาพบว่าโครงการนำร่องนโยบายการรับซื้อไฟฟ้า ที่ผลิตด้วยระบบพลังงานแสงอาทิตย์แก่ชาวนา 100 ครอบครัว ๆ ละ 10 กิโลวัตต์ (เงินลงทุน 450,000 บาทต่อ 1 ครอบครัว) สามารถสร้างรายได้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการอย่างน้อยปีละ 82,200 บาท หรือเฉลี่ยเดือนละ 6,850 บาท (คำนวณกรณีตัวอย่างจากนโยบายการรับซื้อไฟฟ้าบนหลังคา FIT ปี 2558) โดยติดตั้งระบบโซล่าเซลล์ (Solar Cell) บนหลังคาบ้านหรือบริเวณบ้านที่ใช้เลี้ยงสัตว์ โดยเฉลี่ยใช้พื้นที่ประมาณ 70 ตารางเมตร โดยทางรัฐช่วยสนับสนุนเงิน 50% และอีก 50% ในรูปเงินกู้ให้ผู้เข้าร่วมโครงการผ่านทาง ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร โดยการผ่อนชำระคืนเงินกู้กับทางธนาคารจะสามารถคืนในอัตราส่วนร้อยละ 50% ของรายได้จากการขายไฟฟ้าและอีก 50% ของรายได้ให้เป็นของชาวนาจนครบปีจำนวนเงินที่กู้ยืม โดยนโยบายที่ใช้รับซื้อไฟฟ้าเป็นแบบ Feed-in-Tariff (FIT) ซึ่งอัตราจะอยู่ในรูปแบบอัตรารับซื้อไฟฟ้าคงที่ตลอดอายุโครงการ 25 ปี โดยงานวิจัยนี้แสดงให้เห็นถึงข้อเสนอแนะนโยบายที่สร้างรายได้อย่างถาวรเพื่อให้เกิดระบบเศรษฐกิจพอเพียงอย่างยั่งยืนและสามารถนำมาขยายต่อให้เกิดเป็นโครงการระดับประเทศต่อไปได้ ด้วยงบประมาณที่สามารถทำได้และก่อให้เกิดประโยชน์ทั้ง 2 ฝ่ายทั้งผู้ประกอบอาชีพชาวนาและภาครัฐ
Curricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27193 SIU RS-T. นโยบายจัดการพลังงาน การรับซื้อไฟฟ้าจากระบบพลังงานแสงอาทิตย์ จากชาวนาโดยภาครัฐ = Energy Policy: Buying Solar Electricity from Farmers by the Public Sector [printed text] / ชัยพันธุ์ ไวยพันธุ์, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - viii, 50 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-06
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พลังงาน -- การจัดการ
[LCSH]พลังงานแสงอาทิตย์Keywords: ระบบโซล่าเซลล์ Abstract: แนวทางนโยบายโครงการนำร่อง สร้างเศรษฐกิจพอเพียงอย่างยั่งยืนแก่ชาวนา ด้วยนโยบายรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ (10 กิโลวัตต์ 100 ครัวเรือน) เนื่องจากปัญหาชาวนาด้านความเป็นอยู่และรายได้จากการประกอบอาชีพ เป็นหนึ่งในปัญหาที่สะสมมานานในประเทศไทย ไม่ว่าในเรื่องปัญหาหนี้สินนอกระบบของผู้ประกอบอาชีพชาวนา ปัญหานโยบายที่เข้ามาช่วยสนับสนุนชาวนา เช่นโครงการรับจำนำข้าว ปัญหาการที่ชาวนากู้เงินจากธนาคารภาครัฐมาเพื่อซื้อวัตถุดิบในการปลูกข้าวแต่เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ ราคาขายกลับไม่เพียงพอที่จะปลดหนี้ งานวิจัยนี้ จึงมุ่งเน้นเพื่อเสนอโครงการนำร่อง เป็นแนวทางในการสร้างรายได้อย่างยั่งยืนควบคู่กับการทำนา โดยเน้นแก้ไขและหาแนวทางที่สร้างรายได้ที่ยั่งยืนและช่วยลดภาระหนี้สินในครัวเรือนแก่ชาวนา
โดยผลการศึกษาพบว่าโครงการนำร่องนโยบายการรับซื้อไฟฟ้า ที่ผลิตด้วยระบบพลังงานแสงอาทิตย์แก่ชาวนา 100 ครอบครัว ๆ ละ 10 กิโลวัตต์ (เงินลงทุน 450,000 บาทต่อ 1 ครอบครัว) สามารถสร้างรายได้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการอย่างน้อยปีละ 82,200 บาท หรือเฉลี่ยเดือนละ 6,850 บาท (คำนวณกรณีตัวอย่างจากนโยบายการรับซื้อไฟฟ้าบนหลังคา FIT ปี 2558) โดยติดตั้งระบบโซล่าเซลล์ (Solar Cell) บนหลังคาบ้านหรือบริเวณบ้านที่ใช้เลี้ยงสัตว์ โดยเฉลี่ยใช้พื้นที่ประมาณ 70 ตารางเมตร โดยทางรัฐช่วยสนับสนุนเงิน 50% และอีก 50% ในรูปเงินกู้ให้ผู้เข้าร่วมโครงการผ่านทาง ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร โดยการผ่อนชำระคืนเงินกู้กับทางธนาคารจะสามารถคืนในอัตราส่วนร้อยละ 50% ของรายได้จากการขายไฟฟ้าและอีก 50% ของรายได้ให้เป็นของชาวนาจนครบปีจำนวนเงินที่กู้ยืม โดยนโยบายที่ใช้รับซื้อไฟฟ้าเป็นแบบ Feed-in-Tariff (FIT) ซึ่งอัตราจะอยู่ในรูปแบบอัตรารับซื้อไฟฟ้าคงที่ตลอดอายุโครงการ 25 ปี โดยงานวิจัยนี้แสดงให้เห็นถึงข้อเสนอแนะนโยบายที่สร้างรายได้อย่างถาวรเพื่อให้เกิดระบบเศรษฐกิจพอเพียงอย่างยั่งยืนและสามารถนำมาขยายต่อให้เกิดเป็นโครงการระดับประเทศต่อไปได้ ด้วยงบประมาณที่สามารถทำได้และก่อให้เกิดประโยชน์ทั้ง 2 ฝ่ายทั้งผู้ประกอบอาชีพชาวนาและภาครัฐ
Curricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27193 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594778 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-06 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Available 32002000594760 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-06 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU RS-T. ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจากการทําเหมืองแร่ทองคําในประเทศไทย / ฐิตารีย์ โสภณณธีศักดิ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU RS-T Title : ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจากการทําเหมืองแร่ทองคําในประเทศไทย Original title : Environmental Impact of Gold Mining in Thailand Material Type: printed text Authors: ฐิตารีย์ โสภณณธีศักดิ์, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 30 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-11
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]สิ่งแวดล้อม -- ผลกระทบ
[LCSH]เหมืองแร่ทองคำ -- แง่สิ่งแวดล้อมKeywords: สายแร่ทองคำ,
สารหนัก,
กระบวนการแยกสายแร่Abstract: เนื่องจากปัญหาเหมืองทองที่เกิดเป็นกระแสด้านสิ่งแวดล้อม สุขภาพ และมูลค่าทางเศรษฐกิจ ทำให้เกิดข้อพิพาท การขัดแย้งของชาวบ้านในพื้นที่และผู้ประกอบธุรกิจที่ได้รับสัมปทานจากต่างประเทศจนทำให้เกิดเป็นปัญหาถกเถียงระดับชาติ ทั้งนี้ผู้วิจัยได้รับโอกาสได้เป็นผู้ดำเนินการทำข้อสรุปให้กับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมในด้านสิ่งแวดล้อม จึงเห็นเป็นเรื่องสำคัญที่จะนำมาเป็นกรณีศึกษาเพื่อเผยแพร่ผลกระทบ เพื่อนำไปสู่การทำงานวิจัยในหลากลายแขนงได้ต่อไป
โดยผลการศึกษาพบว่าโครงการทำเหมืองทองที่จังหวัดพิจิตร เป็นที่ชัดแจ้งในเรื่องผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมแต่ทั้งนี้ไม่ได้เกิดจากการทำอุตสาหกรรม หรือ วิธีการขุดแร่ทอง แต่เกิดจากธรรมชาติพื้นที่แร่ทองเองที่มีสารหนักเช่นสารหนูและสารต่างๆรอบภูมิศาสตร์ ดังนั้นผลสรุปจึงชัดเจนว่า การทำเหมืองแร่ทอง ในจังหวัดพิจิตร มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในด้านตัดต้นไม้ ในการสร้างบ่อเก็บกักของเสีย แต่ปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นจากสารหนักต่างๆ เป็นเหตุที่เกิดตามธรรมชาติที่ ไม่ได้เกิดขึ้นสืบเนื่องจากการขุดแร่ทอง ขึ้นมาและทำกระบวนการแยกสายแร่ออก
Curricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27183 SIU RS-T. ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจากการทําเหมืองแร่ทองคําในประเทศไทย = Environmental Impact of Gold Mining in Thailand [printed text] / ฐิตารีย์ โสภณณธีศักดิ์, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 30 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-11
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]สิ่งแวดล้อม -- ผลกระทบ
[LCSH]เหมืองแร่ทองคำ -- แง่สิ่งแวดล้อมKeywords: สายแร่ทองคำ,
สารหนัก,
กระบวนการแยกสายแร่Abstract: เนื่องจากปัญหาเหมืองทองที่เกิดเป็นกระแสด้านสิ่งแวดล้อม สุขภาพ และมูลค่าทางเศรษฐกิจ ทำให้เกิดข้อพิพาท การขัดแย้งของชาวบ้านในพื้นที่และผู้ประกอบธุรกิจที่ได้รับสัมปทานจากต่างประเทศจนทำให้เกิดเป็นปัญหาถกเถียงระดับชาติ ทั้งนี้ผู้วิจัยได้รับโอกาสได้เป็นผู้ดำเนินการทำข้อสรุปให้กับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมในด้านสิ่งแวดล้อม จึงเห็นเป็นเรื่องสำคัญที่จะนำมาเป็นกรณีศึกษาเพื่อเผยแพร่ผลกระทบ เพื่อนำไปสู่การทำงานวิจัยในหลากลายแขนงได้ต่อไป
โดยผลการศึกษาพบว่าโครงการทำเหมืองทองที่จังหวัดพิจิตร เป็นที่ชัดแจ้งในเรื่องผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมแต่ทั้งนี้ไม่ได้เกิดจากการทำอุตสาหกรรม หรือ วิธีการขุดแร่ทอง แต่เกิดจากธรรมชาติพื้นที่แร่ทองเองที่มีสารหนักเช่นสารหนูและสารต่างๆรอบภูมิศาสตร์ ดังนั้นผลสรุปจึงชัดเจนว่า การทำเหมืองแร่ทอง ในจังหวัดพิจิตร มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในด้านตัดต้นไม้ ในการสร้างบ่อเก็บกักของเสีย แต่ปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นจากสารหนักต่างๆ เป็นเหตุที่เกิดตามธรรมชาติที่ ไม่ได้เกิดขึ้นสืบเนื่องจากการขุดแร่ทอง ขึ้นมาและทำกระบวนการแยกสายแร่ออก
Curricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27183 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594653 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-11 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000594646 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-11 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU RS-T. รูปแบบการแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยจากการวางผังเมืองรวม กรณีศึกษาพื้นที่ ตำบลลำลูกกา อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี / สามารถ รักธรรม / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU RS-T Title : รูปแบบการแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยจากการวางผังเมืองรวม กรณีศึกษาพื้นที่ ตำบลลำลูกกา อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี Original title : Solid Waste Management of Provincial Urban Planning: Case Study of Lumlukka Subdistrict, Pathumthani Province Material Type: printed text Authors: สามารถ รักธรรม, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: vi, 19 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-12
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ขยะมูลฝอย -- การจัดการ -- ปทุมธานี
[LCSH]อุตสาหกรรม -- การกำจัดของเสียKeywords: ขยะมูลฝอย
ผังเมืองรวม
การจัดการขยะมูลฝอยAbstract: การศึกษาวิจัยนี้มุ่งเน้นที่การจัดการขยะมูลฝอยและกากของเสียอุตสาหกรรมในพื้นที่ตำบลลำลูกกา ซึ่งอยู่ในความดูแลของสองหน่วยงาน ได้แก่ เทศบาลตำบลลำลูกกา และองค์การบริหารส่วนตำบลลำลูกกา โดยเก็บข้อมูลจากหน่วยงานทั้งสอง และทำการสัมภาษณ์เชิงลึกเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง พบว่าการจัดการขยะในปัจจุบันเป็นการขนถ่ายขยะมูลฝอยทั้งหมด ไปกำจัดที่หลุมฝังกลบมูลฝอย อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งในอนาคตอันใกล้นี้ ปริมาณขยะที่จะเพิ่มขึ้นจากการขยายตัวของประชากร และการเติบโตของอุตสาหกรรม อาจเกินขีดจำกัดการขนถ่ายขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่น และหลุมฝังกลบมูลฝอยดังกล่าวอาจปฏิเสธการให้บริการกำจัดขยะมูลฝอยจากพื้นที่ตำบลลำลูกกา ดังนั้นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด ควรจะร่วมกันหาวิธีการแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยที่เพิ่มขึ้นในอนาคต โดยให้มีความเหมาะสมต่อสภาพพื้นที่ ประสิทธิภาพการกำจัดขยะ การควบคุมมลพิษอันเกิดจากการกำจัดขยะ ความคุ้มค่าเชิงเศรษฐศาสตร์ Curricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26598 SIU RS-T. รูปแบบการแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยจากการวางผังเมืองรวม กรณีศึกษาพื้นที่ ตำบลลำลูกกา อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี = Solid Waste Management of Provincial Urban Planning: Case Study of Lumlukka Subdistrict, Pathumthani Province [printed text] / สามารถ รักธรรม, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - vi, 19 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-12
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ขยะมูลฝอย -- การจัดการ -- ปทุมธานี
[LCSH]อุตสาหกรรม -- การกำจัดของเสียKeywords: ขยะมูลฝอย
ผังเมืองรวม
การจัดการขยะมูลฝอยAbstract: การศึกษาวิจัยนี้มุ่งเน้นที่การจัดการขยะมูลฝอยและกากของเสียอุตสาหกรรมในพื้นที่ตำบลลำลูกกา ซึ่งอยู่ในความดูแลของสองหน่วยงาน ได้แก่ เทศบาลตำบลลำลูกกา และองค์การบริหารส่วนตำบลลำลูกกา โดยเก็บข้อมูลจากหน่วยงานทั้งสอง และทำการสัมภาษณ์เชิงลึกเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง พบว่าการจัดการขยะในปัจจุบันเป็นการขนถ่ายขยะมูลฝอยทั้งหมด ไปกำจัดที่หลุมฝังกลบมูลฝอย อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งในอนาคตอันใกล้นี้ ปริมาณขยะที่จะเพิ่มขึ้นจากการขยายตัวของประชากร และการเติบโตของอุตสาหกรรม อาจเกินขีดจำกัดการขนถ่ายขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่น และหลุมฝังกลบมูลฝอยดังกล่าวอาจปฏิเสธการให้บริการกำจัดขยะมูลฝอยจากพื้นที่ตำบลลำลูกกา ดังนั้นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด ควรจะร่วมกันหาวิธีการแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยที่เพิ่มขึ้นในอนาคต โดยให้มีความเหมาะสมต่อสภาพพื้นที่ ประสิทธิภาพการกำจัดขยะ การควบคุมมลพิษอันเกิดจากการกำจัดขยะ ความคุ้มค่าเชิงเศรษฐศาสตร์ Curricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26598 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592418 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-12 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000592442 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-12 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU RS-T. ศึกษาการเลือกเทคโนโลยีที่เหมาะสม ในการจัดการขยะภายในบ่อฝังกลบขยะ เทศบาลเมืองกาญจนบุรี / เอื้ออาทร ม่วงศรี / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU RS-T Title : ศึกษาการเลือกเทคโนโลยีที่เหมาะสม ในการจัดการขยะภายในบ่อฝังกลบขยะ เทศบาลเมืองกาญจนบุรี Original title : Education, Appropriate Technologies, Waste Management of Municipal Landfill, Kanchanaburi Material Type: printed text Authors: เอื้ออาทร ม่วงศรี, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: vii, 49 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-05
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ขยะ -- การจัดการ -- แง่สิ่งแวดล้อม -- กาญจนบุรี
[LCSH]ขยะมูลฝอย -- การจัดการ -- กรณีศึกษาKeywords: มูลฝอย (ขยะ) Curricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26582 SIU RS-T. ศึกษาการเลือกเทคโนโลยีที่เหมาะสม ในการจัดการขยะภายในบ่อฝังกลบขยะ เทศบาลเมืองกาญจนบุรี = Education, Appropriate Technologies, Waste Management of Municipal Landfill, Kanchanaburi [printed text] / เอื้ออาทร ม่วงศรี, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - vii, 49 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-05
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ขยะ -- การจัดการ -- แง่สิ่งแวดล้อม -- กาญจนบุรี
[LCSH]ขยะมูลฝอย -- การจัดการ -- กรณีศึกษาKeywords: มูลฝอย (ขยะ) Curricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26582 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592285 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-05 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000592277 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-05 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan