From this page you can:
Home |
Author details
Author ณ นคร ปิยพร
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesSIU RS-T. การประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของกระบวนการผลิตวัสดุคอมโพสิทจากเส้นใยผักตบชวาและยางธรรมชาติ / ประยุทธ เกียรติการัณย์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU RS-T Title : การประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของกระบวนการผลิตวัสดุคอมโพสิทจากเส้นใยผักตบชวาและยางธรรมชาติ Original title : Carbon Footprint Assessment of Water Hyacinth - Natural Rubber Composite Material Production Material Type: printed text Authors: ประยุทธ เกียรติการัณย์, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 34 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-10
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ก๊าซเรือนกระจก -- การลดปริมาณ
[LCSH]คาร์บอนฟุตพริ้นท์Keywords: คาร์บอนฟุตพริ้นท์,
วัสดุคอมโพสิทจากใยผักตบชวาและยางธรรมชาติAbstract: การศึกษาวิจัยการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของกระบวนการผลิตวัสดุคอมโพสิทจากเส้นใยผักตบชวาและยางธรรมชาติ เป็นการส่งเสริมการผลิตวัสดุทดแทนที่ใช้วัตถุดิบที่มาจากธรรมชาติ เพื่อช่วยลดปัญหาการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการผลิต ซึ่งเป็นต้นเหตุของการเกิดปัญหาสภาวะโลกร้อน ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าปริมาณการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกเทียบเท่า ของวัสดุคอมโพสิตจากเส้นใยผักตบชวาและยางพารา จะมีค่าเท่ากับ 0.8729Kg CO2eq ต่อปริมาณผลิตภัณฑ์จำนวน 393 กรัมหรือเท่ากับ 2.2211Kg CO2eq ปริมาณผลิตภัณฑ์จำนวน 1000 กรัมทั้งนี้ยังพบว่า ปริมาณการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจะลดลง เมื่อมีการใช้เส้นใยผักตบชวาเป็นส่วนประกอบในการผลิตมากขึ้น นอกจากนี้ผลการศึกษาวิจัยยังพบว่าการใช้พลังงานในการบดใยผักตบชวา และการอบผลิตภัณฑ์ มีการปลดปล่อยปริมาณก๊าซเรือนกระจกมากกว่า 77% ดังนั้นการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตในขั้นตอนการบดใยผักตบชวาและขั้นตอนการอบผลิตภัณฑ์ จะสามารถลดปริมาณการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้น้อยลงได้
Curricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27181 SIU RS-T. การประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของกระบวนการผลิตวัสดุคอมโพสิทจากเส้นใยผักตบชวาและยางธรรมชาติ = Carbon Footprint Assessment of Water Hyacinth - Natural Rubber Composite Material Production [printed text] / ประยุทธ เกียรติการัณย์, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 34 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-10
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ก๊าซเรือนกระจก -- การลดปริมาณ
[LCSH]คาร์บอนฟุตพริ้นท์Keywords: คาร์บอนฟุตพริ้นท์,
วัสดุคอมโพสิทจากใยผักตบชวาและยางธรรมชาติAbstract: การศึกษาวิจัยการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของกระบวนการผลิตวัสดุคอมโพสิทจากเส้นใยผักตบชวาและยางธรรมชาติ เป็นการส่งเสริมการผลิตวัสดุทดแทนที่ใช้วัตถุดิบที่มาจากธรรมชาติ เพื่อช่วยลดปัญหาการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการผลิต ซึ่งเป็นต้นเหตุของการเกิดปัญหาสภาวะโลกร้อน ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าปริมาณการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกเทียบเท่า ของวัสดุคอมโพสิตจากเส้นใยผักตบชวาและยางพารา จะมีค่าเท่ากับ 0.8729Kg CO2eq ต่อปริมาณผลิตภัณฑ์จำนวน 393 กรัมหรือเท่ากับ 2.2211Kg CO2eq ปริมาณผลิตภัณฑ์จำนวน 1000 กรัมทั้งนี้ยังพบว่า ปริมาณการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจะลดลง เมื่อมีการใช้เส้นใยผักตบชวาเป็นส่วนประกอบในการผลิตมากขึ้น นอกจากนี้ผลการศึกษาวิจัยยังพบว่าการใช้พลังงานในการบดใยผักตบชวา และการอบผลิตภัณฑ์ มีการปลดปล่อยปริมาณก๊าซเรือนกระจกมากกว่า 77% ดังนั้นการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตในขั้นตอนการบดใยผักตบชวาและขั้นตอนการอบผลิตภัณฑ์ จะสามารถลดปริมาณการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้น้อยลงได้
Curricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27181 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594687 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-10 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000594695 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-10 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU RS-T. การวิเคราะห์ประสิทธิภาพและแนวทางการปรับปรุงโรงไฟฟ้าชีวมวล อำเภอเนินขาม จังหวัดชัยนาท / สมบัติ ช้างฉาว / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU RS-T Title : การวิเคราะห์ประสิทธิภาพและแนวทางการปรับปรุงโรงไฟฟ้าชีวมวล อำเภอเนินขาม จังหวัดชัยนาท Original title : Performance Analysis and Solutions to Improve the Power plant in Noen Kham District, Chainat Province Material Type: printed text Authors: สมบัติ ช้างฉาว, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: vii, 34 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-02
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พลังงานชีวมวล -- การผลิต
[LCSH]โรงไฟฟ้าชีวมวล
[LCSH]โรงไฟฟ้าชีวมวล -- ชัยนาท -- การพัฒนาKeywords: เตาชีวมวล
ก๊าซซิฟิเคชั่น
พลังงานทดแทน
พลังงานทางเลือกCurricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26572 SIU RS-T. การวิเคราะห์ประสิทธิภาพและแนวทางการปรับปรุงโรงไฟฟ้าชีวมวล อำเภอเนินขาม จังหวัดชัยนาท = Performance Analysis and Solutions to Improve the Power plant in Noen Kham District, Chainat Province [printed text] / สมบัติ ช้างฉาว, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - vii, 34 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-02
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พลังงานชีวมวล -- การผลิต
[LCSH]โรงไฟฟ้าชีวมวล
[LCSH]โรงไฟฟ้าชีวมวล -- ชัยนาท -- การพัฒนาKeywords: เตาชีวมวล
ก๊าซซิฟิเคชั่น
พลังงานทดแทน
พลังงานทางเลือกCurricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26572 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592228 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-02 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000592210 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-02 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU RS-T. การศึกษาการปนเปื้อนของกัมมันตธาตุซีเซียม-134 ,ซีเซียม-137 และไอโอดีน ในนมวัว เนื่องมาจากอุบัติเหตุของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุคุชิมะ ไดอิชิ / อัญชลี ฉั่วประดิษฐ์ภัณฑ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU RS-T Title : การศึกษาการปนเปื้อนของกัมมันตธาตุซีเซียม-134 ,ซีเซียม-137 และไอโอดีน ในนมวัว เนื่องมาจากอุบัติเหตุของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุคุชิมะ ไดอิชิ Original title : Contamination of Cs-134, Cs.-137 in Milk from Fukushima Diichi Material Type: printed text Authors: อัญชลี ฉั่วประดิษฐ์ภัณฑ์, Author ; วุฑฒิ พันธุมนาวิน, Associated Name ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: vii, 51 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-04
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]นมวัว -- การปนเปื้อน
[LCSH]โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ -- แง่สิ่งแวดล้อมKeywords: โรงไฟฟ้านิวเคลียร์
ไอโซโทปกัมมันตธาตุ ซีเซียม -134, 137 และไอโอดีน-131
การระเบิดของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ฟุคุชิมะ ไดอิชิ
การลดการเปื้อนในดิน, นมวัวAbstract: ในการศึกษาวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาการปนเปื้อนกัมมันตธาตุซีเซียม-134, ซีเซียม-137 และไอโอดีน ในนมวัว เนื่องมาจากอุบัติเหตุของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ฟุคุชิมะ ไดอิชิ ซึ่งเหตุการณ์เกิดขึ้นตั้งแต่เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2554 จากการศึกษาผลกระทบของกัมมันตภาพรังสีหลังโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เกิดระเบิด ต่อการผลิตนมวัวและน้ำประปา โดยเฉพาะ ไอโอดีน-131 ละลายน้ำได้แต่อายุครึ่งซีวิตสั้น เพียง 8 วัน จึงมีส่งผลกระทบระยะยาว ส่วนกัมมันตธาตุซีเซียม-134 และ ซีเซียม-137 ยังมีผลกระทบต่อผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร จึงทำการศึกษาเรื่องการลดการปนเปื้อนจากดิน และสิ่งแวดล้อม เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดผลกระทบต่อนมวัว Curricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26548 SIU RS-T. การศึกษาการปนเปื้อนของกัมมันตธาตุซีเซียม-134 ,ซีเซียม-137 และไอโอดีน ในนมวัว เนื่องมาจากอุบัติเหตุของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุคุชิมะ ไดอิชิ = Contamination of Cs-134, Cs.-137 in Milk from Fukushima Diichi [printed text] / อัญชลี ฉั่วประดิษฐ์ภัณฑ์, Author ; วุฑฒิ พันธุมนาวิน, Associated Name ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - vii, 51 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-04
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]นมวัว -- การปนเปื้อน
[LCSH]โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ -- แง่สิ่งแวดล้อมKeywords: โรงไฟฟ้านิวเคลียร์
ไอโซโทปกัมมันตธาตุ ซีเซียม -134, 137 และไอโอดีน-131
การระเบิดของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ฟุคุชิมะ ไดอิชิ
การลดการเปื้อนในดิน, นมวัวAbstract: ในการศึกษาวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาการปนเปื้อนกัมมันตธาตุซีเซียม-134, ซีเซียม-137 และไอโอดีน ในนมวัว เนื่องมาจากอุบัติเหตุของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ฟุคุชิมะ ไดอิชิ ซึ่งเหตุการณ์เกิดขึ้นตั้งแต่เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2554 จากการศึกษาผลกระทบของกัมมันตภาพรังสีหลังโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เกิดระเบิด ต่อการผลิตนมวัวและน้ำประปา โดยเฉพาะ ไอโอดีน-131 ละลายน้ำได้แต่อายุครึ่งซีวิตสั้น เพียง 8 วัน จึงมีส่งผลกระทบระยะยาว ส่วนกัมมันตธาตุซีเซียม-134 และ ซีเซียม-137 ยังมีผลกระทบต่อผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร จึงทำการศึกษาเรื่องการลดการปนเปื้อนจากดิน และสิ่งแวดล้อม เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดผลกระทบต่อนมวัว Curricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26548 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591915 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-04 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000591949 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-04 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU RS-T. การศึกษาการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของกระบวนการผลิตสบู่แฮนด์เมด / ชวิน ครองสิริวัฒน์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU RS-T Title : การศึกษาการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของกระบวนการผลิตสบู่แฮนด์เมด Original title : Carbon Footprint Assessment of Handmade Soap Production Material Type: printed text Authors: ชวิน ครองสิริวัฒน์, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: vii, 33 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-10
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ก๊าซเรือนกระจก -- การลดปริมาณ
[LCSH]คาร์บอนฟุตพริ้นท์ -- การลดปริมาณ
[LCSH]สบู่ -- การผลิตKeywords: คาร์บอนฟุตพริ้นท์,
สบู่ สบู่แฮนด์เมด,
การผลิตสบู่ในครัวเรือนAbstract: เนื่องจากก๊าซเรือนกระจกถือเป็นสาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อนที่มีผลมาจากการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์เป็นส่วนใหญ่ ทั้งนี้การอุปโภคบริโภคเป็นส่วนหนึ่งที่ผลักดันการผลิตที่ก่อให้เกิดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่มีผลต่อการเกิดภาวะโลกร้อน ยกตัวอย่างการใช้สบู่เพื่อชำระล้างร้างกายก็สามารถก่อเกิดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ ทว่าปัจจุบันมีการส่งเสริมให้ลดปริมาณการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกลง โดยหนึ่งในกระบวนการนั้นคือการศึกษาค่าคาร์บอนฟูตพริ้นท์เพื่อหาปริมาณคาร์บอนที่ถูกปล่อยออกมาจากกระบวนการผลิตเชิงอุตสาหกรรม จึงนำมาซึ่งการศึกษาการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของกระบวนการผลิตสบู่แฮนด์เมดที่ผู้ผลิตสามารถผลิตใช้ได้เองในครัวเรือน อีกทั้งเมื่อทราบถึงอัตราส่นของจำนวนคาร์บอนไดออกไซด์ที่ถูกปล่อยออกมาแล้ว จะทำให้ทราบว่า ในกระบวนการผลิต ผู้ผลิตสามารถปรับเปลี่ยนวัตถุดิบใดได้บ้างเพื่อให้ผลิตของการปล่อยจำนวนคาร์บอนนั้นลดน้อยลงได้ ถือเป็นการปรับปรุงคุณภาพการผลิตเชิงอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม Curricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26429 SIU RS-T. การศึกษาการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของกระบวนการผลิตสบู่แฮนด์เมด = Carbon Footprint Assessment of Handmade Soap Production [printed text] / ชวิน ครองสิริวัฒน์, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - vii, 33 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-10
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ก๊าซเรือนกระจก -- การลดปริมาณ
[LCSH]คาร์บอนฟุตพริ้นท์ -- การลดปริมาณ
[LCSH]สบู่ -- การผลิตKeywords: คาร์บอนฟุตพริ้นท์,
สบู่ สบู่แฮนด์เมด,
การผลิตสบู่ในครัวเรือนAbstract: เนื่องจากก๊าซเรือนกระจกถือเป็นสาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อนที่มีผลมาจากการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์เป็นส่วนใหญ่ ทั้งนี้การอุปโภคบริโภคเป็นส่วนหนึ่งที่ผลักดันการผลิตที่ก่อให้เกิดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่มีผลต่อการเกิดภาวะโลกร้อน ยกตัวอย่างการใช้สบู่เพื่อชำระล้างร้างกายก็สามารถก่อเกิดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ ทว่าปัจจุบันมีการส่งเสริมให้ลดปริมาณการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกลง โดยหนึ่งในกระบวนการนั้นคือการศึกษาค่าคาร์บอนฟูตพริ้นท์เพื่อหาปริมาณคาร์บอนที่ถูกปล่อยออกมาจากกระบวนการผลิตเชิงอุตสาหกรรม จึงนำมาซึ่งการศึกษาการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของกระบวนการผลิตสบู่แฮนด์เมดที่ผู้ผลิตสามารถผลิตใช้ได้เองในครัวเรือน อีกทั้งเมื่อทราบถึงอัตราส่นของจำนวนคาร์บอนไดออกไซด์ที่ถูกปล่อยออกมาแล้ว จะทำให้ทราบว่า ในกระบวนการผลิต ผู้ผลิตสามารถปรับเปลี่ยนวัตถุดิบใดได้บ้างเพื่อให้ผลิตของการปล่อยจำนวนคาร์บอนนั้นลดน้อยลงได้ ถือเป็นการปรับปรุงคุณภาพการผลิตเชิงอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม Curricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26429 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591378 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-10 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000591402 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-10 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU RS-T. การศึกษาความเป็นไปได้ทางการเงินและการจัดการ แผงโซล่าเซลล์หลังหมดอายุการใช้งาน กรณีศึกษาโครงการหมู่บ้านจัดสรรเสนาพาร์คแกรนด์ รามอินทรา / สุริยาวุธ กิตติภูวดล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU RS-T Title : การศึกษาความเป็นไปได้ทางการเงินและการจัดการ แผงโซล่าเซลล์หลังหมดอายุการใช้งาน กรณีศึกษาโครงการหมู่บ้านจัดสรรเสนาพาร์คแกรนด์ รามอินทรา Original title : Solar PV Rooftop Financial Feasibility and End-of-Life Management: A Case Study of Sena Park Grand Ramindhra Housing Project Material Type: printed text Authors: สุริยาวุธ กิตติภูวดล, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 69 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-05
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พลังงานทดแทน
[LCSH]พลังงานแสงอาทิตย์Keywords: Solar Rooftop,
การจัดการแผงโซล่าเซลหลังหมดอายุการใช้งานAbstract: การศึกษาความเป็นไปได้ทางการเงินและการจัดการแผงโซล่าเซลหลังหมดอายุการใช้งานกรณีศึกษาโครงการหมู่บ้านจัดสรรเสนา พาร์ค แกรนด์ รามอินทรา เพื่อเป็นการแก้ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและพลังงานทดแทน วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้เพื่อศึกษาสภาพทั่วไปของการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา (Solar PV Rooftop) และเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ทางการเงินของโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา (Solar PV Rooftop) ณ พื้นที่โครงการหมู่บ้านจัดสรรเสนา พาร์ค แกรนด์ รามอินทรา แขวงคันนายาว เขตคันนายาว จังหวัดกรุงเทพมหานคร การศึกษาใช้ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) ซึ่งเป็นข้อมูลจากการสอบถามบุคลากรของการไฟฟ้านครหลวง และการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อมูลจากบริษัทเอกชน และข้อมูลจากคณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยศิลปากร ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) รวบรวมจากบทความ เอกสารวิชาการ รายงานประจำปี วารสาร และเว็บไซต์ของหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง การวิเคราะห์เป็นการวิเคราะห์เชิงพรรณนาและเชิงปริมาณ และวิธีการที่จะกำจัดแผงโซล่าเซล ในกรณีระยะเวลาของโครงการ 25 ปี โดยสามารถผลิตไฟฟ้าได้ 25 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557 ถึง พ.ศ. 2581 ผลการศึกษาพบว่า โครงการคุ้มค่าน่าลงทุน ณ ระดับอัตราคิดลดร้อยละ 9.303 มูลค่าปัจจุบันสุทธิ 260,637.15 บาท อัตราผลตอบแทนภายในของโครงการเท่ากับร้อยละ 13.93 ต่อปีอัตราผลตอบแทนภายในของโครงการที่มีการปรับแล้วเท่ากับร้อยละ 10.69 ต่อปี อัตราส่วนผลประโยชน์ต่อต้นทุนเท่ากับ 1.25 อัตราส่วนระหว่างผลตอบแทนสุทธิต่อการลงทุนเท่ากับ 1.37 มีระยะเวลาคืนทุนของโครงการเท่ากับ 7 ปี ส่วนการทดสอบค่าความแปรเปลี่ยนของการลงทุนพบว่า
ผลตอบแทนของโครงการสามารถลดลงได้มากที่สุดร้อยละ 20.16 ต้นทุนเงินรวมสามารถเพิ่มขึ้นได้มากที่สุดร้อยละ 25.25 ต้นทุนการลงทุนของโครงการสามารถเพิ่มขึ้นได้มากที่สุด ร้อยละ 36.95 ต้นทุนการดำเนินงานของโครงการสามารถเพิ่มขึ้นได้มากที่สุดร้อยละ 79.76 แสดงให้เห็นว่าโครงการมีความเป็นไปได้ในการลงทุน ภายใต้ปัจจัยเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นCurricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27186 SIU RS-T. การศึกษาความเป็นไปได้ทางการเงินและการจัดการ แผงโซล่าเซลล์หลังหมดอายุการใช้งาน กรณีศึกษาโครงการหมู่บ้านจัดสรรเสนาพาร์คแกรนด์ รามอินทรา = Solar PV Rooftop Financial Feasibility and End-of-Life Management: A Case Study of Sena Park Grand Ramindhra Housing Project [printed text] / สุริยาวุธ กิตติภูวดล, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 69 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-05
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พลังงานทดแทน
[LCSH]พลังงานแสงอาทิตย์Keywords: Solar Rooftop,
การจัดการแผงโซล่าเซลหลังหมดอายุการใช้งานAbstract: การศึกษาความเป็นไปได้ทางการเงินและการจัดการแผงโซล่าเซลหลังหมดอายุการใช้งานกรณีศึกษาโครงการหมู่บ้านจัดสรรเสนา พาร์ค แกรนด์ รามอินทรา เพื่อเป็นการแก้ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและพลังงานทดแทน วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้เพื่อศึกษาสภาพทั่วไปของการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา (Solar PV Rooftop) และเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ทางการเงินของโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา (Solar PV Rooftop) ณ พื้นที่โครงการหมู่บ้านจัดสรรเสนา พาร์ค แกรนด์ รามอินทรา แขวงคันนายาว เขตคันนายาว จังหวัดกรุงเทพมหานคร การศึกษาใช้ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) ซึ่งเป็นข้อมูลจากการสอบถามบุคลากรของการไฟฟ้านครหลวง และการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อมูลจากบริษัทเอกชน และข้อมูลจากคณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยศิลปากร ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) รวบรวมจากบทความ เอกสารวิชาการ รายงานประจำปี วารสาร และเว็บไซต์ของหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง การวิเคราะห์เป็นการวิเคราะห์เชิงพรรณนาและเชิงปริมาณ และวิธีการที่จะกำจัดแผงโซล่าเซล ในกรณีระยะเวลาของโครงการ 25 ปี โดยสามารถผลิตไฟฟ้าได้ 25 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557 ถึง พ.ศ. 2581 ผลการศึกษาพบว่า โครงการคุ้มค่าน่าลงทุน ณ ระดับอัตราคิดลดร้อยละ 9.303 มูลค่าปัจจุบันสุทธิ 260,637.15 บาท อัตราผลตอบแทนภายในของโครงการเท่ากับร้อยละ 13.93 ต่อปีอัตราผลตอบแทนภายในของโครงการที่มีการปรับแล้วเท่ากับร้อยละ 10.69 ต่อปี อัตราส่วนผลประโยชน์ต่อต้นทุนเท่ากับ 1.25 อัตราส่วนระหว่างผลตอบแทนสุทธิต่อการลงทุนเท่ากับ 1.37 มีระยะเวลาคืนทุนของโครงการเท่ากับ 7 ปี ส่วนการทดสอบค่าความแปรเปลี่ยนของการลงทุนพบว่า
ผลตอบแทนของโครงการสามารถลดลงได้มากที่สุดร้อยละ 20.16 ต้นทุนเงินรวมสามารถเพิ่มขึ้นได้มากที่สุดร้อยละ 25.25 ต้นทุนการลงทุนของโครงการสามารถเพิ่มขึ้นได้มากที่สุด ร้อยละ 36.95 ต้นทุนการดำเนินงานของโครงการสามารถเพิ่มขึ้นได้มากที่สุดร้อยละ 79.76 แสดงให้เห็นว่าโครงการมีความเป็นไปได้ในการลงทุน ภายใต้ปัจจัยเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นCurricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27186 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594786 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-05 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000594448 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-05 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU RS-T. การศึกษาความเหมาะสมของดินที่มีผลต่อการปลูกไม้ยูคาลิปตัส ระหว่างตำบลสุขเดือนห้า อำเภอเนินขาม กับตำบลหนองแซง อำเภอหันคา จังหวัดชัยนาท / รุ่งนภา ศิรินอก / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU RS-T Title : การศึกษาความเหมาะสมของดินที่มีผลต่อการปลูกไม้ยูคาลิปตัส ระหว่างตำบลสุขเดือนห้า อำเภอเนินขาม กับตำบลหนองแซง อำเภอหันคา จังหวัดชัยนาท Original title : A Study of the Characteristics of the Soil Affecting to the Eucalyptus Grown in the Forest Plantation between Noenkham District and Hunkha District of the Chainat Province Material Type: printed text Authors: รุ่งนภา ศิรินอก, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: vii, 66 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-04
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ดิน -- การวิเคราะห์
[LCSH]ยูคาลิปตัส -- การปลูก -- ชัยนาท
[LCSH]ยูคาลิปตัส -- การเจริญเติบโตKeywords: ป่ายูคาลิปตัส Curricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26576 SIU RS-T. การศึกษาความเหมาะสมของดินที่มีผลต่อการปลูกไม้ยูคาลิปตัส ระหว่างตำบลสุขเดือนห้า อำเภอเนินขาม กับตำบลหนองแซง อำเภอหันคา จังหวัดชัยนาท = A Study of the Characteristics of the Soil Affecting to the Eucalyptus Grown in the Forest Plantation between Noenkham District and Hunkha District of the Chainat Province [printed text] / รุ่งนภา ศิรินอก, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - vii, 66 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-04
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ดิน -- การวิเคราะห์
[LCSH]ยูคาลิปตัส -- การปลูก -- ชัยนาท
[LCSH]ยูคาลิปตัส -- การเจริญเติบโตKeywords: ป่ายูคาลิปตัส Curricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26576 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592236 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-04 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000592251 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-04 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU RS-T. การศึกษาจำแนกชนิดและปริมาณของขยะทะเลบริเวณชายหาด / ไพรัตน์ สุทธิพล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU RS-T Title : การศึกษาจำแนกชนิดและปริมาณของขยะทะเลบริเวณชายหาด Original title : Composition and Abundance of Marine Debris on Beaches of Thailand Material Type: printed text Authors: ไพรัตน์ สุทธิพล, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: vi, 59 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-07
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ขยะในทะเล
[LCSH]ทะเล -- ไทย -- การจัดการ
[LCSH]สิ่งแวดล้อม -- การจัดการKeywords: ขยะทะเล
การจัดการขยะAbstract: ขยะทะเลจำนวน 175,640 ชิ้น ถูกเก็บและบันทึกข้อมูลภายใต้กิจกรรมเก็บขยะสากล ตลอดความยาวชายหาด 38.8 กิโลเมตรทั่วประเทศไทยระหว่างปี 2552 – 2554 ข้อมูลขยะทะเลจากกิจกรรมเก็บขยะ ชี้ให้เห็นว่าขยะทะเลที่พบมากที่สุด 5 อันดับแรกคือ เชือก ฝา/จุก ถุงพลาสติก กระดาษ/หนังสือพิมพ์/ใบปลิว และถ้วย/จาน/ช้อน/ส้อม/มีด ตามลำดับ ขยะทะเลประเภทวัสดุ พลาสติก มีสัดส่วนมากที่สุดถึง 56% และขยะทะเลมีแหล่งกำเนิดจาก กิจกรรมชายฝั่งและการพักผ่อน มีสัดส่วนถึง 55% มากที่สุดเมื่อเทียบกับกิจกรรมด้านอื่นๆ กฎหมายสำคัญที่เกี่ยวข้องกับขยะทะเลของประเทศไทยคือ พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 และแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2550 – 2554 กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งเป็นหน่วยงานหลักประสานงานจัดทำฐานข้อมูล ขยะทะเลของไทย ในปัจจุบันหน่วยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์กรระหว่างประเทศ ในปัจจุบันยังไม่มีการประสานงานและส่งต่อข้อมูลขยะทะเลให้แก่กัน
เสนอแนะให้ดำเนินการจัดทำแผนงานการประเมินขยะทะเล โดยเร่งด่วน ควบคู่ไปกับโครงการ ระยะยาวด้านการพัฒนาระบบการจัดการขยะ และปรับปรุงกฎหมาย โดยให้จัดลำดับความสำคัญให้การลดขยะพลาสติกและโพลีสไตรีนไว้เป็นลำดับแรกที่มีความสำคัญสูง แนวทางการจัดทำแผนงานการประเมินขยะทะเล สำหรับประเทศไทยถูกเสนอแนะไว้ในการศึกษานี้ มีความจำเป็นที่จะต้องนำแนวคิดการแก้ไขปัญหาแบบองค์รวมและการแก้ไขปัญหาทั้งระบบมาปฏิบัติใช้ไปด้วยกันCurricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26227 SIU RS-T. การศึกษาจำแนกชนิดและปริมาณของขยะทะเลบริเวณชายหาด = Composition and Abundance of Marine Debris on Beaches of Thailand [printed text] / ไพรัตน์ สุทธิพล, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - vi, 59 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-07
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ขยะในทะเล
[LCSH]ทะเล -- ไทย -- การจัดการ
[LCSH]สิ่งแวดล้อม -- การจัดการKeywords: ขยะทะเล
การจัดการขยะAbstract: ขยะทะเลจำนวน 175,640 ชิ้น ถูกเก็บและบันทึกข้อมูลภายใต้กิจกรรมเก็บขยะสากล ตลอดความยาวชายหาด 38.8 กิโลเมตรทั่วประเทศไทยระหว่างปี 2552 – 2554 ข้อมูลขยะทะเลจากกิจกรรมเก็บขยะ ชี้ให้เห็นว่าขยะทะเลที่พบมากที่สุด 5 อันดับแรกคือ เชือก ฝา/จุก ถุงพลาสติก กระดาษ/หนังสือพิมพ์/ใบปลิว และถ้วย/จาน/ช้อน/ส้อม/มีด ตามลำดับ ขยะทะเลประเภทวัสดุ พลาสติก มีสัดส่วนมากที่สุดถึง 56% และขยะทะเลมีแหล่งกำเนิดจาก กิจกรรมชายฝั่งและการพักผ่อน มีสัดส่วนถึง 55% มากที่สุดเมื่อเทียบกับกิจกรรมด้านอื่นๆ กฎหมายสำคัญที่เกี่ยวข้องกับขยะทะเลของประเทศไทยคือ พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 และแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2550 – 2554 กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งเป็นหน่วยงานหลักประสานงานจัดทำฐานข้อมูล ขยะทะเลของไทย ในปัจจุบันหน่วยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์กรระหว่างประเทศ ในปัจจุบันยังไม่มีการประสานงานและส่งต่อข้อมูลขยะทะเลให้แก่กัน
เสนอแนะให้ดำเนินการจัดทำแผนงานการประเมินขยะทะเล โดยเร่งด่วน ควบคู่ไปกับโครงการ ระยะยาวด้านการพัฒนาระบบการจัดการขยะ และปรับปรุงกฎหมาย โดยให้จัดลำดับความสำคัญให้การลดขยะพลาสติกและโพลีสไตรีนไว้เป็นลำดับแรกที่มีความสำคัญสูง แนวทางการจัดทำแผนงานการประเมินขยะทะเล สำหรับประเทศไทยถูกเสนอแนะไว้ในการศึกษานี้ มีความจำเป็นที่จะต้องนำแนวคิดการแก้ไขปัญหาแบบองค์รวมและการแก้ไขปัญหาทั้งระบบมาปฏิบัติใช้ไปด้วยกันCurricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26227 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591006 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-07 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000590974 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-07 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU RS-T. การศึกษาทดสอบการฉีดน้ำเข้าไปในห้องเผาไหม้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของแก๊สเชื้อเพลิง / สุพรัตน์ มาลาม / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU RS-T Title : การศึกษาทดสอบการฉีดน้ำเข้าไปในห้องเผาไหม้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของแก๊สเชื้อเพลิง Original title : Effect of Water Injection in the Combustion Chamber on the Performance of Gasifier Material Type: printed text Authors: สุพรัตน์ มาลาม, Author ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 34 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-01
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กระแสไฟฟ้า -- การผลิต
[LCSH]ก๊าซชีวมวล -- การผลิตKeywords: แก๊สซิฟิเคชั่นแบบไหลลง,
ชีวมวลเพื่อการผลิตกระแสไฟฟ้า,
โปรดิวแก๊ส,
การศึกษาความเป็นไปได้ในการฉีดน้ำในห้องเผาไหม้ของเตาAbstract: รายงานฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาความเป็นไปได้ในการฉีดน้ำเข้าไปในห้องเผาไหม้ของเครื่องผลิตก๊าซชีวมวล (Gasifier) จากเศษไม้ยูคาลิปตัส ก๊าซชีวมวล (Producer Gas) ที่ได้จะเป็นเชื้อเพลิงแก่เครื่องยนต์สันดาปภายในเพื่อผลิตไฟฟ้าอีกต่อหนึ่ง โรงไฟฟ้าชีวมวลนี้ใช้ระบบแก๊สซิฟิเคชั่นแบบไหลลง (Downdraft Gasification) ขนาด 850 kWh ในอำเภอหันคา จังหวัดชัยนาท
การประเมินความเป็นไปได้ของโครงการศึกษาเกี่ยวกับ
1)สภาพและศักยภาพของการได้มาของแกสไฮโดรเจนจากการแตกตัวของน้ำ
2)ศึกษาความเป็นไปได้ด้านเทคนิคของโครงการ
3)ศึกษาอัตราส่วนที่สามารถฉีดปริมาณน้ำเข้าไปในห้องเผาไหม้ของเตา พบว่าปริมาณของน้ำที่ฉีดเข้าไปไม่มีผลต่อปริมาณกำลังไฟฟ้าที่ผลิตได้สามารถสรุปผลการดำเนินงานคืออาจต้องเพิ่มปริมาณน้ำที่ฉีดมากขึ้น ให้ถึงประมาณ10%
สำหรับการดำเนินโครงการโรงไฟฟ้าชีวมวลทั่วไป สิ่งหนึ่งที่สำคัญคือต้องได้รับการบริหารจัดการเรื่องเชื้อเพลิงชีวมวลที่ดี ทั้งในแง่ของปริมาณชีวมวลที่ต้องมีอยู่อย่างต่อเนื่อง ราคาชีวมวลและแหล่งรับซื้อที่สามารถบริหารจัดการได้ รวมไปถึงคุณภาพของชีวมวลที่จะนำมาใช้ในการดำเนินการ จะต้องควบคุมขนาดของชีวมวลและความชื้นที่เหมาะสมกับคุณลักษณะของเตาปฏิกรณ์ของโครงการ เพื่อให้โครงการสามารถควบคุมประสิทธิภาพของโปรดิวแก๊สอย่างเป็นระบบมากขึ้น ซึ่งจะมีผลต่อผลประกอบการของโครงการตลอดไปCurricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26641 SIU RS-T. การศึกษาทดสอบการฉีดน้ำเข้าไปในห้องเผาไหม้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของแก๊สเชื้อเพลิง = Effect of Water Injection in the Combustion Chamber on the Performance of Gasifier [printed text] / สุพรัตน์ มาลาม, Author ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 34 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-01
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กระแสไฟฟ้า -- การผลิต
[LCSH]ก๊าซชีวมวล -- การผลิตKeywords: แก๊สซิฟิเคชั่นแบบไหลลง,
ชีวมวลเพื่อการผลิตกระแสไฟฟ้า,
โปรดิวแก๊ส,
การศึกษาความเป็นไปได้ในการฉีดน้ำในห้องเผาไหม้ของเตาAbstract: รายงานฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาความเป็นไปได้ในการฉีดน้ำเข้าไปในห้องเผาไหม้ของเครื่องผลิตก๊าซชีวมวล (Gasifier) จากเศษไม้ยูคาลิปตัส ก๊าซชีวมวล (Producer Gas) ที่ได้จะเป็นเชื้อเพลิงแก่เครื่องยนต์สันดาปภายในเพื่อผลิตไฟฟ้าอีกต่อหนึ่ง โรงไฟฟ้าชีวมวลนี้ใช้ระบบแก๊สซิฟิเคชั่นแบบไหลลง (Downdraft Gasification) ขนาด 850 kWh ในอำเภอหันคา จังหวัดชัยนาท
การประเมินความเป็นไปได้ของโครงการศึกษาเกี่ยวกับ
1)สภาพและศักยภาพของการได้มาของแกสไฮโดรเจนจากการแตกตัวของน้ำ
2)ศึกษาความเป็นไปได้ด้านเทคนิคของโครงการ
3)ศึกษาอัตราส่วนที่สามารถฉีดปริมาณน้ำเข้าไปในห้องเผาไหม้ของเตา พบว่าปริมาณของน้ำที่ฉีดเข้าไปไม่มีผลต่อปริมาณกำลังไฟฟ้าที่ผลิตได้สามารถสรุปผลการดำเนินงานคืออาจต้องเพิ่มปริมาณน้ำที่ฉีดมากขึ้น ให้ถึงประมาณ10%
สำหรับการดำเนินโครงการโรงไฟฟ้าชีวมวลทั่วไป สิ่งหนึ่งที่สำคัญคือต้องได้รับการบริหารจัดการเรื่องเชื้อเพลิงชีวมวลที่ดี ทั้งในแง่ของปริมาณชีวมวลที่ต้องมีอยู่อย่างต่อเนื่อง ราคาชีวมวลและแหล่งรับซื้อที่สามารถบริหารจัดการได้ รวมไปถึงคุณภาพของชีวมวลที่จะนำมาใช้ในการดำเนินการ จะต้องควบคุมขนาดของชีวมวลและความชื้นที่เหมาะสมกับคุณลักษณะของเตาปฏิกรณ์ของโครงการ เพื่อให้โครงการสามารถควบคุมประสิทธิภาพของโปรดิวแก๊สอย่างเป็นระบบมากขึ้น ซึ่งจะมีผลต่อผลประกอบการของโครงการตลอดไปCurricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26641 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592962 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-01 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000592954 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-01 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU RS-T. การศึกษาผลตอบแทนการลงทุนโรงไฟฟ้าชีวมวลแก๊ซซิฟิเคชั่นแบบไหลลงขนาด 50 850 kW โดยใช้ไม้ยูคาลิปตัสเพื่อนำไปผลิตกระแสไฟฟ้า / จิราภรณ์ ขจรวงศ์ไพศาล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU RS-T Title : การศึกษาผลตอบแทนการลงทุนโรงไฟฟ้าชีวมวลแก๊ซซิฟิเคชั่นแบบไหลลงขนาด 50 850 kW โดยใช้ไม้ยูคาลิปตัสเพื่อนำไปผลิตกระแสไฟฟ้า Original title : The Investment Evaluation Study of Biomass Power Plant with Downdraft Gasification 850 kW from Eucalyptus Wood Chip Material Type: printed text Authors: จิราภรณ์ ขจรวงศ์ไพศาล, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: xii, 139 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-01
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กระแสไฟฟ้า -- การผลิต
[LCSH]กระแสไฟฟ้า -- การผลิต -- แง่เศรษฐกิจ
[LCSH]โรงไฟฟ้าชีวมวล -- ชัยนาท -- การพัฒนาKeywords: เทคโนโลยีแก๊ซซิฟิเคชั่น
แก๊ซซิฟายเออร์แบบไหลลง
ชีวมวล
โปรดิวเซอร์แก๊ซ
การประเมินโครงการ
การประเมินระหว่างดำเนินโครงการ
ผู้ผลิตไฟฟ้าขนาดเล็กมาก (VSPP)Curricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26569 SIU RS-T. การศึกษาผลตอบแทนการลงทุนโรงไฟฟ้าชีวมวลแก๊ซซิฟิเคชั่นแบบไหลลงขนาด 50 850 kW โดยใช้ไม้ยูคาลิปตัสเพื่อนำไปผลิตกระแสไฟฟ้า = The Investment Evaluation Study of Biomass Power Plant with Downdraft Gasification 850 kW from Eucalyptus Wood Chip [printed text] / จิราภรณ์ ขจรวงศ์ไพศาล, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - xii, 139 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-01
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2016.
Languages : Thai (tha)Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592202 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-01 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000592194 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-01 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU RS-T. การศึกษาพฤติกรรมประหยัดพลังงานไฟฟ้าเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของพนักงานบริษัทโตชิบา คอนซูมเมอร์ โปรดัคส์ (ประเทศไทย) จำกัด / ขนิษฐา สุขสวัสดิ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU RS-T Title : การศึกษาพฤติกรรมประหยัดพลังงานไฟฟ้าเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของพนักงานบริษัทโตชิบา คอนซูมเมอร์ โปรดัคส์ (ประเทศไทย) จำกัด Original title : Energy Saving Behavior of Employees for CO2 Emission Reduction: Case Study of Toshiba Consumer Product (Thailand) Co., Ltd. Material Type: printed text Authors: ขนิษฐา สุขสวัสดิ์, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: ix, 99 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-06
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ก๊าซเรือนกระจก -- การลดปริมาณ
[LCSH]พลังงาน -- การจัดการKeywords: การประหยัดพลังงานไฟฟ้า,
พฤติกรรมการประหยัดพลังงาน,
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกAbstract: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมข้อมูลและศึกษาแนวทางการเก็บรวบรวมข้อมูลกิจกรรมที่เป็นสาเหตุของการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (GHGs emission) ในโรงงานอุตสาหกรรมและเพื่อทำให้ทราบถึงความรู้ความเข้าใจและพฤติกรรมการประหยัดพลังงานไฟฟ้าเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการใช้พลังงานไฟฟ้าของพนักงานในบริษัทโตชิบา คอนซูมเมอร์ โปรดัคส์ (ประเทศไทย) จำกัด Curricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26226 SIU RS-T. การศึกษาพฤติกรรมประหยัดพลังงานไฟฟ้าเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของพนักงานบริษัทโตชิบา คอนซูมเมอร์ โปรดัคส์ (ประเทศไทย) จำกัด = Energy Saving Behavior of Employees for CO2 Emission Reduction: Case Study of Toshiba Consumer Product (Thailand) Co., Ltd. [printed text] / ขนิษฐา สุขสวัสดิ์, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - ix, 99 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-06
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ก๊าซเรือนกระจก -- การลดปริมาณ
[LCSH]พลังงาน -- การจัดการKeywords: การประหยัดพลังงานไฟฟ้า,
พฤติกรรมการประหยัดพลังงาน,
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกAbstract: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมข้อมูลและศึกษาแนวทางการเก็บรวบรวมข้อมูลกิจกรรมที่เป็นสาเหตุของการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (GHGs emission) ในโรงงานอุตสาหกรรมและเพื่อทำให้ทราบถึงความรู้ความเข้าใจและพฤติกรรมการประหยัดพลังงานไฟฟ้าเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการใช้พลังงานไฟฟ้าของพนักงานในบริษัทโตชิบา คอนซูมเมอร์ โปรดัคส์ (ประเทศไทย) จำกัด Curricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26226 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000590958 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-06 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000590982 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-06 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan Readers who borrowed this document also borrowed:
Human resource management Mathis,, Robert L. (1944-) SIU RS-T. การศึกษาวิจัยความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ระหว่างรถพลังงานเซลล์เชื้อเพลิง (HFC) กับรถแบตเตอรี่ไฟฟ้า (PEV) / วรวิทย์ บุญวงศ์โสภณ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU RS-T Title : การศึกษาวิจัยความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ระหว่างรถพลังงานเซลล์เชื้อเพลิง (HFC) กับรถแบตเตอรี่ไฟฟ้า (PEV) Original title : (Research Study of the progressive Technology between Hydrogen Fuel Cell (HFC) and Plug in Electric vehicle (PEV)) Material Type: printed text Authors: วรวิทย์ บุญวงศ์โสภณ, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: 50 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-03
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พลังงาน -- แง่สิ่งแวดล้อม
[LCSH]รถยนต์ -- การผลิต
[LCSH]รถยนต์ -- นวัตกรรมทางเทคโนโลยีKeywords: โตโยต้า มิไรอิ,
เทสล่า โมเดล เอส
เซลล์เชื้อเพลิงไฮโดรเจน,
รถไฟฟ้าแบบปลั๊กอิน,
การปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์Abstract: นับตั้งแต่มีการประดิษฐ์รถยนต์ขึ้นมาใช้คันแรกในปี 1886 รถยนต์นับเป็นปัจจัยสำคัญอีกปัจจัยหนึ่งในปัจจุบันและยังคงมีความสำคัญต่ออนาคต มีการคิดค้นวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ ๆ เพื่อให้รถยนต์มีประสิทธิภาพมากขึ้น มีการพัฒนาเพื่อให้มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยลง รวมทั้งลดต้นทุนการผลิต จึงเป็นวัตถุประสงค์หลักของบริษัทผู้ผลิตรถยนต์และบริษัทที่ทำธุรกิจเกี่ยวกับยานยนต์จะคำนึงถึงนอกเหนือจากผลประกอบการทางด้านธุรกิจ
ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีได้จำแนกการพัฒนารถยนต์ในอนาคตออกเป็นหลายแบบตามชนิดของเชื้อเพลิง และหลักการทำงานของรถยนต์นั้นๆ ในการศึกษาวิจัยนี้ ได้ทำการเปรียบเทียบเทคโนโลยีของรถยนต์สองแบบ ได้แก่รถยนต์ที่ผลิตโดยบริษัท โตโยต้า รุ่น มิไร (Mirai) ที่ใช้ระบบเซลล์เชื้อเพลิงไฮโดรเจน (Hydrogen Fuel Cell – HFC) เป็นแหล่งพลังงานและรถที่ผลิตโดยบริษัท เทสล่า รุ่น โมเดล เอส (Tesla Model S)รถไฟฟ้าที่ใช้ระบบแบตเตอรี่(Plug in Electric Vehicle – PEV) เป็นแหล่งพลังงานขับเคลื่อน
ผลการวิจัยพบว่า ในแง่ของเทคโนโลยีแล้ว HFC จะมีหัวข้อที่มีข้อดีมากกว่า PEV แต่สำหรับการใช้งานที่เป็นความจริงในปัจจุบัน รถ HFC คงยังมีปัญหาในเรื่องของการหาเชื้อเพลิงและสถานีบริการไม่ได้เท่ากับรถ PEVCurricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26575 SIU RS-T. การศึกษาวิจัยความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ระหว่างรถพลังงานเซลล์เชื้อเพลิง (HFC) กับรถแบตเตอรี่ไฟฟ้า (PEV) = (Research Study of the progressive Technology between Hydrogen Fuel Cell (HFC) and Plug in Electric vehicle (PEV)) [printed text] / วรวิทย์ บุญวงศ์โสภณ, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - 50 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-03
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พลังงาน -- แง่สิ่งแวดล้อม
[LCSH]รถยนต์ -- การผลิต
[LCSH]รถยนต์ -- นวัตกรรมทางเทคโนโลยีKeywords: โตโยต้า มิไรอิ,
เทสล่า โมเดล เอส
เซลล์เชื้อเพลิงไฮโดรเจน,
รถไฟฟ้าแบบปลั๊กอิน,
การปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์Abstract: นับตั้งแต่มีการประดิษฐ์รถยนต์ขึ้นมาใช้คันแรกในปี 1886 รถยนต์นับเป็นปัจจัยสำคัญอีกปัจจัยหนึ่งในปัจจุบันและยังคงมีความสำคัญต่ออนาคต มีการคิดค้นวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ ๆ เพื่อให้รถยนต์มีประสิทธิภาพมากขึ้น มีการพัฒนาเพื่อให้มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยลง รวมทั้งลดต้นทุนการผลิต จึงเป็นวัตถุประสงค์หลักของบริษัทผู้ผลิตรถยนต์และบริษัทที่ทำธุรกิจเกี่ยวกับยานยนต์จะคำนึงถึงนอกเหนือจากผลประกอบการทางด้านธุรกิจ
ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีได้จำแนกการพัฒนารถยนต์ในอนาคตออกเป็นหลายแบบตามชนิดของเชื้อเพลิง และหลักการทำงานของรถยนต์นั้นๆ ในการศึกษาวิจัยนี้ ได้ทำการเปรียบเทียบเทคโนโลยีของรถยนต์สองแบบ ได้แก่รถยนต์ที่ผลิตโดยบริษัท โตโยต้า รุ่น มิไร (Mirai) ที่ใช้ระบบเซลล์เชื้อเพลิงไฮโดรเจน (Hydrogen Fuel Cell – HFC) เป็นแหล่งพลังงานและรถที่ผลิตโดยบริษัท เทสล่า รุ่น โมเดล เอส (Tesla Model S)รถไฟฟ้าที่ใช้ระบบแบตเตอรี่(Plug in Electric Vehicle – PEV) เป็นแหล่งพลังงานขับเคลื่อน
ผลการวิจัยพบว่า ในแง่ของเทคโนโลยีแล้ว HFC จะมีหัวข้อที่มีข้อดีมากกว่า PEV แต่สำหรับการใช้งานที่เป็นความจริงในปัจจุบัน รถ HFC คงยังมีปัญหาในเรื่องของการหาเชื้อเพลิงและสถานีบริการไม่ได้เท่ากับรถ PEVCurricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26575 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592244 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-03 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000592269 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-03 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU RS-T. การสูญเสียเชิงเศรษฐกิจในการทำเกษตรกรรมแบบลดผลเสียสภาวะเเวดล้อม กรณีศึกษา: วิสาหกิจชุมชนกลุ่มนาหมอน ตำบลราษฏร์นิยม อำเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี / หทัยรัตน์ สนสกุล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU RS-T Title : การสูญเสียเชิงเศรษฐกิจในการทำเกษตรกรรมแบบลดผลเสียสภาวะเเวดล้อม กรณีศึกษา: วิสาหกิจชุมชนกลุ่มนาหมอน ตำบลราษฏร์นิยม อำเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี Original title : Economic Losses in Agriculture, Reduce Adverse Conditions, Surrounded Case Study: Community Enterprise in the Pillow. Sub-Tribes Popular Sai Noi, Nonthaburi Material Type: printed text Authors: หทัยรัตน์ สนสกุล, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: ix, 76 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-01
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]เกษตรกรรม -- นนทบุรี -- ไทรน้อย
[LCSH]เกษตรกรรม -- เศรษฐกิจKeywords: สภาวะแวดล้อมเกษตรอินทรีย์
เกษตรกรAbstract: การศึกษาวิจัยนี้ เรียบเรียงขึ้นเพื่อเป็นการสร้างพื้นฐานความรู้ให้แก่ผู้สนใจทั่วไป โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นแนวทางให้ผู้อ่านทราบถึง สถานการณ์การพัฒนาเกษตรอินทรีย์ในปัจจุบัน ทั้งด้านการผลิต การตลาด การส่งเสริม และแนวทางสู่ความสำเร็จในการทำเกษตรอินทรีย์ รวมทั้งมีเป้าหมายให้สามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้เพื่อการส่งเสริมและพัฒนาเกษตรอินทรีย์ เนื่องจากเกษตรอินทรีย์เป็นรูปแบบการทำการเกษตรที่กำลังได้รับความสนใจ ทั้งในแง่การสร้างความยั่งยืนในการเกษตรและสิ่งแวดล้อม ให้อาหารที่ปลอดภัยทั้งต่อผู้ผลิตและผู้บริโภค ส่งผลให้ระบบเศรษฐกิจและการตลาดเติบโตอย่างรวดเร็ว ผู้เรียบเรียงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการศึกษาวิจัยฉบับนี้จะมีประโยชน์ที่ได้นำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดผลดีต่อไป Curricular : GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26224 SIU RS-T. การสูญเสียเชิงเศรษฐกิจในการทำเกษตรกรรมแบบลดผลเสียสภาวะเเวดล้อม กรณีศึกษา: วิสาหกิจชุมชนกลุ่มนาหมอน ตำบลราษฏร์นิยม อำเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี = Economic Losses in Agriculture, Reduce Adverse Conditions, Surrounded Case Study: Community Enterprise in the Pillow. Sub-Tribes Popular Sai Noi, Nonthaburi [printed text] / หทัยรัตน์ สนสกุล, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - ix, 76 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-01
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]เกษตรกรรม -- นนทบุรี -- ไทรน้อย
[LCSH]เกษตรกรรม -- เศรษฐกิจKeywords: สภาวะแวดล้อมเกษตรอินทรีย์
เกษตรกรAbstract: การศึกษาวิจัยนี้ เรียบเรียงขึ้นเพื่อเป็นการสร้างพื้นฐานความรู้ให้แก่ผู้สนใจทั่วไป โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นแนวทางให้ผู้อ่านทราบถึง สถานการณ์การพัฒนาเกษตรอินทรีย์ในปัจจุบัน ทั้งด้านการผลิต การตลาด การส่งเสริม และแนวทางสู่ความสำเร็จในการทำเกษตรอินทรีย์ รวมทั้งมีเป้าหมายให้สามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้เพื่อการส่งเสริมและพัฒนาเกษตรอินทรีย์ เนื่องจากเกษตรอินทรีย์เป็นรูปแบบการทำการเกษตรที่กำลังได้รับความสนใจ ทั้งในแง่การสร้างความยั่งยืนในการเกษตรและสิ่งแวดล้อม ให้อาหารที่ปลอดภัยทั้งต่อผู้ผลิตและผู้บริโภค ส่งผลให้ระบบเศรษฐกิจและการตลาดเติบโตอย่างรวดเร็ว ผู้เรียบเรียงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการศึกษาวิจัยฉบับนี้จะมีประโยชน์ที่ได้นำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดผลดีต่อไป Curricular : GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26224 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000590941 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-01 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000591881 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-01 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000592087 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-01 c.3 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU RS-T. การใช้ผักตบชวาเป็นสารตัวเพิ่มในยางธรรมชาติ / สมพงศ์ พงศ์ประภากรณ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU RS-T Title : การใช้ผักตบชวาเป็นสารตัวเพิ่มในยางธรรมชาติ Original title : Using Water Hyacinth as Filler for Natural Rubber Material Type: printed text Authors: สมพงศ์ พงศ์ประภากรณ์, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 24 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-09
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผักตบชวา
[LCSH]ยางธรรมชาติKeywords: ผักตบชวา,
สารตัวเติมAbstract: งานวิจัยได้ทําการศึกษาการเตรียมผักตบชวาในรูปแบบที่ถูกแปรรูปโดยการตากแห้งและบดเป็นผงเพื่อเป็นสารตัวเติม (Filler) ในยางธรรมชาติที่อยูในรูปแบบของน้ำยางขนแอมโนเนียสูง (Concentrated Latex-HA) โดยมีตัวแปรที่สารตัวเติมอย่างเดียว คือ สารเส้นใยผักตบชวาในอัตราส่วน 0,20,30,40,50 phr
การศึกษาวิจัยนี้การทดสอบการใช้ผงเส้นใยผักตบชวาในการเป็นสารตัวเติมทำให้ความสามารถในการรับแรงเพิ่มขึ้นและสามรถเป็นสารตัวเติมเพื่อลดปริมาณเนื้อย่างได้
Curricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27192 SIU RS-T. การใช้ผักตบชวาเป็นสารตัวเพิ่มในยางธรรมชาติ = Using Water Hyacinth as Filler for Natural Rubber [printed text] / สมพงศ์ พงศ์ประภากรณ์, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 24 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-09
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผักตบชวา
[LCSH]ยางธรรมชาติKeywords: ผักตบชวา,
สารตัวเติมAbstract: งานวิจัยได้ทําการศึกษาการเตรียมผักตบชวาในรูปแบบที่ถูกแปรรูปโดยการตากแห้งและบดเป็นผงเพื่อเป็นสารตัวเติม (Filler) ในยางธรรมชาติที่อยูในรูปแบบของน้ำยางขนแอมโนเนียสูง (Concentrated Latex-HA) โดยมีตัวแปรที่สารตัวเติมอย่างเดียว คือ สารเส้นใยผักตบชวาในอัตราส่วน 0,20,30,40,50 phr
การศึกษาวิจัยนี้การทดสอบการใช้ผงเส้นใยผักตบชวาในการเป็นสารตัวเติมทำให้ความสามารถในการรับแรงเพิ่มขึ้นและสามรถเป็นสารตัวเติมเพื่อลดปริมาณเนื้อย่างได้
Curricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27192 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594737 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-09 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000594729 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-09 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU RS-T. การใช้ผักตบชวาเป็นเส้นใยในคอมโพสิทยางธรรมชาติ / เอกพจน์ วนโกสุม / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU RS-T Title : การใช้ผักตบชวาเป็นเส้นใยในคอมโพสิทยางธรรมชาติ Original title : Using Water Hyacinth as Fiber in Composite Natural Rubber Material Type: printed text Authors: เอกพจน์ วนโกสุม, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: ix, 56 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-08
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผักตบชวา -- การแปรรูป Keywords: ดัชนีน้ำหนักของผักตบชวา,
ผงผักตบชวา,
คอมโพสิทด้วยยางธรรมชาติAbstract: การศึกษาวิจัยการนำเสันใยจากผักตบชวามาทำคอมโพสิทด้วยยางธรรมชาติเพื่อเป็นการแก้ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและยังเป็นการเพิ่มมูลค่าของเส้นใยผักตบชวาและของยางธรรมชาติเนื่องจากผักตบชวาเป็นพืชที่แพร่พันธุ์เร็วมาก โดยมีอัตราการเจริญเติบโตเป็น 8 เท่าต่อเดือนหรือมีการสะสมมวลชีวภาพได้สูงถึง 20 กรัมน้ำหนักแห้งต่อตารางเมตรต่อวัน ดังนั้นหากสร้างปัญหาก็จะรุนแรงมาก หากเป็นผลผลิตก็จะเป็นผลผลิตที่มีอุปทาน(supply)สูงมาก หากสามารถเปลี่ยนผักตบชวาเป็นวัตถุดิบอุตสาหกรรมได้ก็จะมีแหล่งวัตถุดิบขนาดมหึมาทั่วประเทศผงผักตบชวาตากแห้งนำมาผสมกับยางพารา (ยางธรรมชาติ)โดยสร้างสรรค์ให้เป็นวัสดุต้นทางในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้ ก็จะเป็นประโยชน์อย่างมหาศาลทั้งในทางเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
การศึกษาวิจัยนี้จะเป็นการนำเอาผักตบชวาทุกส่วนมาใช้ทำให้เป็นผง (zero waste) โดยจะได้ผงผักตบชวา 8 % โดยน้ำหนักเมื่อเทียบกับผักตบชวาสด ค่าดัชนีน้ำหนักของผักตบชวาสดที่ได้คือ 9945 กรัมต่อตารางเมตร ดังนั้นจะสามารถทำเป็นผงได้ 795.6 กรัมต่อตารางเมตร จากการสำรวจในส่วนของพื้นที่ที่รับผิดชอบในเขตชลประทานมีทั้งหมด 2.77 ล้านตัน ถ้าคิดเป็นพื้นที่ประมาณ 279 ตารางกิโลเมตร และจะผลิตผงผักตบชวาได้ 220,000 ตัน โดยมีต้นทุนประมาณ 14.38บาทต่อกิโลกรัม หรือ 14,380บาทต่อตัน
ส่วนการนำไปผสมกับยางธรรมชาติกลายเป็นคอมโพสิทเพื่อเป็นการเพิ่มความแข็งแรงให้กับวัสดุคอมโพสิทเมื่อเทียบกับยางที่ไม่ใส่ผงผักตบชวาและยางที่ผสมคาร์บอนในท้องตลาดซึ่งเป็นการศึกษาความเป็นไปได้ที่จะนำไปใช้เป็นวัตถุดิบของผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้อย่างกว้างขวางCurricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27189 SIU RS-T. การใช้ผักตบชวาเป็นเส้นใยในคอมโพสิทยางธรรมชาติ = Using Water Hyacinth as Fiber in Composite Natural Rubber [printed text] / เอกพจน์ วนโกสุม, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - ix, 56 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-08
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผักตบชวา -- การแปรรูป Keywords: ดัชนีน้ำหนักของผักตบชวา,
ผงผักตบชวา,
คอมโพสิทด้วยยางธรรมชาติAbstract: การศึกษาวิจัยการนำเสันใยจากผักตบชวามาทำคอมโพสิทด้วยยางธรรมชาติเพื่อเป็นการแก้ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและยังเป็นการเพิ่มมูลค่าของเส้นใยผักตบชวาและของยางธรรมชาติเนื่องจากผักตบชวาเป็นพืชที่แพร่พันธุ์เร็วมาก โดยมีอัตราการเจริญเติบโตเป็น 8 เท่าต่อเดือนหรือมีการสะสมมวลชีวภาพได้สูงถึง 20 กรัมน้ำหนักแห้งต่อตารางเมตรต่อวัน ดังนั้นหากสร้างปัญหาก็จะรุนแรงมาก หากเป็นผลผลิตก็จะเป็นผลผลิตที่มีอุปทาน(supply)สูงมาก หากสามารถเปลี่ยนผักตบชวาเป็นวัตถุดิบอุตสาหกรรมได้ก็จะมีแหล่งวัตถุดิบขนาดมหึมาทั่วประเทศผงผักตบชวาตากแห้งนำมาผสมกับยางพารา (ยางธรรมชาติ)โดยสร้างสรรค์ให้เป็นวัสดุต้นทางในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้ ก็จะเป็นประโยชน์อย่างมหาศาลทั้งในทางเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
การศึกษาวิจัยนี้จะเป็นการนำเอาผักตบชวาทุกส่วนมาใช้ทำให้เป็นผง (zero waste) โดยจะได้ผงผักตบชวา 8 % โดยน้ำหนักเมื่อเทียบกับผักตบชวาสด ค่าดัชนีน้ำหนักของผักตบชวาสดที่ได้คือ 9945 กรัมต่อตารางเมตร ดังนั้นจะสามารถทำเป็นผงได้ 795.6 กรัมต่อตารางเมตร จากการสำรวจในส่วนของพื้นที่ที่รับผิดชอบในเขตชลประทานมีทั้งหมด 2.77 ล้านตัน ถ้าคิดเป็นพื้นที่ประมาณ 279 ตารางกิโลเมตร และจะผลิตผงผักตบชวาได้ 220,000 ตัน โดยมีต้นทุนประมาณ 14.38บาทต่อกิโลกรัม หรือ 14,380บาทต่อตัน
ส่วนการนำไปผสมกับยางธรรมชาติกลายเป็นคอมโพสิทเพื่อเป็นการเพิ่มความแข็งแรงให้กับวัสดุคอมโพสิทเมื่อเทียบกับยางที่ไม่ใส่ผงผักตบชวาและยางที่ผสมคาร์บอนในท้องตลาดซึ่งเป็นการศึกษาความเป็นไปได้ที่จะนำไปใช้เป็นวัตถุดิบของผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้อย่างกว้างขวางCurricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27189 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594752 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-08 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000594745 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-08 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU RS-T. นโยบายจัดการพลังงาน การรับซื้อไฟฟ้าจากระบบพลังงานแสงอาทิตย์ จากชาวนาโดยภาครัฐ / ชัยพันธุ์ ไวยพันธุ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU RS-T Title : นโยบายจัดการพลังงาน การรับซื้อไฟฟ้าจากระบบพลังงานแสงอาทิตย์ จากชาวนาโดยภาครัฐ Original title : Energy Policy: Buying Solar Electricity from Farmers by the Public Sector Material Type: printed text Authors: ชัยพันธุ์ ไวยพันธุ์, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: viii, 50 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-06
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พลังงาน -- การจัดการ
[LCSH]พลังงานแสงอาทิตย์Keywords: ระบบโซล่าเซลล์ Abstract: แนวทางนโยบายโครงการนำร่อง สร้างเศรษฐกิจพอเพียงอย่างยั่งยืนแก่ชาวนา ด้วยนโยบายรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ (10 กิโลวัตต์ 100 ครัวเรือน) เนื่องจากปัญหาชาวนาด้านความเป็นอยู่และรายได้จากการประกอบอาชีพ เป็นหนึ่งในปัญหาที่สะสมมานานในประเทศไทย ไม่ว่าในเรื่องปัญหาหนี้สินนอกระบบของผู้ประกอบอาชีพชาวนา ปัญหานโยบายที่เข้ามาช่วยสนับสนุนชาวนา เช่นโครงการรับจำนำข้าว ปัญหาการที่ชาวนากู้เงินจากธนาคารภาครัฐมาเพื่อซื้อวัตถุดิบในการปลูกข้าวแต่เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ ราคาขายกลับไม่เพียงพอที่จะปลดหนี้ งานวิจัยนี้ จึงมุ่งเน้นเพื่อเสนอโครงการนำร่อง เป็นแนวทางในการสร้างรายได้อย่างยั่งยืนควบคู่กับการทำนา โดยเน้นแก้ไขและหาแนวทางที่สร้างรายได้ที่ยั่งยืนและช่วยลดภาระหนี้สินในครัวเรือนแก่ชาวนา
โดยผลการศึกษาพบว่าโครงการนำร่องนโยบายการรับซื้อไฟฟ้า ที่ผลิตด้วยระบบพลังงานแสงอาทิตย์แก่ชาวนา 100 ครอบครัว ๆ ละ 10 กิโลวัตต์ (เงินลงทุน 450,000 บาทต่อ 1 ครอบครัว) สามารถสร้างรายได้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการอย่างน้อยปีละ 82,200 บาท หรือเฉลี่ยเดือนละ 6,850 บาท (คำนวณกรณีตัวอย่างจากนโยบายการรับซื้อไฟฟ้าบนหลังคา FIT ปี 2558) โดยติดตั้งระบบโซล่าเซลล์ (Solar Cell) บนหลังคาบ้านหรือบริเวณบ้านที่ใช้เลี้ยงสัตว์ โดยเฉลี่ยใช้พื้นที่ประมาณ 70 ตารางเมตร โดยทางรัฐช่วยสนับสนุนเงิน 50% และอีก 50% ในรูปเงินกู้ให้ผู้เข้าร่วมโครงการผ่านทาง ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร โดยการผ่อนชำระคืนเงินกู้กับทางธนาคารจะสามารถคืนในอัตราส่วนร้อยละ 50% ของรายได้จากการขายไฟฟ้าและอีก 50% ของรายได้ให้เป็นของชาวนาจนครบปีจำนวนเงินที่กู้ยืม โดยนโยบายที่ใช้รับซื้อไฟฟ้าเป็นแบบ Feed-in-Tariff (FIT) ซึ่งอัตราจะอยู่ในรูปแบบอัตรารับซื้อไฟฟ้าคงที่ตลอดอายุโครงการ 25 ปี โดยงานวิจัยนี้แสดงให้เห็นถึงข้อเสนอแนะนโยบายที่สร้างรายได้อย่างถาวรเพื่อให้เกิดระบบเศรษฐกิจพอเพียงอย่างยั่งยืนและสามารถนำมาขยายต่อให้เกิดเป็นโครงการระดับประเทศต่อไปได้ ด้วยงบประมาณที่สามารถทำได้และก่อให้เกิดประโยชน์ทั้ง 2 ฝ่ายทั้งผู้ประกอบอาชีพชาวนาและภาครัฐ
Curricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27193 SIU RS-T. นโยบายจัดการพลังงาน การรับซื้อไฟฟ้าจากระบบพลังงานแสงอาทิตย์ จากชาวนาโดยภาครัฐ = Energy Policy: Buying Solar Electricity from Farmers by the Public Sector [printed text] / ชัยพันธุ์ ไวยพันธุ์, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - viii, 50 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-06
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พลังงาน -- การจัดการ
[LCSH]พลังงานแสงอาทิตย์Keywords: ระบบโซล่าเซลล์ Abstract: แนวทางนโยบายโครงการนำร่อง สร้างเศรษฐกิจพอเพียงอย่างยั่งยืนแก่ชาวนา ด้วยนโยบายรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ (10 กิโลวัตต์ 100 ครัวเรือน) เนื่องจากปัญหาชาวนาด้านความเป็นอยู่และรายได้จากการประกอบอาชีพ เป็นหนึ่งในปัญหาที่สะสมมานานในประเทศไทย ไม่ว่าในเรื่องปัญหาหนี้สินนอกระบบของผู้ประกอบอาชีพชาวนา ปัญหานโยบายที่เข้ามาช่วยสนับสนุนชาวนา เช่นโครงการรับจำนำข้าว ปัญหาการที่ชาวนากู้เงินจากธนาคารภาครัฐมาเพื่อซื้อวัตถุดิบในการปลูกข้าวแต่เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ ราคาขายกลับไม่เพียงพอที่จะปลดหนี้ งานวิจัยนี้ จึงมุ่งเน้นเพื่อเสนอโครงการนำร่อง เป็นแนวทางในการสร้างรายได้อย่างยั่งยืนควบคู่กับการทำนา โดยเน้นแก้ไขและหาแนวทางที่สร้างรายได้ที่ยั่งยืนและช่วยลดภาระหนี้สินในครัวเรือนแก่ชาวนา
โดยผลการศึกษาพบว่าโครงการนำร่องนโยบายการรับซื้อไฟฟ้า ที่ผลิตด้วยระบบพลังงานแสงอาทิตย์แก่ชาวนา 100 ครอบครัว ๆ ละ 10 กิโลวัตต์ (เงินลงทุน 450,000 บาทต่อ 1 ครอบครัว) สามารถสร้างรายได้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการอย่างน้อยปีละ 82,200 บาท หรือเฉลี่ยเดือนละ 6,850 บาท (คำนวณกรณีตัวอย่างจากนโยบายการรับซื้อไฟฟ้าบนหลังคา FIT ปี 2558) โดยติดตั้งระบบโซล่าเซลล์ (Solar Cell) บนหลังคาบ้านหรือบริเวณบ้านที่ใช้เลี้ยงสัตว์ โดยเฉลี่ยใช้พื้นที่ประมาณ 70 ตารางเมตร โดยทางรัฐช่วยสนับสนุนเงิน 50% และอีก 50% ในรูปเงินกู้ให้ผู้เข้าร่วมโครงการผ่านทาง ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร โดยการผ่อนชำระคืนเงินกู้กับทางธนาคารจะสามารถคืนในอัตราส่วนร้อยละ 50% ของรายได้จากการขายไฟฟ้าและอีก 50% ของรายได้ให้เป็นของชาวนาจนครบปีจำนวนเงินที่กู้ยืม โดยนโยบายที่ใช้รับซื้อไฟฟ้าเป็นแบบ Feed-in-Tariff (FIT) ซึ่งอัตราจะอยู่ในรูปแบบอัตรารับซื้อไฟฟ้าคงที่ตลอดอายุโครงการ 25 ปี โดยงานวิจัยนี้แสดงให้เห็นถึงข้อเสนอแนะนโยบายที่สร้างรายได้อย่างถาวรเพื่อให้เกิดระบบเศรษฐกิจพอเพียงอย่างยั่งยืนและสามารถนำมาขยายต่อให้เกิดเป็นโครงการระดับประเทศต่อไปได้ ด้วยงบประมาณที่สามารถทำได้และก่อให้เกิดประโยชน์ทั้ง 2 ฝ่ายทั้งผู้ประกอบอาชีพชาวนาและภาครัฐ
Curricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27193 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594778 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-06 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Available 32002000594760 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-06 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan