From this page you can:
Home |
Author details
Author สนสกุล หทัยรัตน์
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesSIU RS-T. การสูญเสียเชิงเศรษฐกิจในการทำเกษตรกรรมแบบลดผลเสียสภาวะเเวดล้อม กรณีศึกษา: วิสาหกิจชุมชนกลุ่มนาหมอน ตำบลราษฏร์นิยม อำเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี / หทัยรัตน์ สนสกุล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU RS-T Title : การสูญเสียเชิงเศรษฐกิจในการทำเกษตรกรรมแบบลดผลเสียสภาวะเเวดล้อม กรณีศึกษา: วิสาหกิจชุมชนกลุ่มนาหมอน ตำบลราษฏร์นิยม อำเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี Original title : Economic Losses in Agriculture, Reduce Adverse Conditions, Surrounded Case Study: Community Enterprise in the Pillow. Sub-Tribes Popular Sai Noi, Nonthaburi Material Type: printed text Authors: หทัยรัตน์ สนสกุล, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: ix, 76 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-01
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]เกษตรกรรม -- นนทบุรี -- ไทรน้อย
[LCSH]เกษตรกรรม -- เศรษฐกิจKeywords: สภาวะแวดล้อมเกษตรอินทรีย์
เกษตรกรAbstract: การศึกษาวิจัยนี้ เรียบเรียงขึ้นเพื่อเป็นการสร้างพื้นฐานความรู้ให้แก่ผู้สนใจทั่วไป โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นแนวทางให้ผู้อ่านทราบถึง สถานการณ์การพัฒนาเกษตรอินทรีย์ในปัจจุบัน ทั้งด้านการผลิต การตลาด การส่งเสริม และแนวทางสู่ความสำเร็จในการทำเกษตรอินทรีย์ รวมทั้งมีเป้าหมายให้สามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้เพื่อการส่งเสริมและพัฒนาเกษตรอินทรีย์ เนื่องจากเกษตรอินทรีย์เป็นรูปแบบการทำการเกษตรที่กำลังได้รับความสนใจ ทั้งในแง่การสร้างความยั่งยืนในการเกษตรและสิ่งแวดล้อม ให้อาหารที่ปลอดภัยทั้งต่อผู้ผลิตและผู้บริโภค ส่งผลให้ระบบเศรษฐกิจและการตลาดเติบโตอย่างรวดเร็ว ผู้เรียบเรียงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการศึกษาวิจัยฉบับนี้จะมีประโยชน์ที่ได้นำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดผลดีต่อไป Curricular : GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26224 SIU RS-T. การสูญเสียเชิงเศรษฐกิจในการทำเกษตรกรรมแบบลดผลเสียสภาวะเเวดล้อม กรณีศึกษา: วิสาหกิจชุมชนกลุ่มนาหมอน ตำบลราษฏร์นิยม อำเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี = Economic Losses in Agriculture, Reduce Adverse Conditions, Surrounded Case Study: Community Enterprise in the Pillow. Sub-Tribes Popular Sai Noi, Nonthaburi [printed text] / หทัยรัตน์ สนสกุล, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - ix, 76 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-01
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]เกษตรกรรม -- นนทบุรี -- ไทรน้อย
[LCSH]เกษตรกรรม -- เศรษฐกิจKeywords: สภาวะแวดล้อมเกษตรอินทรีย์
เกษตรกรAbstract: การศึกษาวิจัยนี้ เรียบเรียงขึ้นเพื่อเป็นการสร้างพื้นฐานความรู้ให้แก่ผู้สนใจทั่วไป โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นแนวทางให้ผู้อ่านทราบถึง สถานการณ์การพัฒนาเกษตรอินทรีย์ในปัจจุบัน ทั้งด้านการผลิต การตลาด การส่งเสริม และแนวทางสู่ความสำเร็จในการทำเกษตรอินทรีย์ รวมทั้งมีเป้าหมายให้สามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้เพื่อการส่งเสริมและพัฒนาเกษตรอินทรีย์ เนื่องจากเกษตรอินทรีย์เป็นรูปแบบการทำการเกษตรที่กำลังได้รับความสนใจ ทั้งในแง่การสร้างความยั่งยืนในการเกษตรและสิ่งแวดล้อม ให้อาหารที่ปลอดภัยทั้งต่อผู้ผลิตและผู้บริโภค ส่งผลให้ระบบเศรษฐกิจและการตลาดเติบโตอย่างรวดเร็ว ผู้เรียบเรียงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการศึกษาวิจัยฉบับนี้จะมีประโยชน์ที่ได้นำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดผลดีต่อไป Curricular : GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26224 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000590941 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-01 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000591881 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-01 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000592087 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-01 c.3 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU THE-T. การนำพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) ไปสู่การปฏิบัติ / หทัยรัตน์ สนสกุล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU THE-T Title : การนำพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) ไปสู่การปฏิบัติ Original title : Implementing Land Traffic Act (Drunk Driving) into Practice Material Type: printed text Authors: หทัยรัตน์ สนสกุล, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: ix, 95 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-08
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การนำนโยบายไปปฏิบัติ
[LCSH]พระราชบัญญัติจราจรทางบกKeywords: พระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ), การนำนโยบายไปปฏิบัติ Abstract: วัตถุประสงค์ของการศึกษาเรื่อง การนำพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) ไปสู่การปฏิบัติ คือ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมของผู้ขับขี่รถยนต์ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมของผู้ขับขี่รถยนต์ และ 3) เพื่อหาแนวทางและวางแผนในการปฏิบัติตามนโยบายการใช้พระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากผู้ใช้รถในจังหวัดปทุมธานี จำนวน 920 คน สุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ และใช้ค่าความถี ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ การวิเคราะห์ถดถอยพหุแบบขั้นตอน (Stepwise multiple regression analysis) ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการศึกษา พบว่า พฤติกรรมของผู้ใช้รถต่อพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) มี 4 รูปแบบ ประกอบด้วย พฤติกรรมตั้งใจไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ และถูกดำเนินคดีพบมากที่สุด รองลงมา ตั้งใจไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ และไม่เคยถูกดำเนินคดี ตั้งใจปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ แต่ถูกดำเนินคดี และตั้งใจปฏิบัติตามพระราชบัญญัติอย่างเคร่งครัดผลการวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถต่อพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) พบว่า โดยรวม คือ ภูมิลำเนา และอาชีพสื่อที่ใช้ในการรณรงค์ตามพระราชบัญญัติ มาตรการของพระราชบัญญัติ และ การสนับสนุนของผู้นำท้องที่ แต่เมื่อพิจารณาแยกตามพฤติกรรมของผู้ใช้รถทั้ง 4 รูปแบบ โดยใช้การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ พบว่า 1) การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ และการสนับสนุนของผู้นำท้องที่ ส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถที่ตั้งใจปฏิบัติตามพระราชบัญญัติอย่างเคร่งครัด 2) การใช้อำนาจตัดสินใจของเจ้าหน้าที่ในการใช้พระราชบัญญัติส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถที่ตั้งใจปฏิบัติตามพระราชบัญญัติแต่ถูกดำเนินคดี 3) มาตรการของพระราชบัญญัติสื่อที่ใช้ในการรณรงค์ตามพระราชบัญญัติ และบทลงโทษของพระราชบัญญัติส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถต่อพระราชบัญญัติฯ ที่ตั้งใจไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ และไม่เคยถูกดำเนินคดี และ 4) การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในพื้นที่การสนับสนุนของผู้นำพื้นที่สื่อที่ใช้ในการรณรงค์ และการใช้อำนาจตัดสินของเจ้าหน้าที่ส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถ ที่ตั้งใจไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติและถูกดำเนินคดี สำหรับปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการนำนโยบายพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) ไปปฏิบัติ พบว่า คือ การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ และการสนับสนุนของผู้นำท้องที่มีผลต่อการตั้งใจปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดของผู้ใช้รถCurricular : GE/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27882 SIU THE-T. การนำพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) ไปสู่การปฏิบัติ = Implementing Land Traffic Act (Drunk Driving) into Practice [printed text] / หทัยรัตน์ สนสกุล, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - ix, 95 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-08
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การนำนโยบายไปปฏิบัติ
[LCSH]พระราชบัญญัติจราจรทางบกKeywords: พระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ), การนำนโยบายไปปฏิบัติ Abstract: วัตถุประสงค์ของการศึกษาเรื่อง การนำพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) ไปสู่การปฏิบัติ คือ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมของผู้ขับขี่รถยนต์ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมของผู้ขับขี่รถยนต์ และ 3) เพื่อหาแนวทางและวางแผนในการปฏิบัติตามนโยบายการใช้พระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากผู้ใช้รถในจังหวัดปทุมธานี จำนวน 920 คน สุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ และใช้ค่าความถี ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ การวิเคราะห์ถดถอยพหุแบบขั้นตอน (Stepwise multiple regression analysis) ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการศึกษา พบว่า พฤติกรรมของผู้ใช้รถต่อพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) มี 4 รูปแบบ ประกอบด้วย พฤติกรรมตั้งใจไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ และถูกดำเนินคดีพบมากที่สุด รองลงมา ตั้งใจไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ และไม่เคยถูกดำเนินคดี ตั้งใจปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ แต่ถูกดำเนินคดี และตั้งใจปฏิบัติตามพระราชบัญญัติอย่างเคร่งครัดผลการวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถต่อพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) พบว่า โดยรวม คือ ภูมิลำเนา และอาชีพสื่อที่ใช้ในการรณรงค์ตามพระราชบัญญัติ มาตรการของพระราชบัญญัติ และ การสนับสนุนของผู้นำท้องที่ แต่เมื่อพิจารณาแยกตามพฤติกรรมของผู้ใช้รถทั้ง 4 รูปแบบ โดยใช้การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ พบว่า 1) การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ และการสนับสนุนของผู้นำท้องที่ ส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถที่ตั้งใจปฏิบัติตามพระราชบัญญัติอย่างเคร่งครัด 2) การใช้อำนาจตัดสินใจของเจ้าหน้าที่ในการใช้พระราชบัญญัติส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถที่ตั้งใจปฏิบัติตามพระราชบัญญัติแต่ถูกดำเนินคดี 3) มาตรการของพระราชบัญญัติสื่อที่ใช้ในการรณรงค์ตามพระราชบัญญัติ และบทลงโทษของพระราชบัญญัติส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถต่อพระราชบัญญัติฯ ที่ตั้งใจไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ และไม่เคยถูกดำเนินคดี และ 4) การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในพื้นที่การสนับสนุนของผู้นำพื้นที่สื่อที่ใช้ในการรณรงค์ และการใช้อำนาจตัดสินของเจ้าหน้าที่ส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถ ที่ตั้งใจไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติและถูกดำเนินคดี สำหรับปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการนำนโยบายพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) ไปปฏิบัติ พบว่า คือ การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ และการสนับสนุนของผู้นำท้องที่มีผลต่อการตั้งใจปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดของผู้ใช้รถCurricular : GE/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27882 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000599041 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-08 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000598985 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-08 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available